SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
๓๖

                       การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design
                       กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานเกษตร ๑                      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑          เวลา ๒ ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๔ ปุ๋ ย
๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้
                 ้
    ๑. ความหมายของปุ๋ ย
    ๒. ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก
    ๓. ประเภทของปุ๋ ย
    ๔. การใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์
                          ์
                                         ผัง (Big Idea)
                                         ความหมายของปุ๋ ย


             การใช้ปยอนินทรี ย ์
                     ุ๋                                        ความสาคัญ
              และปุ๋ ยอินทรี ย ์                  ปุ๋ ย       และหน้าที่ของ
                                                              ธาตุอาหารหลัก


                                           ประเภทของปุ๋ ย

๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย
                               ้
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
         ั                                                                           ิ
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั                                 ิ
   ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                      ั
   ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
   ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๓๗

๔. เปาหมายการเรียนรู้
         ้
       ๑. ความเข้ าใจที่คงทน
 ปุ๋ ย คือสารอินทรี ยหรื ออนินทรี ย ์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ หรื อสังเคราะห์ข้ ึนก็ตาม เมื่อใส่
                           ์
ให้กบพืชไม่ว่าโดยวิธีใดแล้ว ทาให้พืชเจริ ญเติบโต ไม่เป็ นอันตรายกับพืช ธาตุอาหารมีอยูหลายชนิด
       ั                                                                                     ่
แต่ละธาตุมีบทบาทต่อต้นพืชต่างๆ กันการใส่ปุ๋ยหรื อการให้ธาตุอาหารแก่พืชจะต้องถูกต้องและเหมาะสม
จึงทาให้พืชเจริ ญเติบโต ให้ผลผลิตสูง ไม่เกิดความเสียหายแก่ตนพืช วิธีการใส่ปุ๋ย จะต้องใส่ให้ถกต้อง
                                                                 ้                                   ู
และเหมาะสม ปุ๋ ยนั้นจึงจะเกิดประโยชน์ต่อพืชมากที่สุดและไม่สูญเสียไป
       ๒. จิตพิสัย
           ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้
           ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
           ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
       ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน
           ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
 ๒           ) ความสามารถในการคิด
           ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ๔           ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั
           ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
       ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
           ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
           ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต
 ๓)            มีวินย    ั
 ๔)            ใฝ่ เรี ยนรู้
 ๕)            อยูอย่างพอเพียง
                   ่
 ๖)            มุ่งมันในการทางาน
                       ่
 ๗)            รักความเป็ นไทย
 ๘)            มีจิตสาธารณะ
๓๘

   ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
        ๑) บอกความหมายของปุ๋ ยและธาตุอาหารของพืชได้
        ๒) บอกความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลักได้
๓) จาแนกประเภทของปุ๋ ยได้อย่างถูกต้อง
๔) อธิบายหลักการใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ยได้อย่างถูกต้อง
                                ์               ์
๕) บอกผลดีผลเสียของการใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ยได้
                                         ์              ์
๖) ทากองปุ๋ ยหมักตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
๗) บอกหน้าที่ของธาตุอาหารหลักได้อย่างถูกต้อง
   ๖. ทักษะคร่ อมวิชา
       ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน
       ๒) การนาเสนอ การนาเสน                    อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
       ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
๓๙

                                      แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
วิชา งานเกษตร ๑                                                               ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๔ ปุ๋ ย                                                  เวลา ๒ ชั่วโมง
๑. เปาหมายการเรียนรู้
     ้
       ความหมายของปุ๋ ย ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก ประเภทของปุ๋ ย การใช้ปุ๋ยอนินทรี ย ์
และปุ๋ ยอินทรี ย ์
๒. สาระสาคัญ
 ปุ๋ ย คือสารอินทรี ยหรื ออนินทรี ย ์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ หรื อสังเคราะห์ข้ ึนก็ตาม เมื่อใส่
                     ์
ให้กบพืชไม่ว่าโดยวิธีใดแล้ว ทาให้พืชเจริ ญเติบโต ไม่เป็ นอันตรายกับพืช ธาตุอาหารมีอยูหลายชนิด
       ั                                                                                     ่
แต่ละธาตุมีบทบาทต่อต้นพืชต่างๆ กันการใส่ปุ๋ยหรื อการให้ธาตุอาหารแก่พืชจะต้องถูกต้องและเหมาะสม
จึงทาให้พืชเจริ ญเติบโต ให้ผลผลิตสูง ไม่เกิดความเสียหายแก่ตนพืช วิธีการใส่ปุ๋ย จะต้องใส่ให้ถกต้อง
                                                                 ้                                   ู
และเหมาะสม ปุ๋ ยนั้นจึงจะเกิดประโยชน์ต่อพืชมากที่สุดและไม่สูญเสียไป
๓. มาตรฐานและตัวชี้วด      ั
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
             ั                                                                       ิ
และครอบครัว
    ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
           ั                                 ิ
    ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                       ั
    ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
    ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
    ๑. ความหมายของปุ๋ ย
    ๒. ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก
    ๓. ประเภทของปุ๋ ย
    ๔. การใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์
                          ์
๔๐

๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
          K (Knowledge)                                 P (Practice)                        A (Attitude)
         ความรู้ ความเข้ าใจ                            การฝึ กปฏิบัติ          คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ๑. บอกความหมายของปุ๋ ยและ              ๑.   รู้จกความหมายของปุ๋ ยและ
                                                  ั                            ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
     ธาตุอาหารของพืชได้                      ธาตุอาหารของพืช                   ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต
 ๒. บอกความสาคัญและหน้าที่              ๒.   รู้จกความสาคัญและหน้าที่
                                                    ั                          ๓. มีวินย  ั
     ของธาตุอาหารหลักได้                     ของธาตุอาหารหลัก                  ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้
 ๓. จาแนกประเภทของปุ๋ ยได้              ๓.   สามารถจาแนกประเภทของ              ๕. อยูอย่างพอเพียง
                                                                                      ่
     อย่างถูกต้อง                            ปุ๋ ยได้อย่างถูกต้อง              ๖. มุ่งมันในการทางาน
                                                                                        ่
 ๔. อธิบายหลักการใช้ปุ๋ย                ๔.   รู้จกหลักการใช้ปุ๋ยอนินทรี ย ์
                                                      ั                        ๗. รักความเป็ นไทย
     อนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์
                 ์                           และปุ๋ ยอินทรี ยได้อย่างถูกต้อง
                                                                ์              ๘. มีจิตสาธารณะ
     ได้อย่างถูกต้อง                    ๕.   สามารถบอกผลดีผลเสียของ
 ๕. บอกผลดีผลเสียของการใช้                   การใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ย
                                                                     ์
     ปุ๋ ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์
                   ์                         อินทรี ยได้ ์
     ได้                                ๖.   สามารถทากองปุ๋ ยหมักตาม
 ๖. ทากองปุ๋ ยหมักตามขั้นตอน                 ขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
     ได้อย่างถูกต้อง                    ๗.   บอกหน้าที่ของธาตุอาหาร
 ๗. บอกหน้าที่ของธาตุอาหาร                   หลักได้อย่างถูกต้อง
     หลักได้อย่างถูกต้อง

๖. การวัดและประเมินผล
๑.      เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน           /หลังเรี ยน
         ๒) แบบทดสอบ
๓)            ใบงาน
๔         ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
         ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๔๑

๒. วิธีวดผล
        ั
          ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
          ๒) ตรวจแบบทดสอบ
          ๓) ตรวจใบงาน
          ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
          ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
          ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
   ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
          ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ
                      ่                                         ่
              คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน
          ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
          ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ
              การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
                                        ั
          ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
              เกินร้อยละ ๕๐
          ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
                                                              ่
          ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม
                                                                    ่ ั
              สภาพจริ ง
          ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั
              การประเมินตามสภาพจริ ง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑ . ผลการทาแบบทดสอบ
    ๒. ผลการทาใบงาน
๔๒

 ๘. กิจกรรมการเรียนรู้
    ชั่วโมงที่ ๑-๒
    ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
  ๑) ครู ทบทวนเรื่ อง การอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อการเกษตรที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและ
         แสดงความคิดเห็น
    ขั้นสอน
  ๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง ความหมายของปุ๋ ย ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก
         ประเภทของปุ๋ ยและหลักในการใช้ปุ๋ย ผลดีผลเสียของการปุ๋ ย จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน
         งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
  ๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
           ั
     ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง ปุ๋ ย จากหนังสือเรี ยนรายวิชา
         พื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา นาผลงาน
                                           ้
         ที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
    ขั้นสรุปและการประยุกต์
    ๕) ครู แนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ
                                              ั
    ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญความรู้เรื่ องปุ๋ ยเพื่อให้เข้าใจร่ วมกันครู สงเกตสมรรถนะ
                                                                                             ั
         ของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
    ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
         - กิจกรรมที่ ๑                               - กิจกรรมที่๓
         - กิจกรรมที่๒                                - ใบงานที่ ๔.๑
    ๘) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๔
             ั
 ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 ๑.       หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
 ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐. การบูรณาการ
     บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
๔๓


คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด
                ั                              ู
๑. ธาตุอาหารหลักคือข้อใด
     ก. แมงกานิส                               ข. แคลเซียม
ค.       โพแทสเซียม                           ง. ถูกทุกข้อ
๒. ธาตุอาหารรองคือข้อใด
ก.       ฟอสฟอรัส ข.                                ไนโตรเจน
ค.       แคลเซียม                                ง. ถูกทุกข้อ
๓. ต้นพืชที่ได้รับธาตุไนโตเจนมากเกินไปจะเป็ นอย่างไร
ก.       ต้นแคระแกร็ น ข.                           เติบโตเร็ ว
ค.       เติบโตช้า                            ง. มีใบมากให้ดอกน้อย
๔. ปุ๋ ยสูตร ๕-๖-๗ หนัก ๑๐๐ กิโลกรัม จะมีธาตุอาหารจริ งๆอยูกี่กิโลกรัม
                                                              ่
ก.       ๑๖ กิโลกรัม ข.                             ๑๘ กิโลกรัม
ค.       ๒๐ กิโลกรัม                             ง. ๒๒ กิโลกรัม
๕. ปุ๋ ยอินทรี ยมีธาตุอาหารใดบ้าง
                  ์
     ก. ธาตุอาหารหลัก                            ข. ธาตุอาหารรอง
     ค. ธาตุอาหารเสริ ม                          ง. ธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริ ม
๖. ธาตุอะไรช่วยให้ผลไม้หวาน
     ก. ฟอสฟอรัส ข.                                 ไนโตรเจน
     ค. แมกนีเซียม                            ง. โพแทสเซียม
๗. ข้าวโพดขาดธาตุอะไรแล้วทาให้ใบเป็ นสีม่วง
     ก. ฟอสฟอรัส ข.                                 ไนโตรเจน
     ค. แมกนีเซียม                            ง. โพแทสเซียม
๘. การใส่ปุ๋ยในนาข้าวมีวิธีใส่อย่างไร
     ก. หว่านทัวๆแปลง ข.
                    ่                               หยอดปุ๋ ยใกล้ๆ ต้น
      ค. ใส่ขณะเตรี ยมดิน ง.                        โรยข้างแถวปลูก
๔๔

 ๙. ถ้าปลูกมะม่วงใส่ปุ๋ยอย่างไร
    ก. หยอดใกล้ๆ ต้น                            ข. ใส่ในหลุมปลูก
    ค. หว่านทัวๆ แปลง
                   ่                            ง. ใส่ในรางดินรอบต้น
๑๐. ปุ๋ ยในข้อใดคือปุ๋ ยเดี่ยว
 ก.       ยูเรี ย ข.                                ปุ๋ ยสูตร ๑๖-๒๐-๐
 ค.       ปุ๋ ยสูตร ๑๖-๐-๑๐ ง.                      ปุ๋ ยสูตร ๑๖-๑๖-๑๖


                                  เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
                                      ๑   ค          ๖   ง
                                      ๒   ค         ๗    ก
                                      ๓   ง         ๘    ก
                                      ๔   ข          ๙   ข
                                      ๕   ก         ๑๐   ก
๔๕

                                               บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                      ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน
                                                                                                                ู้
                                                            (...............................................)
                                                       วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย
                                           ี
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                                 ลงชื่อ...............................................................
                                                                       (............................................................)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2wichaya2527
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 

Mais procurados (20)

เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 

Semelhante a แผนการเรียนรู้เกษตร4

ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบNattayaporn Dokbua
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 

Semelhante a แผนการเรียนรู้เกษตร4 (20)

Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 

แผนการเรียนรู้เกษตร4

  • 1. ๓๖ การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๔ ปุ๋ ย ๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความหมายของปุ๋ ย ๒. ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก ๓. ประเภทของปุ๋ ย ๔. การใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์ ์ ผัง (Big Idea) ความหมายของปุ๋ ย การใช้ปยอนินทรี ย ์ ุ๋ ความสาคัญ และปุ๋ ยอินทรี ย ์ ปุ๋ ย และหน้าที่ของ ธาตุอาหารหลัก ประเภทของปุ๋ ย ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย ้ มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
  • 2. ๓๗ ๔. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเข้ าใจที่คงทน ปุ๋ ย คือสารอินทรี ยหรื ออนินทรี ย ์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ หรื อสังเคราะห์ข้ ึนก็ตาม เมื่อใส่ ์ ให้กบพืชไม่ว่าโดยวิธีใดแล้ว ทาให้พืชเจริ ญเติบโต ไม่เป็ นอันตรายกับพืช ธาตุอาหารมีอยูหลายชนิด ั ่ แต่ละธาตุมีบทบาทต่อต้นพืชต่างๆ กันการใส่ปุ๋ยหรื อการให้ธาตุอาหารแก่พืชจะต้องถูกต้องและเหมาะสม จึงทาให้พืชเจริ ญเติบโต ให้ผลผลิตสูง ไม่เกิดความเสียหายแก่ตนพืช วิธีการใส่ปุ๋ย จะต้องใส่ให้ถกต้อง ้ ู และเหมาะสม ปุ๋ ยนั้นจึงจะเกิดประโยชน์ต่อพืชมากที่สุดและไม่สูญเสียไป ๒. จิตพิสัย ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒ ) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔ ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓) มีวินย ั ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕) อยูอย่างพอเพียง ่ ๖) มุ่งมันในการทางาน ่ ๗) รักความเป็ นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
  • 3. ๓๘ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) บอกความหมายของปุ๋ ยและธาตุอาหารของพืชได้ ๒) บอกความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลักได้ ๓) จาแนกประเภทของปุ๋ ยได้อย่างถูกต้อง ๔) อธิบายหลักการใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ยได้อย่างถูกต้อง ์ ์ ๕) บอกผลดีผลเสียของการใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ยได้ ์ ์ ๖) ทากองปุ๋ ยหมักตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ๗) บอกหน้าที่ของธาตุอาหารหลักได้อย่างถูกต้อง ๖. ทักษะคร่ อมวิชา ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน ๒) การนาเสนอ การนาเสน อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
  • 4. ๓๙ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๔ ปุ๋ ย เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ความหมายของปุ๋ ย ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก ประเภทของปุ๋ ย การใช้ปุ๋ยอนินทรี ย ์ และปุ๋ ยอินทรี ย ์ ๒. สาระสาคัญ ปุ๋ ย คือสารอินทรี ยหรื ออนินทรี ย ์ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ หรื อสังเคราะห์ข้ ึนก็ตาม เมื่อใส่ ์ ให้กบพืชไม่ว่าโดยวิธีใดแล้ว ทาให้พืชเจริ ญเติบโต ไม่เป็ นอันตรายกับพืช ธาตุอาหารมีอยูหลายชนิด ั ่ แต่ละธาตุมีบทบาทต่อต้นพืชต่างๆ กันการใส่ปุ๋ยหรื อการให้ธาตุอาหารแก่พืชจะต้องถูกต้องและเหมาะสม จึงทาให้พืชเจริ ญเติบโต ให้ผลผลิตสูง ไม่เกิดความเสียหายแก่ตนพืช วิธีการใส่ปุ๋ย จะต้องใส่ให้ถกต้อง ้ ู และเหมาะสม ปุ๋ ยนั้นจึงจะเกิดประโยชน์ต่อพืชมากที่สุดและไม่สูญเสียไป ๓. มาตรฐานและตัวชี้วด ั มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ความหมายของปุ๋ ย ๒. ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก ๓. ประเภทของปุ๋ ย ๔. การใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์ ์
  • 5. ๔๐ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้ าใจ การฝึ กปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. บอกความหมายของปุ๋ ยและ ๑. รู้จกความหมายของปุ๋ ยและ ั ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ธาตุอาหารของพืชได้ ธาตุอาหารของพืช ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต ๒. บอกความสาคัญและหน้าที่ ๒. รู้จกความสาคัญและหน้าที่ ั ๓. มีวินย ั ของธาตุอาหารหลักได้ ของธาตุอาหารหลัก ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓. จาแนกประเภทของปุ๋ ยได้ ๓. สามารถจาแนกประเภทของ ๕. อยูอย่างพอเพียง ่ อย่างถูกต้อง ปุ๋ ยได้อย่างถูกต้อง ๖. มุ่งมันในการทางาน ่ ๔. อธิบายหลักการใช้ปุ๋ย ๔. รู้จกหลักการใช้ปุ๋ยอนินทรี ย ์ ั ๗. รักความเป็ นไทย อนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์ ์ และปุ๋ ยอินทรี ยได้อย่างถูกต้อง ์ ๘. มีจิตสาธารณะ ได้อย่างถูกต้อง ๕. สามารถบอกผลดีผลเสียของ ๕. บอกผลดีผลเสียของการใช้ การใช้ปุ๋ยอนินทรี ยและปุ๋ ย ์ ปุ๋ ยอนินทรี ยและปุ๋ ยอินทรี ย ์ ์ อินทรี ยได้ ์ ได้ ๖. สามารถทากองปุ๋ ยหมักตาม ๖. ทากองปุ๋ ยหมักตามขั้นตอน ขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง ๗. บอกหน้าที่ของธาตุอาหาร ๗. บอกหน้าที่ของธาตุอาหาร หลักได้อย่างถูกต้อง หลักได้อย่างถูกต้อง ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน /หลังเรี ยน ๒) แบบทดสอบ ๓) ใบงาน ๔ ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 6. ๔๑ ๒. วิธีวดผล ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) ตรวจแบบทดสอบ ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ ่ ่ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ั ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง ่ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม ่ ั สภาพจริ ง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั การประเมินตามสภาพจริ ง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑ . ผลการทาแบบทดสอบ ๒. ผลการทาใบงาน
  • 7. ๔๒ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑) ครู ทบทวนเรื่ อง การอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อการเกษตรที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและ แสดงความคิดเห็น ขั้นสอน ๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง ความหมายของปุ๋ ย ความสาคัญและหน้าที่ของธาตุอาหารหลัก ประเภทของปุ๋ ยและหลักในการใช้ปุ๋ย ผลดีผลเสียของการปุ๋ ย จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง ปุ๋ ย จากหนังสือเรี ยนรายวิชา พื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา นาผลงาน ้ ที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครู แนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ ั ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญความรู้เรื่ องปุ๋ ยเพื่อให้เข้าใจร่ วมกันครู สงเกตสมรรถนะ ั ของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๑ - กิจกรรมที่๓ - กิจกรรมที่๒ - ใบงานที่ ๔.๑ ๘) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๔ ั ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
  • 8. ๔๓ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด ั ู ๑. ธาตุอาหารหลักคือข้อใด ก. แมงกานิส ข. แคลเซียม ค. โพแทสเซียม ง. ถูกทุกข้อ ๒. ธาตุอาหารรองคือข้อใด ก. ฟอสฟอรัส ข. ไนโตรเจน ค. แคลเซียม ง. ถูกทุกข้อ ๓. ต้นพืชที่ได้รับธาตุไนโตเจนมากเกินไปจะเป็ นอย่างไร ก. ต้นแคระแกร็ น ข. เติบโตเร็ ว ค. เติบโตช้า ง. มีใบมากให้ดอกน้อย ๔. ปุ๋ ยสูตร ๕-๖-๗ หนัก ๑๐๐ กิโลกรัม จะมีธาตุอาหารจริ งๆอยูกี่กิโลกรัม ่ ก. ๑๖ กิโลกรัม ข. ๑๘ กิโลกรัม ค. ๒๐ กิโลกรัม ง. ๒๒ กิโลกรัม ๕. ปุ๋ ยอินทรี ยมีธาตุอาหารใดบ้าง ์ ก. ธาตุอาหารหลัก ข. ธาตุอาหารรอง ค. ธาตุอาหารเสริ ม ง. ธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริ ม ๖. ธาตุอะไรช่วยให้ผลไม้หวาน ก. ฟอสฟอรัส ข. ไนโตรเจน ค. แมกนีเซียม ง. โพแทสเซียม ๗. ข้าวโพดขาดธาตุอะไรแล้วทาให้ใบเป็ นสีม่วง ก. ฟอสฟอรัส ข. ไนโตรเจน ค. แมกนีเซียม ง. โพแทสเซียม ๘. การใส่ปุ๋ยในนาข้าวมีวิธีใส่อย่างไร ก. หว่านทัวๆแปลง ข. ่ หยอดปุ๋ ยใกล้ๆ ต้น ค. ใส่ขณะเตรี ยมดิน ง. โรยข้างแถวปลูก
  • 9. ๔๔ ๙. ถ้าปลูกมะม่วงใส่ปุ๋ยอย่างไร ก. หยอดใกล้ๆ ต้น ข. ใส่ในหลุมปลูก ค. หว่านทัวๆ แปลง ่ ง. ใส่ในรางดินรอบต้น ๑๐. ปุ๋ ยในข้อใดคือปุ๋ ยเดี่ยว ก. ยูเรี ย ข. ปุ๋ ยสูตร ๑๖-๒๐-๐ ค. ปุ๋ ยสูตร ๑๖-๐-๑๐ ง. ปุ๋ ยสูตร ๑๖-๑๖-๑๖ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๑ ค ๖ ง ๒ ค ๗ ก ๓ ง ๘ ก ๔ ข ๙ ข ๕ ก ๑๐ ก
  • 10. ๔๕ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน ู้ (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................................... (............................................................)