SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
Baixar para ler offline
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    1




                                            ตอนที่ 1
                              คาชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้
                             รายวิชาเพิมเติม อาเซียนศึกษา ม. 1­3
                                       ่
                     กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม




1. แนวทางการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้
       คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิมเติม อาเซียนศึกษา ม. 1-3 เล่มนี้จดทาขึ้นเพื่อเป็ น
                                                 ่                                 ั
แนวทางให้ครู ใช้ประกอบการจัดการเรี ยนรู้เรื่ อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งการแบ่งหน่วยการเรี ยนรู้สาหรับ
จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้รายชัวโมงในคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้เล่มนี้แบ่งเนื้อหาเป็ น 5
                                   ่
หน่วย สามารถใช้ควบคู่กบหนังสือเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม. 1­3 ประกอบด้วยหน่วย
                             ั
การเรี ยนรู้ดงนี้
              ั
 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องของอาเซียน
 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2        ประเทศสมาชิกอาเซียน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    2

 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3         ประชาคมอาเซียน
 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4         บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก
 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5         อาเซียนกับความสัมพันธ์ภายนอกอาเซียน
 คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้เล่มนี้ได้นาเสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทา
แผนการจัดการเรี ยนรู้ นอกจากนี้ยงได้ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ให้นกเรี ยนได้พฒนาองค์ความรู้
                                       ั                                      ั          ั
สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครู ควรศึกษาคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้น้ ีให้ละเอียดเพื่อปรับใช้
ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพของนักเรี ยน
 ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้จะแบ่งแผนการจัดการเรี ยนรู้ออกเป็ นรายชัวโมง ซึ่งมีจานวนมาก
                                                                        ่
น้อยไม่เท่ากันขึ้นอยูกบความยาวของเนื้อหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้มีองค์ประกอบ
                          ่ ั
ดังนี้
         1. ผังมโนทัศน์ เปาหมายการเรียนรู้และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน แสดงขอบข่ายเนื้อหาการ
                              ้
จัดการเรี ยนรู้ที่ครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ทักษะ/กระบวนการ และภาระงาน/
ชิ้นงาน
 2. กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด                                Backward Design
(Backward Design Template) เป็ นกรอบแนวคิดในการจัดการเรี ยนรู้ของแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้
แบ่งเป็ น 3 ขั้น ได้แก่
              ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
                                          ้
              ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผล
การเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ ง
              ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรี ยนรู้ จะระบุว่าในหน่วยการเรี ยนรู้น้ ีแบ่งเป็ นแผนการจัดการ
เรี ยนรู้กี่แผน และแต่ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชวโมง   ั่
 3. แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง                เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้ตามกรอบแนวคิดการ
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design ประกอบด้วย
  3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้              ประกอบด้วยลาดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรี ยน เช่น
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ อง กาเนิดอาเซียนและสมาชิกอาเซียน เวลา 2 ชัวโมง   ่
              3.2 สาระสาคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นามาจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการ
จัดการเรี ยนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    3

               3.3 ผลการเรียนรู้ เป็ นผลการเรี ยนรู้ที่ใช้ตรวจสอบนักเรี ยนหลังจากเรี ยนจบเนื้อหาที่
นาเสนอในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู้ของหลักสูตร
                                              ั
               3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็ นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
                                                                          ้
ภายหลังจากเรี ยนจบในแต่ละแผน ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม ( A)
และด้านทักษะ/กระบวนการ ( P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กบผลการเรี ยนรู้และเนื้อหาในแผนการ
                                                               ั
จัดการเรี ยนรู้น้ น ๆ
                    ั
               3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจัดการเรี ยนรู้ว่าหลังจาก
จัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้แล้ว นักเรี ยนมีพฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
                                                                 ั
ตามเป้ าหมายที่คาดหวังไว้หรื อไม่ และมีส่ิงที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ งส่งเสริ มในด้าน
ใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่ องมือในการวัดและ
ประเมินผลการเรี ยนรู้ดานต่าง ๆ ของนักเรี ยนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทาแบบทดสอบ การตอบ
                              ้
คาถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม โดยเน้นการ
ปฏิบติให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผลการเรี ยนรู้
       ั
  วิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้เหล่านี้ครู สามารถนาไปใช้
ประเมินนักเรี ยนได้ท้งในระหว่างการจัดการเรี ยนรู้และการทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนา
                            ั
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
               3.6 สาระการเรียนรู้ เป็ นหัวข้อย่อยที่นามาจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้
ซึ่งสอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู้
               3.7 แนวทางบูรณาการ เป็ นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ในเรื่ องที่
เรี ยนรู้ของแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กบสาระการเรี ยนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์
                                                  ั
วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ
เพื่อให้การเรี ยนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริ ง
  3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้                   เป็ นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เนื้อหาใน
แต่ละเรื่ อง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ครู นาไปใช้
ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรี ยนรู้
ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่
  ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรี ยน
  ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรี ยนรู้
  ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผูเ้ รี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    4

 ขั้นที่ 4 นาไปใช้
   ขั้นที่ 5 สรุ ป
              3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เป็ นกิจกรรมเสนอแนะสาหรับให้นกเรี ยนได้พฒนาเพิ่มเติมใน
                                                                             ั         ั
ด้านต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้จดการเรี ยนรู้มาแล้วในชัวโมงเรี ยน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ
                                   ั                         ่
คือ กิจกรรมสาหรับผูที่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้ง
                          ้
กว้างขวางยิงขึ้น และกิจกรรมสาหรับการเรี ยนรู้ให้ครบตามเป้ าหมาย ซึ่งมีลกษณะเป็ นการซ่อม
               ่                                                                  ั
เสริ ม
              3.10 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ เป็ นรายชื่อสื่อการเรี ยนรู้ทุกประเภทที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้
ซึ่งมีท้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และสื่อบุคคล เช่น หนังสือ เอกสารความรู้ รู ปภาพ
        ั
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทศน์
                              ั
              3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็ นส่วนที่ให้ครู บนทึกผลการจัดการเรี ยนรู้ว่าประสบ
                                                                       ั
ความสาเร็ จหรื อไม่ มีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร
สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบติตามแผนมีอะไรบ้าง และข้อเสนอแนะสาหรับการปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้
                    ั
ครั้งต่อไป
 นอกจากนี้ยงอานวยความสะดวกให้ครู โดยจัดทาแบบทดสอบ แบบบันทึก แบบประเมินต่าง
                  ั
ๆและความรู้เสริ มสาหรับครู บนทึกลงในแผ่นซีดี (CD) ประกอบด้วย
                                 ั
          1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดและประเมินผลนักเรี ยน
                                                                               ั
ก่อนการจัดการเรี ยนรู้และหลังการจัดการเรี ยนรู้
          2. แบบทดสอบปลายปี /ปลายภาค เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดและประเมินผลการเรี ยนรู้
                                                                          ั
ปลายปี /ปลายภาค 3 ด้าน ได้แก่
 2.1 ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็ นแบบปรนัยและแบบอัตนัย
 2.2 ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เป็ นตารางการประเมิน
 2.3 ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็ นตารางการประเมิน
          3. ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมินต่าง ๆ
          4. เอกสาร/ความรู้เสริมสาหรับครู เป็ นการนาเสนอความรู้ในเรื่ องต่าง ๆ แก่ครู เช่น
 4.1 ผลการเรี ยนรู้ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ และสาระการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม (อาเซียน
ศึกษา ม. 1­3)
 4.2 โครงงาน (               Project Work)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    5

  4.3 แฟ้ มสะสมผลงาน (            Portfolio)
  4.4 ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด               Backward Design
               4.5 รู ปแบบของโครงสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้รายชัวโมงที่ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้
                                                                ่
ตามแนวคิด Backward Design
         ครู ควรศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู้เพื่อเตรี ยมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมให้
นักเรี ยนได้พฒนาครบทุกสมรรถนะสาคัญที่กาหนดไว้ในหลักสูตร กล่าวคือ สมรรถนะในการ
                  ั
สื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึง
                                       ั
ประสงค์ตามหลักสูตร และกิจกรรมเสนอแนะเพื่อการเรี ยนรู้เพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของ
นักเรี ยนแต่ละคน ซึ่งได้กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ ีแล้ว
 นอกจากนี้ครู สามารถปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ
นักเรี ยนและสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ ซึ่งจะใช้เป็ นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการ
เรี ยนรู้น้ ีได้อานวยความสะดวกให้ครู โดยได้พิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ออกแบบการ
จัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design ให้ครู เพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครู ปรับปรุ งเองไว้ดวยแล้ว
                                                                                         ้

2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design
 การจัดการเรี ยนรู้หรื อการสอนเป็ นงานที่ครู ทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้
นักเรี ยนสนใจที่จะเรี ยนรู้และเกิดผลตามที่ครู คาดหวัง การจัดการเรี ยนรู้จดเป็ นศาสตร์ที่ตองใช้
                                                                         ั               ้
ความรู้ความสามารถตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครู บางคนอาจจะละเลยเรื่ องของการ
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้หรื อการออกแบบการสอน ซึ่งเป็ นงานที่ครู จะต้องทาก่อนการเขียน
แผนการจัดการเรี ยนรู้
        การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทาอย่างไร ทาไมจึงต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้
 ครู ทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้มาแล้ว ในอดีต
การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้จะเริ่ มต้นจากการกาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู้ การวางแผนการ
จัดการเรี ยนรู้ การดาเนินการจัดการเรี ยนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ปัจจุบนการเรี ยนรู้
                                                                                      ั
ได้มการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้าน
      ี
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทต่อการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ซึ่งนักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้
ได้จากสื่อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยูรอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้จึงเป็ น
                                             ่
กระบวนการสาคัญที่ครู จาเป็ นต้องดาเนินการให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละคน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    6

 แกรนต์ วิกกินส์        (Grant Wiggins) และเจย์ แมกไท (Jay McTighe) นักการศึกษาชาวอเมริ กน      ั
ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่งเรี ยกว่า Backward Design อันเป็ นการ
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ครู จะต้องกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
                                                                 ้
ก่อน โดยทั้งสองให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understandings) เมื่อกาหนดความเข้าใจที่
คงทนได้แล้ว ครู จะต้องบอกให้ได้วาความเข้าใจที่คงทนของนักเรี ยนนี้เกิดจากอะไร นักเรี ยน
                                    ่
จะต้องมีหรื อแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง ครู มีหรื อใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่านักเรี ยนมีหรื อ
แสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครู จึงนึกถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู้ที่จะทาให้นกเรี ยนเกิดความ
                                                                                   ั
เข้าใจที่คงทนต่อไป
 แนวคิด          Backward Design
         Backward Design เป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็ นหลัก ซึ่ง
ผลลัพธ์ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรี ยนรู้ ทั้งนี้ครู จะต้องออกแบบการ
จัดการเรี ยนรู้ โดยใช้กรอบความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผล มีความสัมพันธ์กน จากนั้นจึงจะลงมือเขียน
                                                                      ั
แผนการจัดการเรี ยนรู้ ขยายรายละเอียดเพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป
 กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด                         Backward Design มี
ขั้นตอนหลักที่สาคัญ 3 ขั้นตอน คือ
 ขั้นที่      1 กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
                                          ้
 ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยน
มีผลการเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ ง
 ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรี ยนรู้

 ขั้นที่         1 กาหนดผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึนกับนักเรียน
                                                           ้
 ก่อนที่จะกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนนั้น ครู ควรตอบคาถาม
                                       ้
สาคัญต่อไปนี้
         1. นักเรี ยนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทาสิ่งใดได้บาง  ้
         2. เนื้อหาสาระใดบ้างที่มความสาคัญต่อการสร้างความเข้าใจของนักเรี ยนและความเข้าใจที่
                                 ี
คงทน(Enduring Understandings) ที่ครู ตองการจัดการเรี ยนรู้ให้แก่นกเรี ยนมีอะไรบ้าง
                                           ้                         ั
 เมื่อจะตอบคาถามสาคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครู นึกถึงเป้ าหมายของการศึกษา มาตรฐานการ
เรี ยนรู้ดานเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยูในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
          ้                              ่
2551 รวมทั้งมาตรฐานการเรี ยนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรื อท้องถิ่น การทบทวนความคาดหวัง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    7

ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กบ            ั
เนื้อหาสาระต่าง ๆ ซึ่งมีความแตกต่างลดหลันกันไป ด้วยเหตุน้ ีข้นที่ 1 ของ Backward Design ครู จึง
                                               ่                   ั
ต้องจัดลาดับความสาคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรี ยน ซึ่งเป็ นผลการเรี ยนรู้ที่เกิดจาก
ความเข้าใจที่คงทนต่อไป
 ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน
 ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็ นความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด
ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นกเรี ยนเรี ยนรู้ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ เป็ น
                                                      ั
ความรู้ที่อิงเนื้อหา ความรู้น้ ีเกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรี ยนและเป็ นองค์ความรู้ที่
นักเรี ยนสร้างขึ้นด้วยตนเอง
 การเขียนความเข้ าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
 ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึงสาระสาคัญของสิ่งที่จะเรี ยนรู้แล้ว ครู ควรจะรู้ว่าสาระสาคัญ
หมายถึงอะไร คาว่า สาระสาคัญ มาจากคาว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็ นภาษาไทย
ว่า สาระสาคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
นิยมใช้คาว่า สาระสาคัญ
 สาระสาคัญเป็ นข้อความที่แสดงแก่นหรื อเป้ าหมายเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง เพื่อให้ได้
ข้อสรุ ปรวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริ ง กฎ ทฤษฎี
ประเด็น และการสรุ ปสาระสาคัญและข้อความที่มีลกษณะรวบยอดอย่างอื่น
                                                        ั
 ประเภทของสาระสาคัญ
 1. ระดับกว้าง (        Broad Concept)
 2. ระดับการนาไปใช้ (              Operative Concept หรื อ Functional Concept)
 ตัวอย่างสาระสาคัญระดับกว้ าง
         ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก
 ตัวอย่างสาระสาคัญระดับการนาไปใช้
         ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมันคง           ่
อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
        แนวทางการเขียนสาระสาคัญ
 1. ให้เขียนสาระสาคัญของทุกเรื่ อง โดยแยกเป็ นข้อ ๆ (จานวนข้อของสาระสาคัญจะเท่ากับ
จานวนเรื่ อง)
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    8

2. การเขียนสาระสาคัญที่ดีควรเป็ นสาระสาคัญระดับการนาไปใช้
3. สาระสาคัญต้องครอบคลุมประเด็นสาคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่วนใดไปแล้วจะทาให้
นักเรี ยนรับสาระสาคัญที่ผดไปทันที
                         ิ
4. การเขียนสาระสาคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญ วิธีการหนึ่ง คือ การเขียนแผนผัง
สาระสาคัญ
                                                                          เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือ
     ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสาคัญ                                      ในด้านการเมืองและความ
                                                                          มันคง เพื่อธารงไว้ซ่ ึ ง
                                                                            ่
                               ประชาคมการเมือง                            สันติภาพและอยูร่วมกัน
                                                                                            ่
                               และความมันคง
                                        ่                                 อย่างสันติสุข
                               อาเซี ยน
                                                                           เพื่อให้อาเซี ยนมีตลาดและ
                                                                           ฐานการผลิตเดียวกัน และมี
                                                                           การเคลื่อนย้ายสิ นค้า
                               ประชาคมเศรษฐกิจ                             บริ การ การลงทุน และ
   ประชาคมอาเซี ยน
                               อาเซี ยน                                    แรงงานมีฝีมืออย่างเสรี


                                                                          เพื่อให้ประชาชนอยูดีกินดี
                                                                                               ่
                               ประชาคมสังคมและ                            ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มี
                               วัฒนธรรมอาเซี ยน                           สิ่ งแวดล้อมที่ดี และมี
                                                                          ความรู ้สึกเป็ นอันหนึ่งอัน
                                                                          เดียวกัน
 สาระสาคัญของประโยชน์ ของประชาคมอาเซียน               : ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสา
หลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคม
                                          ่
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียนก่อตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริ ม
                                                          ่
ความร่ วมมือ
ในด้านการเมืองและความมันคง เพื่อธารงไว้ซ่ึงสันติภาพและอยูร่วมกันอย่างสันติสุข ประชาคม
                           ่                                ่
เศรษฐกิจอาเซียนก่อตั้งขึ้นเพื่อให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน และมีการเคลื่อนย้าย
สินค้า บริ การ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี ส่วนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3    9

ก่อตั้งขึ้นเพื่อให้ประชาชนอยูดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีความรู้สึกเป็ น
                             ่
อันหนึ่งอันเดียวกัน
 5. การเขียนสาระสาคัญเกี่ยวกับเรื่ องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่มองเห็นได้หรื อนึกได้ออกมา
เป็ นข้อ ๆ แล้วจาแนกลักษณะเหล่านั้นเป็ นลักษณะจาเพาะและลักษณะประกอบ
 6. การเขียนข้อความที่เป็ นสาระสาคัญควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคาที่มี
ความหมายกากวมหรื อฟุ่ มเฟื อย

      ตัวอย่างการเขียนสาระสาคัญ เรื่อง อาเซียน
                 อาเซียน                   ลักษณะจาเพาะ                    ลักษณะประกอบ
                 มีสมาชิก 10 ประเทศ                                       
                 ตั้งอยูในภูมิภาคเอเชีย
                        ่                                                 
                 ตะวันออกเฉียงใต้
                 ประชาชนส่วนใหญ่นบ –    ั                                  
                 ถือคริ สต์ศาสนา
                 มีระบบการปกครองแบบ –                                      
                 ประชาธิปไตย

สาระสาคัญของอาเซียน            : อาเซียน คือ กลุ่มประเทศที่ต้งอยูในภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
                                                             ั ่       ิ
มีสมาชิก 10 ประเทศ ประชาชนส่วนใหญ่นบถือคริ สต์ศาสนา และมีระบบการปกครองแบบ
                                             ั
ประชาธิปไตย
ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียน
          มีผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้ อย่างแท้จริง
เมื่อครู กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ก่อนที่จะดาเนินการขั้น
                                     ้
ต่อไปขอให้ครู ตอบคาถามสาคัญต่อไปนี้
         นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออกในลักษณะใดจึงทาให้ครู ทราบว่า นักเรี ยนบรรลุ
ผลลัพธ์ปลายทางตามที่กาหนดไว้แล้ว
         ครู มีหลักฐานหรื อใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่า นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออก
ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  10


 การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด                 Backward Design เน้นให้ครู รวบรวมหลักฐาน
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่จาเป็ นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า การจัดการเรี ยนรู้
ทาให้นกเรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้ว ไม่ใช่เรี ยนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรื อเรี ยนตามชุดของกิจกรรม
            ั
การเรี ยนรู้ที่ครู กาหนดไว้เท่านั้น วิธีการของ Backward Design ต้องการกระตุนให้ครู คิดล่วงหน้าว่า
                                                                             ้
ครู ควรจะกาหนดและรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรี ยนรู้
โดยเฉพาะอย่างยิงหลักฐานดังกล่าวควรจะเป็ นหลักฐานที่สามารถใช้เป็ นข้อมูลย้อนกลับที่มี
                     ่
ประโยชน์สาหรับนักเรี ยนและครู ได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ครู ควรใช้วิธีการวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู้แบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการตลอดระยะเวลาที่ครู จดกิจกรรมการเรี ยนรู้
                                                                                 ั
ให้แก่นกเรี ยน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ตองการให้ครู ทาการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ระหว่าง
              ั                              ้
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่เรี ยกว่า สอนไปวัดผลไป
 จึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้ครู ควรนึกถึงพฤติกรรมหรื อการแสดงออกของนักเรี ยน โดยพิจารณาจาก
ผลงานหรื อชิ้นงานที่เป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตาม
เกณฑ์ที่กาหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็ นเกณฑ์คุณภาพในรู ปของมิติคุณภาพ
(Rubrics) อย่างไรก็ตาม ครู อาจจะมีหลักฐานหรื อใช้วิธีการอื่น ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลัง
เรี ยน การสัมภาษณ์ การศึกษาค้นคว้า การฝึ กปฏิบติขณะเรี ยนรู้ประกอบด้วยก็ได้
                                                    ั
 หลังจากที่ครู ได้กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ครู ควรกาหนด
                                               ้
ภาระงานและวิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตาม
ผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้แล้ว
 ภาระงาน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่กาหนดให้นกเรี ยนปฏิบติ เพื่อให้บรรลุตาม
                                                      ั        ั
จุดประสงค์การเรี ยนรู้/ผลการเรี ยนรู้ที่กาหนดไว้ ลักษณะสาคัญของงานจะต้องเป็ นงานที่สอดคล้อง
กับชีวิตจริ งในชีวิตประจาวัน เป็ นเหตุการณ์จริ งมากกว่ากิจกรรมที่จาลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ
ซึ่งเรี ยกว่า งานที่ปฏิบติเป็ นงานที่มีความหมายต่อนักเรี ยน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานและ
                        ั
กิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชดเจน สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้ /ตัวชี้วดชั้นปี /มาตรฐานการ
                                 ั                                             ั
เรี ยนรู้ที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน
                ้
 ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ตองการแล้ว ครู จะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่ องมือที่จะใช้
                                           ้
วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนซึ่งมีอยูมากมายหลายประเภท ครู จะต้องเลือกให้
                                                  ่
เหมาะสมกับภาระงานที่นกเรี ยนปฏิบติ
                              ั          ั
 ตัวอย่างภาระงาน/ชิ้นงานเรื่ อง กาเนิดอาเซียนและสมาชิกอาเซียน รวมทั้งการกาหนดวิธีการ
วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนดังตาราง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  11
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  12
ตัวอย่าง ภาระงาน/ชิ้นงาน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กาเนิดอาเซียนและสมาชิกอาเซียน
ผลการเรียนรู้ที่ 1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนในเรื่ องกาเนิดอาเซียน สมาชิกอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน คาขวัญของอาเซียน เพลงประจาอาเซียน ภาษา
ของ
             อาเซียน ปฏิญญาอาเซียน วิสยทัศน์อาเซียน และกฎบัตรอาเซียน
                                          ั
จุดประสงค์                                                    การวัดและประเมินผล
                    สาระการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน                                                           กิจกรรมการเรียนรู้    สื่อการเรียนรู้
การเรียนรู้                                                   วิธีการ        เครื่องมือ     เกณฑ์
อธิบายข้อมูล 1. กาเนิด                  สืบค้นข้อมูล          1. สืบค้น      1. แบบบันทึก 1. เกณฑ์คุณภาพ 1. ซักถามความรู้           1. ภาพเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ           อาเซียน 2.          เกี่ยวกับกาเนิด       ข้อมูล           ผลการ          4 ระดับ         2. ศึกษาและสืบค้น        การประชุม
อาเซียนใน           สมาชิกอาเซียน อาเซียนและ                                   สืบค้น                         3.        บันทึกสรุ ป    อาเซียน
เรื่ องต่าง ๆ ได้                       สมาชิกอาเซียน         2. ตรวจ        ข้อมูล                           สาระสาคัญ             2. แบบบันทึก
                                                                ผลงาน                       2. เกณฑ์คุณภาพ 4. ทากิจกรรมเกี่ยวกับ ผลการสืบค้น
                                                                             2. แบบ           4 ระดับ            กาเนิดอาเซียนและ      ข้อมูล
                                                              3. ประเมิน       ตรวจสอบ                           สมาชิกอาเซียน      3. แบบประเมิน
                                                                พฤติกรรม       ผลงาน        3. เกณฑ์คุณภาพ                             พฤติกรรมใน
                                                                ในการ        3. แบบ           4 ระดับ                                  การทางานเป็ น
                                                                ทางาน        ประเมิน                                                   รายบุคคล
                                                                               พฤติกรรม                                                และเป็ นกลุ่ม
                                                                               การทางาน                                             4. หนังสือเรี ยน
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  13
เป็ นราย                                                  รายวิชาเพิ่มเติม
บุคคลและ                                                  อาเซียนศึกษา
เป็ นกลุ่ม                                                ม. 1-3
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  14


 การสร้ างความเข้ าใจที่คงทน
 ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรี ยนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่
         1. การอธิบาย ชี้แจง เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการอธิบายหรื อชี้แจงในสิ่งที่
                                                     ั
เรี ยนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็ นระบบ
         2. การแปลความและตีความ เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการแปลความและ
                                                           ั
ตีความได้อย่างมีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุ โปร่ ง
         3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนาไปใช้ เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการนาสิ่งที่
                                                                      ั
ได้เรี ยนรู้ไปสู่การปฏิบติได้อย่างมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว
                         ั
         4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่
                                                                ั
น่าเชื่อถือ เป็ นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่
         5. การให้ ความสาคัญและใส่ ใจในความรู้สึกของผู้อน เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออก
                                                             ื่                ั
โดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปิ ดเผย รับฟังความคิดเห็นของผูอื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิด
                                                                    ้
ความกระทบกระเทือนต่อผูอื่น    ้
         6. การรู้จกตนเอง เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถ
                   ั                               ั
ประมวลผลข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ปรับตัวได้ รู้จกใคร่ ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
                                                                  ั
 นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะ
สาคัญของนักเรี ยนหลังจากสาเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้
 1. ความสามารถในการสื่อสาร               เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒนธรรมในการใช้
                                                                             ั
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึง
ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
 2. ความสามารถในการคิด              เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์
ความรู้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา                  เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  15
มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ
ที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวต          ิ     เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรี ยนรู้ดวยตนเอง การเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่
                                              ้
ร่ วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
                                                        ั
ขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จก
                                      ั                                                        ั
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ซ่ ึงจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น    ้
 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี                เป็ นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดาน้
ต่าง ๆ มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรี ยนรู้ การ
            ั
สื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
 นอกจากสมรรถนะสาคัญของนักเรี ยนหลังจากสาเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรที่กล่าวแล้ว
ข้างต้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์เพื่อให้สามารถอยูร่วมกับผูอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ
                                ่           ้
พลโลก ดังนี้
        1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ ธารงไว้
ซึ่งความเป็ นชาติไทย ศรัทธา ยึดมันในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ผูที่รัก
                                        ่                                                ้
ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ จะแสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชู
ความเป็ นชาติไทย ปฏิบติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบัน
                              ั
พระมหากษัตริ ย ์
        2. ซื่อสัตย์สุจริต เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมันในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม
                                                                    ่
ความเป็ นจริ งต่อตนเองและผูอื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ ผูที่มีความซื่อสัตย์สุจริ ต จะประพฤติตรง
                                    ้                         ้
ตามความเป็ นจริ งทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริ ง ความถูกต้องในการดาเนินชีวิต มีความ
ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทาผิด
        3. มีวนัย เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบ
                ิ                                           ่
ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม ผูที่มีวินยจะปฏิบติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ และ
                                                    ้     ั       ั
ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคมเป็ นปกติวิสย ไม่ละเมิดสิทธิของผูอื่น
                                                                      ั             ้
        4. ใฝ่ เรียนรู้ เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยน แสวงหา
ความรู้จากแหล่งการเรี ยนรู้ท้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน ผูที่ใฝ่ เรี ยนรู้จะแสดงออกถึงความตั้งใจ
                                  ั                             ้
เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรี ยนรู้ท้ง   ั
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  16
ภายในและภายนอกโรงเรี ยนอย่างสม่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้
วิเคราะห์ สรุ ปเป็ นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้
          5. อยู่อย่างพอเพียง เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล
รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยูในสังคมได้อย่างมีความสุข ผูที่อยู่
                                  ้                            ่                        ้
อย่างพอเพียงจะดาเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยูร่วมกับผูอื่นด้วย
                                                                               ่      ้
ความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผูอื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้ องกันความ
                                        ้
เสี่ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
          6. มุ่งมันในการทางาน เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทา
                   ่
หน้าที่การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็ จตามเป้ าหมาย ผูที่มุ่งมันในการ
                                                                             ้     ่
ทางานจะแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเท
                                                  ั
กาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สาเร็ จลุล่วงตามเป้ าหมายที่กาหนดด้วยความ
                                    ั
รับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน
          7. รักความเป็ นไทย เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่ วมอนุรักษ์
สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผูที่รักความเป็ นไทยจะมีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วน
                                      ้
ร่ วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม
ไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
 8. มีจตสาธารณะ
        ิ                    เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมหรื อสถานการณ์
ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผอื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรื อร้น โดยไม่หวัง
                               ู้
ผลตอบแทน ผูที่มีจิตสาธารณะจะเป็ นผูให้และช่วยเหลือผูอื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อทา
                     ้                              ้       ้
ประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผูที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
                                                ้
ด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบติเพื่อแก้ปัญหา หรื อร่ วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน
                                            ั
โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
 ดังนั้นการกาหนดภาระงานให้นกเรี ยนปฏิบติ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่ องมือวัดและ
                                          ั           ั
ประเมินผลการเรี ยนรู้น้ น ครู ควรคานึงถึงความสามารถของนักเรี ยน 6 ประการตามแนวคิด
                           ั
Backward Design สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยนหลังจากสาเร็ จ
การศึกษาตามหลักสูตรที่ได้กล่าวไว้ขางต้น เพื่อให้ภาระงาน วิธีการ และเครื่ องมือวัดและ
                                              ้
ประเมินผลการเรี ยนรู้ครอบคลุมสิ่งที่สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนอย่าง
                                                                  ้
แท้จริ ง
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  17
 นอกจากนี้การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด                   Backward Design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู
จะต้องคานึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้
มีประสิทธิภาพ ตรงกับสภาพจริ ง มีความยืดหยุน และสร้างความสบายใจแก่นกเรี ยนเป็ นสาคัญ
                                                      ่                          ั
 ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้
 เมื่อครู มีความรู้ความเข้าใจที่ชดเจนเกี่ยวกับการกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิด
                                 ั                                             ้
ขึ้นกับนักเรี ยน รวมทั้งกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่า
นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว ขั้นต่อไปครู ควรนึกถึงกิจกรรมการเรี ยนรู้
ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่นกเรี ยน การที่ครู จะนึกถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะจัดให้นกเรี ยนได้น้ น ครู ควรตอบ
                        ั                                                    ั           ั
คาถามสาคัญต่อไปนี้
          ถ้าครู ตองการจะจัดการเรี ยนรู้ให้นกเรี ยนเกิดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง ความคิดรวบยอด
                   ้                            ั
หลักการ และทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จาเป็ นสาหรับนักเรี ยน ซึ่งจะทาให้นกเรี ยนเกิดผลลัพธ์
                                                                                   ั
ปลายทางตามที่กาหนดไว้ รวมทั้งเกิดเป็ นความเข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครู สามารถใช้วิธีการง่าย ๆ
อะไรบ้าง
          กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จะช่วยเป็ นสื่อนาให้นกเรี ยนเกิดความรู้และทักษะที่จาเป็ นมีอะไรบ้าง
                                                        ั
          สื่อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมและดีที่สุดซึ่งจะทาให้นกเรี ยนบรรลุตามมาตรฐาน
                                                                        ั
ของหลักสูตรมีอะไรบ้าง
          กิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อนและควรจัดกิจกรรม
ใดหลัง
          กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยน
หรื อไม่ เพราะเหตุใด
      การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เพือให้นกเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิด Backward
                                           ่        ั
Design นั้น วิกกินส์และแมกไทได้เสนอแนะให้ครู เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้แนวคิดของ
WHERETO (ไปที่ไหน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
         W แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จดให้น้ นจะต้องช่วยให้นกเรี ยนรู้ว่าหน่วยการเรี ยนรู้น้ ีจะ
                                         ั        ั               ั
ดาเนินไปในทิศทางใด (Where) และสิ่งที่คาดหวังคืออะไร (What) มีอะไรบ้าง ช่วยให้ครู ทราบว่า
นักเรี ยนมีความรู้พ้ืนฐานและความสนใจอะไรบ้าง
         H แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรดึงดูดความสนใจของนักเรี ยนทุกคน (Hook) ทาให้นกเรี ยน      ั
เกิดความสนใจในสิ่งที่จะเรี ยนรู้ (Hold) และใช้สิ่งที่นกเรี ยนสนใจเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้
                                                          ั
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  18
         E แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรส่งเสริ มและจัดให้ (Equip) นักเรี ยนได้มีประสบการณ์
(Experience) ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสารวจ รวมทั้งวินิจฉัย          (Explore) ในประเด็นต่าง ๆ ที่
น่าสนใจ
         R แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise)
                                                          ั
ความเข้าใจในความรู้และงานที่ปฏิบติ     ั
         E แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่งที่
                                                        ั
เกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู้
         T แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรออกแบบ (Tailored) สาหรับนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลเพื่อให้
สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรี ยน
         O แทน การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ให้เป็ นระบบ (Organized) ตามลาดับการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน และกระตุนให้นกเรี ยนมีส่วนร่ วมในการสร้างองค์ความรู้ต้งแต่เริ่ มแรกและตลอดไป ทั้งนี้
                        ้   ั                                          ั
เพื่อการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิผล
 อย่างไรก็ตาม มีขอสังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่มีการกาหนดวิธีการจัดการเรี ยนรู้
                      ้
การลาดับบทเรี ยน รวมทั้งสื่อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสาเร็ จได้ก็
ต่อเมื่อครู ได้มีการกาหนดผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่า
นักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เป็ นเพียงสื่อที่จะ
นาไปสู่เป้ าหมายความสาเร็ จที่ตองการเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ีถาครู มีเป้ าหมายที่ชดเจนก็จะช่วยทาให้การ
                                   ้                         ้                  ั
วางแผนการจัดการเรี ยนรู้และการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้สามารถทาให้นกเรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่
                                                                           ั
กาหนดไว้ได้
 โดยสรุ ปจึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้เป็ นการค้นหาสื่อการเรี ยนรู้ แหล่งการเรี ยนรู้ และกิจกรรมการ
เรี ยนรู้ที่สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรี ยน กิจกรรมที่กาหนดขึ้นควรเป็ นกิจกรรมที่จะส่งเสริ มให้
นักเรี ยนสามารถสร้างและสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอดและหลักการที่สาคัญของสาระที่เรี ยนรู้
ก่อให้เกิดความเข้าใจที่คงทน รวมทั้งความรู้สึกและค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ กับทักษะความชานาญ




ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  19
               (Backward Design Template)
               หน่ วยการเรียนรู้ที่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึนกับนักเรียน            ้
ผลการเรียนรู้
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน                                                               คาถามสาคัญที่ทาให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้ าใจว่า…
1. ..........................................................................               1. ....................................................................................
2. ..........................................................................               2. ....................................................................................
ความรู้ของนักเรียนที่นาไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน                                             ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นาไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน
นักเรียนจะรู้ว่า…                                                                           นักเรียนจะสามารถ...
1. ..........................................................................               1. ....................................................................................
2. ..........................................................................               2. ....................................................................................
3. ..........................................................................               3. ....................................................................................
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้
        อย่างแท้ จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
   1.1 .................................................................................................................................................................
   1.2 .................................................................................................................................................................
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
   2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้                                                             2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู้
        1) ............................................................                             1) ......................................................................
        2) ............................................................                             2) ......................................................................
3. สิ่งที่ม่งประเมิน
            ุ
   3.1 ...............................................................................................................................................................
   3.2 ...............................................................................................................................................................
   3.3 ...............................................................................................................................................................
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
Fh Fatihah
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
Suwanan Nonsrikham
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
krurutsamee
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
Rissa Byk
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
Suwanan Nonsrikham
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
Surapong Khamjai
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
pronprom11
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 

Mais procurados (20)

ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 

Semelhante a 01 ตอนที่ 1 word

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
pronprom11
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
witthaya601
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
benty2443
 

Semelhante a 01 ตอนที่ 1 word (20)

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
M4
M4M4
M4
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 

Mais de นิชานาถ เตชะพิมพ์

เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียนเมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
นิชานาถ เตชะพิมพ์
 

Mais de นิชานาถ เตชะพิมพ์ (15)

00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 600 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
00 ต้นฉบับ แผน อาเซียนศึกษา ม.4 6
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 506 ตอนที่ 2 หน่วย 5
06 ตอนที่ 2 หน่วย 5
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 203 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
สื่ออาเซียนศึกษา
สื่ออาเซียนศึกษาสื่ออาเซียนศึกษา
สื่ออาเซียนศึกษา
 
เสาหลักประชาคมอาเซียน
เสาหลักประชาคมอาเซียนเสาหลักประชาคมอาเซียน
เสาหลักประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510
กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510
กำเนิดอาเซียน ปี พ.ศ2510
 
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียนเมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
เมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 

01 ตอนที่ 1 word

  • 1. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  1 ตอนที่ 1 คาชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิมเติม อาเซียนศึกษา ม. 1­3 ่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1. แนวทางการใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิมเติม อาเซียนศึกษา ม. 1-3 เล่มนี้จดทาขึ้นเพื่อเป็ น ่ ั แนวทางให้ครู ใช้ประกอบการจัดการเรี ยนรู้เรื่ อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งการแบ่งหน่วยการเรี ยนรู้สาหรับ จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้รายชัวโมงในคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้เล่มนี้แบ่งเนื้อหาเป็ น 5 ่ หน่วย สามารถใช้ควบคู่กบหนังสือเรี ยน รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ม. 1­3 ประกอบด้วยหน่วย ั การเรี ยนรู้ดงนี้ ั หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องของอาเซียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ประเทศสมาชิกอาเซียน
  • 2. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  2 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ประชาคมอาเซียน หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5 อาเซียนกับความสัมพันธ์ภายนอกอาเซียน คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้เล่มนี้ได้นาเสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทา แผนการจัดการเรี ยนรู้ นอกจากนี้ยงได้ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ให้นกเรี ยนได้พฒนาองค์ความรู้ ั ั ั สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครู ควรศึกษาคู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้น้ ีให้ละเอียดเพื่อปรับใช้ ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพของนักเรี ยน ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้จะแบ่งแผนการจัดการเรี ยนรู้ออกเป็ นรายชัวโมง ซึ่งมีจานวนมาก ่ น้อยไม่เท่ากันขึ้นอยูกบความยาวของเนื้อหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้มีองค์ประกอบ ่ ั ดังนี้ 1. ผังมโนทัศน์ เปาหมายการเรียนรู้และขอบข่ ายภาระงาน/ชิ้นงาน แสดงขอบข่ายเนื้อหาการ ้ จัดการเรี ยนรู้ที่ครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ทักษะ/กระบวนการ และภาระงาน/ ชิ้นงาน 2. กรอบแนวคิดผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design (Backward Design Template) เป็ นกรอบแนวคิดในการจัดการเรี ยนรู้ของแต่ละหน่วยการเรี ยนรู้ แบ่งเป็ น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ้ ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผล การเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ ง ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรี ยนรู้ จะระบุว่าในหน่วยการเรี ยนรู้น้ ีแบ่งเป็ นแผนการจัดการ เรี ยนรู้กี่แผน และแต่ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชวโมง ั่ 3. แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้ตามกรอบแนวคิดการ ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design ประกอบด้วย 3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยลาดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรี ยน เช่น แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ อง กาเนิดอาเซียนและสมาชิกอาเซียน เวลา 2 ชัวโมง ่ 3.2 สาระสาคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นามาจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการ จัดการเรี ยนรู้
  • 3. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  3 3.3 ผลการเรียนรู้ เป็ นผลการเรี ยนรู้ที่ใช้ตรวจสอบนักเรี ยนหลังจากเรี ยนจบเนื้อหาที่ นาเสนอในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู้ของหลักสูตร ั 3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็ นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ้ ภายหลังจากเรี ยนจบในแต่ละแผน ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม ( A) และด้านทักษะ/กระบวนการ ( P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กบผลการเรี ยนรู้และเนื้อหาในแผนการ ั จัดการเรี ยนรู้น้ น ๆ ั 3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจัดการเรี ยนรู้ว่าหลังจาก จัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้แล้ว นักเรี ยนมีพฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ั ตามเป้ าหมายที่คาดหวังไว้หรื อไม่ และมีส่ิงที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ งส่งเสริ มในด้าน ใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่ องมือในการวัดและ ประเมินผลการเรี ยนรู้ดานต่าง ๆ ของนักเรี ยนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทาแบบทดสอบ การตอบ ้ คาถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม โดยเน้นการ ปฏิบติให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผลการเรี ยนรู้ ั วิธีการและเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้เหล่านี้ครู สามารถนาไปใช้ ประเมินนักเรี ยนได้ท้งในระหว่างการจัดการเรี ยนรู้และการทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนา ั ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 3.6 สาระการเรียนรู้ เป็ นหัวข้อย่อยที่นามาจัดการเรี ยนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู้ 3.7 แนวทางบูรณาการ เป็ นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ในเรื่ องที่ เรี ยนรู้ของแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กบสาระการเรี ยนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ ั วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เพื่อให้การเรี ยนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริ ง 3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็ นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เนื้อหาใน แต่ละเรื่ อง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ครู นาไปใช้ ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรี ยน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรี ยนรู้ ขั้นที่ 3 ฝึ กฝนผูเ้ รี ยน
  • 4. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  4 ขั้นที่ 4 นาไปใช้ ขั้นที่ 5 สรุ ป 3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เป็ นกิจกรรมเสนอแนะสาหรับให้นกเรี ยนได้พฒนาเพิ่มเติมใน ั ั ด้านต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้จดการเรี ยนรู้มาแล้วในชัวโมงเรี ยน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ ั ่ คือ กิจกรรมสาหรับผูที่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษาค้นคว้าเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้ง ้ กว้างขวางยิงขึ้น และกิจกรรมสาหรับการเรี ยนรู้ให้ครบตามเป้ าหมาย ซึ่งมีลกษณะเป็ นการซ่อม ่ ั เสริ ม 3.10 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ เป็ นรายชื่อสื่อการเรี ยนรู้ทุกประเภทที่ใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่งมีท้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และสื่อบุคคล เช่น หนังสือ เอกสารความรู้ รู ปภาพ ั เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทศน์ ั 3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เป็ นส่วนที่ให้ครู บนทึกผลการจัดการเรี ยนรู้ว่าประสบ ั ความสาเร็ จหรื อไม่ มีปัญหาหรื ออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบติตามแผนมีอะไรบ้าง และข้อเสนอแนะสาหรับการปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้ ั ครั้งต่อไป นอกจากนี้ยงอานวยความสะดวกให้ครู โดยจัดทาแบบทดสอบ แบบบันทึก แบบประเมินต่าง ั ๆและความรู้เสริ มสาหรับครู บนทึกลงในแผ่นซีดี (CD) ประกอบด้วย ั 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดและประเมินผลนักเรี ยน ั ก่อนการจัดการเรี ยนรู้และหลังการจัดการเรี ยนรู้ 2. แบบทดสอบปลายปี /ปลายภาค เป็ นแบบทดสอบเพื่อใช้วดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ั ปลายปี /ปลายภาค 3 ด้าน ได้แก่ 2.1 ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็ นแบบปรนัยและแบบอัตนัย 2.2 ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยม เป็ นตารางการประเมิน 2.3 ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็ นตารางการประเมิน 3. ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมินต่าง ๆ 4. เอกสาร/ความรู้เสริมสาหรับครู เป็ นการนาเสนอความรู้ในเรื่ องต่าง ๆ แก่ครู เช่น 4.1 ผลการเรี ยนรู้ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ และสาระการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม (อาเซียน ศึกษา ม. 1­3) 4.2 โครงงาน ( Project Work)
  • 5. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  5 4.3 แฟ้ มสะสมผลงาน ( Portfolio) 4.4 ผังการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design 4.5 รู ปแบบของโครงสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้รายชัวโมงที่ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ ่ ตามแนวคิด Backward Design ครู ควรศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู้เพื่อเตรี ยมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมให้ นักเรี ยนได้พฒนาครบทุกสมรรถนะสาคัญที่กาหนดไว้ในหลักสูตร กล่าวคือ สมรรถนะในการ ั สื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทกษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึง ั ประสงค์ตามหลักสูตร และกิจกรรมเสนอแนะเพื่อการเรี ยนรู้เพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของ นักเรี ยนแต่ละคน ซึ่งได้กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู้น้ ีแล้ว นอกจากนี้ครู สามารถปรับปรุ งแผนการจัดการเรี ยนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ นักเรี ยนและสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ ซึ่งจะใช้เป็ นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการ เรี ยนรู้น้ ีได้อานวยความสะดวกให้ครู โดยได้พิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ออกแบบการ จัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design ให้ครู เพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครู ปรับปรุ งเองไว้ดวยแล้ว ้ 2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design การจัดการเรี ยนรู้หรื อการสอนเป็ นงานที่ครู ทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้ นักเรี ยนสนใจที่จะเรี ยนรู้และเกิดผลตามที่ครู คาดหวัง การจัดการเรี ยนรู้จดเป็ นศาสตร์ที่ตองใช้ ั ้ ความรู้ความสามารถตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครู บางคนอาจจะละเลยเรื่ องของการ ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้หรื อการออกแบบการสอน ซึ่งเป็ นงานที่ครู จะต้องทาก่อนการเขียน แผนการจัดการเรี ยนรู้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทาอย่างไร ทาไมจึงต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้ ครู ทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้มาแล้ว ในอดีต การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้จะเริ่ มต้นจากการกาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู้ การวางแผนการ จัดการเรี ยนรู้ การดาเนินการจัดการเรี ยนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ปัจจุบนการเรี ยนรู้ ั ได้มการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้าน ี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทต่อการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ซึ่งนักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ ได้จากสื่อและแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยูรอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้จึงเป็ น ่ กระบวนการสาคัญที่ครู จาเป็ นต้องดาเนินการให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรี ยนแต่ละคน
  • 6. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  6 แกรนต์ วิกกินส์ (Grant Wiggins) และเจย์ แมกไท (Jay McTighe) นักการศึกษาชาวอเมริ กน ั ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่งเรี ยกว่า Backward Design อันเป็ นการ ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ครู จะต้องกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ้ ก่อน โดยทั้งสองให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understandings) เมื่อกาหนดความเข้าใจที่ คงทนได้แล้ว ครู จะต้องบอกให้ได้วาความเข้าใจที่คงทนของนักเรี ยนนี้เกิดจากอะไร นักเรี ยน ่ จะต้องมีหรื อแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง ครู มีหรื อใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่านักเรี ยนมีหรื อ แสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครู จึงนึกถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู้ที่จะทาให้นกเรี ยนเกิดความ ั เข้าใจที่คงทนต่อไป แนวคิด Backward Design Backward Design เป็ นการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็ นหลัก ซึ่ง ผลลัพธ์ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับนักเรี ยนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรี ยนรู้ ทั้งนี้ครู จะต้องออกแบบการ จัดการเรี ยนรู้ โดยใช้กรอบความคิดที่เป็ นเหตุเป็ นผล มีความสัมพันธ์กน จากนั้นจึงจะลงมือเขียน ั แผนการจัดการเรี ยนรู้ ขยายรายละเอียดเพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design มี ขั้นตอนหลักที่สาคัญ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ้ ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยน มีผลการเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ ง ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรี ยนรู้ ขั้นที่ 1 กาหนดผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึนกับนักเรียน ้ ก่อนที่จะกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนนั้น ครู ควรตอบคาถาม ้ สาคัญต่อไปนี้ 1. นักเรี ยนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทาสิ่งใดได้บาง ้ 2. เนื้อหาสาระใดบ้างที่มความสาคัญต่อการสร้างความเข้าใจของนักเรี ยนและความเข้าใจที่ ี คงทน(Enduring Understandings) ที่ครู ตองการจัดการเรี ยนรู้ให้แก่นกเรี ยนมีอะไรบ้าง ้ ั เมื่อจะตอบคาถามสาคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครู นึกถึงเป้ าหมายของการศึกษา มาตรฐานการ เรี ยนรู้ดานเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยูในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ้ ่ 2551 รวมทั้งมาตรฐานการเรี ยนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรื อท้องถิ่น การทบทวนความคาดหวัง
  • 7. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  7 ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กบ ั เนื้อหาสาระต่าง ๆ ซึ่งมีความแตกต่างลดหลันกันไป ด้วยเหตุน้ ีข้นที่ 1 ของ Backward Design ครู จึง ่ ั ต้องจัดลาดับความสาคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรี ยน ซึ่งเป็ นผลการเรี ยนรู้ที่เกิดจาก ความเข้าใจที่คงทนต่อไป ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็ นความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นกเรี ยนเรี ยนรู้ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ เป็ น ั ความรู้ที่อิงเนื้อหา ความรู้น้ ีเกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรี ยนและเป็ นองค์ความรู้ที่ นักเรี ยนสร้างขึ้นด้วยตนเอง การเขียนความเข้ าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึงสาระสาคัญของสิ่งที่จะเรี ยนรู้แล้ว ครู ควรจะรู้ว่าสาระสาคัญ หมายถึงอะไร คาว่า สาระสาคัญ มาจากคาว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็ นภาษาไทย ว่า สาระสาคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ นิยมใช้คาว่า สาระสาคัญ สาระสาคัญเป็ นข้อความที่แสดงแก่นหรื อเป้ าหมายเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง เพื่อให้ได้ ข้อสรุ ปรวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริ ง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุ ปสาระสาคัญและข้อความที่มีลกษณะรวบยอดอย่างอื่น ั ประเภทของสาระสาคัญ 1. ระดับกว้าง ( Broad Concept) 2. ระดับการนาไปใช้ ( Operative Concept หรื อ Functional Concept) ตัวอย่างสาระสาคัญระดับกว้ าง  ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก ตัวอย่างสาระสาคัญระดับการนาไปใช้  ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมันคง ่ อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน แนวทางการเขียนสาระสาคัญ 1. ให้เขียนสาระสาคัญของทุกเรื่ อง โดยแยกเป็ นข้อ ๆ (จานวนข้อของสาระสาคัญจะเท่ากับ จานวนเรื่ อง)
  • 8. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  8 2. การเขียนสาระสาคัญที่ดีควรเป็ นสาระสาคัญระดับการนาไปใช้ 3. สาระสาคัญต้องครอบคลุมประเด็นสาคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่วนใดไปแล้วจะทาให้ นักเรี ยนรับสาระสาคัญที่ผดไปทันที ิ 4. การเขียนสาระสาคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญ วิธีการหนึ่ง คือ การเขียนแผนผัง สาระสาคัญ เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือ ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสาคัญ ในด้านการเมืองและความ มันคง เพื่อธารงไว้ซ่ ึ ง ่ ประชาคมการเมือง สันติภาพและอยูร่วมกัน ่ และความมันคง ่ อย่างสันติสุข อาเซี ยน เพื่อให้อาเซี ยนมีตลาดและ ฐานการผลิตเดียวกัน และมี การเคลื่อนย้ายสิ นค้า ประชาคมเศรษฐกิจ บริ การ การลงทุน และ ประชาคมอาเซี ยน อาเซี ยน แรงงานมีฝีมืออย่างเสรี เพื่อให้ประชาชนอยูดีกินดี ่ ประชาคมสังคมและ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มี วัฒนธรรมอาเซี ยน สิ่ งแวดล้อมที่ดี และมี ความรู ้สึกเป็ นอันหนึ่งอัน เดียวกัน สาระสาคัญของประโยชน์ ของประชาคมอาเซียน : ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสา หลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคม ่ สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียนก่อตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริ ม ่ ความร่ วมมือ ในด้านการเมืองและความมันคง เพื่อธารงไว้ซ่ึงสันติภาพและอยูร่วมกันอย่างสันติสุข ประชาคม ่ ่ เศรษฐกิจอาเซียนก่อตั้งขึ้นเพื่อให้อาเซียนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน และมีการเคลื่อนย้าย สินค้า บริ การ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี ส่วนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
  • 9. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  9 ก่อตั้งขึ้นเพื่อให้ประชาชนอยูดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีความรู้สึกเป็ น ่ อันหนึ่งอันเดียวกัน 5. การเขียนสาระสาคัญเกี่ยวกับเรื่ องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่มองเห็นได้หรื อนึกได้ออกมา เป็ นข้อ ๆ แล้วจาแนกลักษณะเหล่านั้นเป็ นลักษณะจาเพาะและลักษณะประกอบ 6. การเขียนข้อความที่เป็ นสาระสาคัญควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคาที่มี ความหมายกากวมหรื อฟุ่ มเฟื อย ตัวอย่างการเขียนสาระสาคัญ เรื่อง อาเซียน อาเซียน ลักษณะจาเพาะ ลักษณะประกอบ มีสมาชิก 10 ประเทศ   ตั้งอยูในภูมิภาคเอเชีย ่   ตะวันออกเฉียงใต้ ประชาชนส่วนใหญ่นบ – ั  ถือคริ สต์ศาสนา มีระบบการปกครองแบบ –  ประชาธิปไตย สาระสาคัญของอาเซียน : อาเซียน คือ กลุ่มประเทศที่ต้งอยูในภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ั ่ ิ มีสมาชิก 10 ประเทศ ประชาชนส่วนใหญ่นบถือคริ สต์ศาสนา และมีระบบการปกครองแบบ ั ประชาธิปไตย ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียน มีผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้ อย่างแท้จริง เมื่อครู กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ก่อนที่จะดาเนินการขั้น ้ ต่อไปขอให้ครู ตอบคาถามสาคัญต่อไปนี้  นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออกในลักษณะใดจึงทาให้ครู ทราบว่า นักเรี ยนบรรลุ ผลลัพธ์ปลายทางตามที่กาหนดไว้แล้ว  ครู มีหลักฐานหรื อใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่า นักเรี ยนมีพฤติกรรมหรื อแสดงออก ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้
  • 10. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  10 การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design เน้นให้ครู รวบรวมหลักฐาน การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่จาเป็ นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า การจัดการเรี ยนรู้ ทาให้นกเรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้ว ไม่ใช่เรี ยนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรื อเรี ยนตามชุดของกิจกรรม ั การเรี ยนรู้ที่ครู กาหนดไว้เท่านั้น วิธีการของ Backward Design ต้องการกระตุนให้ครู คิดล่วงหน้าว่า ้ ครู ควรจะกาหนดและรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรี ยนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิงหลักฐานดังกล่าวควรจะเป็ นหลักฐานที่สามารถใช้เป็ นข้อมูลย้อนกลับที่มี ่ ประโยชน์สาหรับนักเรี ยนและครู ได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ครู ควรใช้วิธีการวัดและประเมินผลการ เรี ยนรู้แบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็ นทางการและเป็ นทางการตลอดระยะเวลาที่ครู จดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ั ให้แก่นกเรี ยน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ตองการให้ครู ทาการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ระหว่าง ั ้ การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่เรี ยกว่า สอนไปวัดผลไป จึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้ครู ควรนึกถึงพฤติกรรมหรื อการแสดงออกของนักเรี ยน โดยพิจารณาจาก ผลงานหรื อชิ้นงานที่เป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตาม เกณฑ์ที่กาหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็ นเกณฑ์คุณภาพในรู ปของมิติคุณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตาม ครู อาจจะมีหลักฐานหรื อใช้วิธีการอื่น ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลัง เรี ยน การสัมภาษณ์ การศึกษาค้นคว้า การฝึ กปฏิบติขณะเรี ยนรู้ประกอบด้วยก็ได้ ั หลังจากที่ครู ได้กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนแล้ว ครู ควรกาหนด ้ ภาระงานและวิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตาม ผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้แล้ว ภาระงาน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่กาหนดให้นกเรี ยนปฏิบติ เพื่อให้บรรลุตาม ั ั จุดประสงค์การเรี ยนรู้/ผลการเรี ยนรู้ที่กาหนดไว้ ลักษณะสาคัญของงานจะต้องเป็ นงานที่สอดคล้อง กับชีวิตจริ งในชีวิตประจาวัน เป็ นเหตุการณ์จริ งมากกว่ากิจกรรมที่จาลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ ซึ่งเรี ยกว่า งานที่ปฏิบติเป็ นงานที่มีความหมายต่อนักเรี ยน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานและ ั กิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชดเจน สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้ /ตัวชี้วดชั้นปี /มาตรฐานการ ั ั เรี ยนรู้ที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ้ ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ตองการแล้ว ครู จะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่ องมือที่จะใช้ ้ วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนซึ่งมีอยูมากมายหลายประเภท ครู จะต้องเลือกให้ ่ เหมาะสมกับภาระงานที่นกเรี ยนปฏิบติ ั ั ตัวอย่างภาระงาน/ชิ้นงานเรื่ อง กาเนิดอาเซียนและสมาชิกอาเซียน รวมทั้งการกาหนดวิธีการ วัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนดังตาราง
  • 11. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  11
  • 12. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  12 ตัวอย่าง ภาระงาน/ชิ้นงาน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง กาเนิดอาเซียนและสมาชิกอาเซียน ผลการเรียนรู้ที่ 1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนในเรื่ องกาเนิดอาเซียน สมาชิกอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน คาขวัญของอาเซียน เพลงประจาอาเซียน ภาษา ของ อาเซียน ปฏิญญาอาเซียน วิสยทัศน์อาเซียน และกฎบัตรอาเซียน ั จุดประสงค์ การวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ อธิบายข้อมูล 1. กาเนิด สืบค้นข้อมูล 1. สืบค้น 1. แบบบันทึก 1. เกณฑ์คุณภาพ 1. ซักถามความรู้ 1. ภาพเกี่ยวกับ เกี่ยวกับ อาเซียน 2. เกี่ยวกับกาเนิด ข้อมูล ผลการ 4 ระดับ 2. ศึกษาและสืบค้น การประชุม อาเซียนใน สมาชิกอาเซียน อาเซียนและ สืบค้น 3. บันทึกสรุ ป อาเซียน เรื่ องต่าง ๆ ได้ สมาชิกอาเซียน 2. ตรวจ ข้อมูล สาระสาคัญ 2. แบบบันทึก ผลงาน 2. เกณฑ์คุณภาพ 4. ทากิจกรรมเกี่ยวกับ ผลการสืบค้น 2. แบบ 4 ระดับ กาเนิดอาเซียนและ ข้อมูล 3. ประเมิน ตรวจสอบ สมาชิกอาเซียน 3. แบบประเมิน พฤติกรรม ผลงาน 3. เกณฑ์คุณภาพ พฤติกรรมใน ในการ 3. แบบ 4 ระดับ การทางานเป็ น ทางาน ประเมิน รายบุคคล พฤติกรรม และเป็ นกลุ่ม การทางาน 4. หนังสือเรี ยน
  • 13. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  13 เป็ นราย รายวิชาเพิ่มเติม บุคคลและ อาเซียนศึกษา เป็ นกลุ่ม ม. 1-3
  • 14. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  14 การสร้ างความเข้ าใจที่คงทน ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรี ยนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่ 1. การอธิบาย ชี้แจง เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการอธิบายหรื อชี้แจงในสิ่งที่ ั เรี ยนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็ นระบบ 2. การแปลความและตีความ เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการแปลความและ ั ตีความได้อย่างมีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุ โปร่ ง 3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนาไปใช้ เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการนาสิ่งที่ ั ได้เรี ยนรู้ไปสู่การปฏิบติได้อย่างมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว ั 4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่ ั น่าเชื่อถือ เป็ นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่ 5. การให้ ความสาคัญและใส่ ใจในความรู้สึกของผู้อน เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออก ื่ ั โดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปิ ดเผย รับฟังความคิดเห็นของผูอื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิด ้ ความกระทบกระเทือนต่อผูอื่น ้ 6. การรู้จกตนเอง เป็ นความสามารถที่นกเรี ยนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถ ั ั ประมวลผลข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ปรับตัวได้ รู้จกใคร่ ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด ั นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะ สาคัญของนักเรี ยนหลังจากสาเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ ั ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึง ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ ความรู้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้
  • 15. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  15 มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ ที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวต ิ เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรี ยนรู้ดวยตนเอง การเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ ้ ร่ วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ั ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จก ั ั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ซ่ ึงจะส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น ้ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดาน้ ต่าง ๆ มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรี ยนรู้ การ ั สื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม นอกจากสมรรถนะสาคัญของนักเรี ยนหลังจากสาเร็ จการศึกษาตามหลักสูตรที่กล่าวแล้ว ข้างต้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพื่อให้สามารถอยูร่วมกับผูอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ ่ ้ พลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ ธารงไว้ ซึ่งความเป็ นชาติไทย ศรัทธา ยึดมันในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ผูที่รัก ่ ้ ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ จะแสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชู ความเป็ นชาติไทย ปฏิบติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบัน ั พระมหากษัตริ ย ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมันในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม ่ ความเป็ นจริ งต่อตนเองและผูอื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ ผูที่มีความซื่อสัตย์สุจริ ต จะประพฤติตรง ้ ้ ตามความเป็ นจริ งทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริ ง ความถูกต้องในการดาเนินชีวิต มีความ ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทาผิด 3. มีวนัย เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบ ิ ่ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม ผูที่มีวินยจะปฏิบติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ และ ้ ั ั ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคมเป็ นปกติวิสย ไม่ละเมิดสิทธิของผูอื่น ั ้ 4. ใฝ่ เรียนรู้ เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยน แสวงหา ความรู้จากแหล่งการเรี ยนรู้ท้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน ผูที่ใฝ่ เรี ยนรู้จะแสดงออกถึงความตั้งใจ ั ้ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรี ยนรู้ท้ง ั
  • 16. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  16 ภายในและภายนอกโรงเรี ยนอย่างสม่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุ ปเป็ นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ 5. อยู่อย่างพอเพียง เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยูในสังคมได้อย่างมีความสุข ผูที่อยู่ ้ ่ ้ อย่างพอเพียงจะดาเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยูร่วมกับผูอื่นด้วย ่ ้ ความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผูอื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้ องกันความ ้ เสี่ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 6. มุ่งมันในการทางาน เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทา ่ หน้าที่การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสาเร็ จตามเป้ าหมาย ผูที่มุ่งมันในการ ้ ่ ทางานจะแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเท ั กาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สาเร็ จลุล่วงตามเป้ าหมายที่กาหนดด้วยความ ั รับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน 7. รักความเป็ นไทย เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่ วมอนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ผูที่รักความเป็ นไทยจะมีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วน ้ ร่ วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 8. มีจตสาธารณะ ิ เป็ นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมหรื อสถานการณ์ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผอื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรื อร้น โดยไม่หวัง ู้ ผลตอบแทน ผูที่มีจิตสาธารณะจะเป็ นผูให้และช่วยเหลือผูอื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อทา ้ ้ ้ ประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผูที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ้ ด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบติเพื่อแก้ปัญหา หรื อร่ วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน ั โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ดังนั้นการกาหนดภาระงานให้นกเรี ยนปฏิบติ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่ องมือวัดและ ั ั ประเมินผลการเรี ยนรู้น้ น ครู ควรคานึงถึงความสามารถของนักเรี ยน 6 ประการตามแนวคิด ั Backward Design สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยนหลังจากสาเร็ จ การศึกษาตามหลักสูตรที่ได้กล่าวไว้ขางต้น เพื่อให้ภาระงาน วิธีการ และเครื่ องมือวัดและ ้ ประเมินผลการเรี ยนรู้ครอบคลุมสิ่งที่สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนอย่าง ้ แท้จริ ง
  • 17. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  17 นอกจากนี้การออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวคิด Backward Design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู จะต้องคานึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่ องมือวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพ ตรงกับสภาพจริ ง มีความยืดหยุน และสร้างความสบายใจแก่นกเรี ยนเป็ นสาคัญ ่ ั ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อครู มีความรู้ความเข้าใจที่ชดเจนเกี่ยวกับการกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ตองการให้เกิด ั ้ ขึ้นกับนักเรี ยน รวมทั้งกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรี ยนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานที่แสดงว่า นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว ขั้นต่อไปครู ควรนึกถึงกิจกรรมการเรี ยนรู้ ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่นกเรี ยน การที่ครู จะนึกถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะจัดให้นกเรี ยนได้น้ น ครู ควรตอบ ั ั ั คาถามสาคัญต่อไปนี้  ถ้าครู ตองการจะจัดการเรี ยนรู้ให้นกเรี ยนเกิดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริ ง ความคิดรวบยอด ้ ั หลักการ และทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จาเป็ นสาหรับนักเรี ยน ซึ่งจะทาให้นกเรี ยนเกิดผลลัพธ์ ั ปลายทางตามที่กาหนดไว้ รวมทั้งเกิดเป็ นความเข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครู สามารถใช้วิธีการง่าย ๆ อะไรบ้าง  กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จะช่วยเป็ นสื่อนาให้นกเรี ยนเกิดความรู้และทักษะที่จาเป็ นมีอะไรบ้าง ั  สื่อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมและดีที่สุดซึ่งจะทาให้นกเรี ยนบรรลุตามมาตรฐาน ั ของหลักสูตรมีอะไรบ้าง  กิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อนและควรจัดกิจกรรม ใดหลัง  กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยน หรื อไม่ เพราะเหตุใด การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เพือให้นกเรี ยนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิด Backward ่ ั Design นั้น วิกกินส์และแมกไทได้เสนอแนะให้ครู เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้แนวคิดของ WHERETO (ไปที่ไหน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ W แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ที่จดให้น้ นจะต้องช่วยให้นกเรี ยนรู้ว่าหน่วยการเรี ยนรู้น้ ีจะ ั ั ั ดาเนินไปในทิศทางใด (Where) และสิ่งที่คาดหวังคืออะไร (What) มีอะไรบ้าง ช่วยให้ครู ทราบว่า นักเรี ยนมีความรู้พ้ืนฐานและความสนใจอะไรบ้าง H แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรดึงดูดความสนใจของนักเรี ยนทุกคน (Hook) ทาให้นกเรี ยน ั เกิดความสนใจในสิ่งที่จะเรี ยนรู้ (Hold) และใช้สิ่งที่นกเรี ยนสนใจเป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ ั
  • 18. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  18 E แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรส่งเสริ มและจัดให้ (Equip) นักเรี ยนได้มีประสบการณ์ (Experience) ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็นต่าง ๆ ที่ น่าสนใจ R แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise) ั ความเข้าใจในความรู้และงานที่ปฏิบติ ั E แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่งที่ ั เกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู้ T แทน กิจกรรมการเรี ยนรู้ควรออกแบบ (Tailored) สาหรับนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลเพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรี ยน O แทน การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ให้เป็ นระบบ (Organized) ตามลาดับการเรี ยนรู้ของ นักเรี ยน และกระตุนให้นกเรี ยนมีส่วนร่ วมในการสร้างองค์ความรู้ต้งแต่เริ่ มแรกและตลอดไป ทั้งนี้ ้ ั ั เพื่อการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิผล อย่างไรก็ตาม มีขอสังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่มีการกาหนดวิธีการจัดการเรี ยนรู้ ้ การลาดับบทเรี ยน รวมทั้งสื่อและแหล่งการเรี ยนรู้ที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสาเร็ จได้ก็ ต่อเมื่อครู ได้มีการกาหนดผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่า นักเรี ยนมีผลการเรี ยนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริ งแล้ว การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้เป็ นเพียงสื่อที่จะ นาไปสู่เป้ าหมายความสาเร็ จที่ตองการเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ีถาครู มีเป้ าหมายที่ชดเจนก็จะช่วยทาให้การ ้ ้ ั วางแผนการจัดการเรี ยนรู้และการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้สามารถทาให้นกเรี ยนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่ ั กาหนดไว้ได้ โดยสรุ ปจึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้เป็ นการค้นหาสื่อการเรี ยนรู้ แหล่งการเรี ยนรู้ และกิจกรรมการ เรี ยนรู้ที่สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรี ยน กิจกรรมที่กาหนดขึ้นควรเป็ นกิจกรรมที่จะส่งเสริ มให้ นักเรี ยนสามารถสร้างและสรุ ปเป็ นความคิดรวบยอดและหลักการที่สาคัญของสาระที่เรี ยนรู้ ก่อให้เกิดความเข้าใจที่คงทน รวมทั้งความรู้สึกและค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ กับทักษะความชานาญ ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
  • 19. คู่มือครู แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม อาเซี ยนศึกษา ม. 1­3  19 (Backward Design Template) หน่ วยการเรียนรู้ที่ ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้ เกิดขึนกับนักเรียน ้ ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ความเข้ าใจที่คงทนของนักเรียน คาถามสาคัญที่ทาให้ เกิดความเข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะเข้ าใจว่า… 1. .......................................................................... 1. .................................................................................... 2. .......................................................................... 2. .................................................................................... ความรู้ของนักเรียนที่นาไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นาไปสู่ ความเข้ าใจที่คงทน นักเรียนจะรู้ว่า… นักเรียนจะสามารถ... 1. .......................................................................... 1. .................................................................................... 2. .......................................................................... 2. .................................................................................... 3. .......................................................................... 3. .................................................................................... ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้ อย่างแท้ จริง 1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ 1.1 ................................................................................................................................................................. 1.2 ................................................................................................................................................................. 2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ 2.1 วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้ 2.2 เครื่ องมือประเมินผลการเรี ยนรู้ 1) ............................................................ 1) ...................................................................... 2) ............................................................ 2) ...................................................................... 3. สิ่งที่ม่งประเมิน ุ 3.1 ............................................................................................................................................................... 3.2 ............................................................................................................................................................... 3.3 ............................................................................................................................................................... ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้