SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 33
Baixar para ler offline
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
เป็นรายบุคคล โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โดย
ครูณัฐพล บัวอุไร
ตาแหน่ง ครู คศ.1
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บทคัดย่อ
เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผู้วิจัย นายณัฐพล บัวอุไร
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
ปีการศึกษา 2556 โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพ
ส่วนตัวด้านต่างๆ ของนักเรียนโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากประชากร คือ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จานวน 42 คน โดยใช้เครื่องมือ ระเบียนสะสม สมุดคู่มือครูที่ปรึกษา และ
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ผลการวิจัยพบว่านักเรียนส่วนใหญ่พักอยู่กับ พ่อแม่ และความสัมพันธ์ของบุคคลในบ้านเป็น
ลักษณะอบอุ่น นักเรียน ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีเวลาให้พอสมควร ดูแลเอาใจใส่นักเรียน ด้าน
การให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความ
ทุกข์จากนักเรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ทา ให้คาแนะนาสม่าเสมอ ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของ
บุคคลในบ้านของนักเรียน ส่วนใหญ่ 1-2 ชั่วโมง ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน
ส่วนใหญ่ในวันสาคัญทางศาสนา ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน
ส่วนใหญ่มีความรู้เพียงพอและช่วยเหลือได้และบุคคลในบ้านสามารถให้ความช่วยมีความรู้เพียงพอและ
ช่วยเหลือได้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษการงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านการใช้เวลา
ในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลา1-2
ชั่วโมง ด้านการใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อน
คลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย นักเรียนใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้อยเกินไป/เหมาะสม/ไม่
เหมาะสม) เหมาะสม ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละ
วัน โดยเฉลี่ย พบว่า นักเรียนใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้อยเกินไปเหมาะสม/ไม่เหมาะสม)
เหมาะสมด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่เข้านอนเวลา 4-5 ทุ่ม ด้านค่าใช้จ่าย
ประจาวันในโรงเรียนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่ได้รับเงินค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ (เพียงพอ/ไม่เพียงพอ)
และนักเรียนส่วนใหญ่ได้เก็บออมบ้าง ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน พบว่าส่วนใหญ่
มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นได้ และมีจานวน 7 คนที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน
ด้านความชอบในการเล่นกีฬาพบว่านักเรียนชอบเล่นแบตมินตัน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา
คะแนนได้ดีคือพบว่าส่วนใหญ่เป็นวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยเข้าใจ
และทาคะแนนได้ไม่ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ความต้องการในการประกอบอาชีพในอนาคตพบว่านักเรียน
ส่วนใหญ่ ต้องการประกอบอาชีพค้านการบริหารธุรกิจ บัญชี กิจการค้าขาย ด้านลีลาการเรียนรู้พบว่า
นักเรียนส่วนใหญ่มีลีลาการเรียนรู้แบบพึ่งพา และมีนักเรียนจานวนหนึ่งที่มีลีลาการเรียนรู้แบบพึ่งพา
(แบบพึ่งผู้อื่น) ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
แนวคิดและเหตุผล 1
คาถามวิจัย 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1
ขอบเขตของการวิจัย 1
นิยามคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 1
วิธีการดาเนินการวิจัย 2
ประโยชน์ของการวิจัย 2
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2
สรุปผลการวิจัย 14
อภิปรายผล 18
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 19
บทเรียนความคิดใหม่ที่ได้จากการวิจัย 19
บรรณานุกรม 20
ภาคผนวก 21
- ระเบียนสะสม
- แบบสรุปข้อมูลจากระเบียนสะสม
- แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- รายชื่อนักเรียนในชั้นเรียนที่ทาวิจัย
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลด้านการพักอาศัย 3
ตารางที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลใน
บ้าน 3
ตารางที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของ
ผู้ปกครอง 3
ตารางที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการ
ใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จาก
นักเรียน 4
ตารางที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระ
งานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน 4
ตารางที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวน
การเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ 5
ตารางที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง
อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละ
วันโดยเฉลี่ย 5
ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทาง
อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 6
ตารางที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน 6
ตารางที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวัน
ในโรงเรียนของนักเรียน 6
ตารางที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการเก็บออมของนักเรียน 7
ตารางที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคล
ในบ้านของนักเรียน 7
ตารางที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของ
บุคคลในบ้าน 8
ตารางที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้าน
ของนักเรียน 8
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
อาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาใน
การทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน 9
ตารางที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน
อาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการ
ทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน 9
ตารางที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่
นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้
คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน 10
ตารางที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่
นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งาน
เกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทา
ภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน 10
ตารางที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความชอบในการเล่นกีฬา 11
ตารางที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา
คะแนนได้ดี 11
ตารางที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทา
คะแนนได้ไม่ดี 12
ตารางที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความต้องการในการประกอบอาชีพใน
อนาคต 12
ตารางที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน 13
1
แนวคิดและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545
มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และ
ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องดาเนินการจัด
เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา
ความต้องการ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน จาเป็นที่ครูต้องมีเทคนิควิธีการในการรวบรวมข้อมูล
และสามารถเลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมเพื่อการรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ตลอดจนสามารถนาข้อมูลที่ได้
จากการใช้เครื่องมือต่างๆมาวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนต่อไป
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นครูจึงทาการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ผู้เรียนที่รับผิดชอบเพื่อนาข้อมูลที่ได้ไป
วางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
คำถำมวิจัย
1. นักเรียนแต่ละคนมีลักษณะสาคัญอย่างไร
2. นักเรียนแต่ละคนมีจุดน่าสนใจที่ควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องอะไรบ้าง
3. ลักษณะสภาพแวดล้อมที่บ้านของนักเรียนมีส่วนส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างไรบ้าง
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวด้านต่างๆ ของนักเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ลาลูกกา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ขอบเขตของกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ที่อยู่ในความดูแลของผู้วิจัย
จานวน 42 คน
นิยำมคำศัพท์ที่ใช้ในกำรวิจัย
1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ที่เรียนในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2556
2. สถานภาพส่วนตัว หมายถึง ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน สภาพการใช้ชีวิตประจาวันใน
บ้าน ตลอดจนความสัมพันธ์ของบุคคลในบ้าน
2
วิธีกำรดำเนินกำรวิจัย
1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2556 จานวน 42 คน
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1 ระเบียนสะสม
2.2 แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
3. การสร้างเครื่องมือวิจัย
ผู้รายงานใช้เครื่องมือในการวิจัยซึ่งสร้าง โดยงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ
งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4.1 ผู้รายงานให้นักเรียนกรอกข้อมูลสถานภาพส่วนตัวในระเบียนสะสม
4.2 แจกแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้นักเรียนทา
4.3 ศึกษาข้อมูลอื่นๆ ประกอบ
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้รายงานดาเนินการดังนี้นาระเบียนสะสม และแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลมา
วิเคราะห์รายด้าน โดยใช้ค่าความถี่และร้อยละ
ประโยชน์ของกำรวิจัย
1. ทาให้ครูประจาวิชารู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
2. นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผู้รายงานได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยการแจกแจงความถี่
และหาค่าร้อยละ เสนอเป็นตารางประกอบคาบรรยาย แสดงดังตารางที่ 1 – ตารางที่ 23
3
ตำรำงที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัย
รำยกำร : ปัจจุบันนักเรียนอำศัยอยู่กับ ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 พ่อ/แม่ (และพี่น้อง) 32 76.19 1
 ลุง/ป้า/น้า/อา 1 2.38 3
 ปู่/ย่า/ตา/ยาย 1 2.38 3
 พ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆ 8 19.05 2
 อยู่หอพัก/บ้านพักกับเพื่อน - - -
 อื่นๆ - - -
จากตารางที่ 1 การศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ และพี่น้องจานวน 32 คน เป็นร้อยละ 76.19 ตาม
ด้วยการพักอาศัยอยู่กับพ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ19.05 และพักอาศัย
อยู่กับปู่/ย่า/ตา/ยาย และลุง/ป้า/น้า/อา จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38ตามลาดับ
ตำรำงที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ของ
นักเรียนกับบุคคลในบ้าน
รำยกำร : ควำมสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้ำน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ 35 83.33 1
 เฉยๆ พูดคุยกันบ้าง 5 11.90 2
 ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ 1 2.38 3
 ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ่อยครั้ง 1 2.38 3
จากตารางที่ 2 พบว่าความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 กับบุคคลในบ้าน ส่วน
ใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ จานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง จานวน 5
คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ และขัดแย้ง/ทะเลาะกัน
บ่อยครั้ง จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแลเอาใจ
ใส่นักเรียนของผู้ปกครอง
รำยกำร : ผู้ปกครองมีเวลำในกำรดูแลเอำใจใส่นักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 มีเวลามาก 12 28.57 3
 มีเวลาให้พอสมควร 15 35.71 1
 ไม่ค่อยมีเวลา 14 33.33 2
 ไม่มีเวลาเลย 1 2.38 4
4
จากตารางที่ 3 พบว่าด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีเวลาให้
พอสมควร จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยไม่ค่อยมีเวลา จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ
33.33 และมีเวลามาก จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้คาแนะนา ให้
คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน
รำยกำร : ผู้ปกครองให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษำในกำรใช้
ชีวิต กำรปรับตัว กำรแก้ปัญหำต่ำงๆ หรือมีส่วนร่วมรับ
ฟังควำมทุกข์จำกนักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 ให้คาแนะนาฯเสมอๆ 15 35.71 2
 ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย 17 40.48 1
 ให้คาแนะนาบางครั้ง 9 21.43 3
 ไม่ค่อยให้คาแนะนา 1 2.38 4
 ไม่เคยเลย - - -
จากตารางที่ 4 พบว่าด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การ
แก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯค่อนข้าง
บ่อย จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯเสมอๆ จานวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 35.71 และผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาบางครั้ง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43
ตามลาดับ
ตำรำงที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาใน
การทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน
รำยกำร : ผู้ให้คำปรึกษำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระ
งำนต่ำงๆของนักเรียนที่บ้ำนคือ
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 พ่อ/แม่และพี่น้อง 10 23.81 2
 ลุง/ป้า/น้า/อา - - -
 ปู่/ย่า/ตา/ยาย - - -
 พ่อ/แม่และญาติๆ 8 19.05 4
 ไม่มีใครเลย 15 35.71 1
 อื่นๆ 9 21.43 3
จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านส่วน
ใหญ่ไม่มีใครเลย จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน 10 คน คิด
เป็นร้อยละ 23.81 และอื่นๆ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ (และเป็นที่น่าสนใจคือมี
5
จานวนนักเรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของ
นักเรียนที่บ้านเลย)
ตำรำงที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาในการศึกษา
ค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ
รำยกำร : นักเรียนใช้เวลำอ่ำนหนังสือเรียน/
ทำกำรบ้ำน/รำยงำน/ภำระงำน/ชิ้นงำน ในแต่
ละวันโดยเฉลี่ย
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 16 42.11 2
 1 -2 ชั่วโมง 23 54.76 1
 2-3 ชั่วโมง 3 7.89 3
 มากกว่า 3 ชั่วโมง - - -
จากตารางที่ 6 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/
รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ
54.76 ตามด้วยจานวนนักเรียน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงในการอ่าน
หนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.89 ที่ใช้
เวลา 2-3 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน
ตำรำงที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้เวลาดู
โทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดย
เฉลี่ย
รำยกำร : นักเรียนใช้เวลำดูโทรทัศน์ ฟังเพลง
อ่ำนหนังสือกำร์ตูน นิยำย หรือหนังสืออื่นเพื่อ
ควำมบันเทิงผ่อนคลำยในแต่ละวันโดยเฉลี่ย
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 5 11.90 4
 1 -2 ชั่วโมง 19 45.24 1
 2-3 ชั่วโมง 8 19.05 3
 มากกว่า 3 ชั่วโมง 10 23.81 2
จากตารางที่ 7 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน
นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่จานวน 19
คน คิดเป็นร้อยละ 45.24 ตามด้วยจานวนนักเรียน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 ที่ใช้เวลามากกว่า 3
ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย
และมีนักเรียน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่าน
หนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวัน
6
ตำรำงที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาสืบค้น
ข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย
รำยกำร : นักเรียนใช้เวลำสืบค้นข้อมูล พูดคุยทำง
อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดย
เฉลี่ย
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 9 21.43 2
 1 -2 ชั่วโมง 25 59.52 1
 2-3 ชั่วโมง 5 11.90 3
 มากกว่า 3 ชั่วโมง 3 7.14 4
จากตารางที่ 8 พบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่
ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมงเป็นจานวน 25 คน คิด
เป็นร้อยละ 59.52 ตามด้วยใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และใช้เวลา
2-3 ชั่วโมง ชั่วโมงเป็นจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้า
นอน
รำยกำร : ช่วงเวลำที่นักเรียนเข้ำนอน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 2-3 ทุ่ม 2 4.76 5
 3 - 4 ทุ่ม 20 47.62 1
 4 - 5 ทุ่ม 10 23.81 2
 5 ทุ่ม- เที่ยงคืน 7 16.67 3
 หลังเที่ยงคืนไปแล้ว 3 7.14 4
จากตารางที่ 9 พบว่าช่วงเวลาที่เข้านอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 อยู่ที่เวลา 3-4 ทุ่ม
เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ตามด้วยช่วงเวลา 4-5 เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ
23.81 และช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงเที่ยงคืนเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความพอเพียงของ
ค่าใช้จ่ายประจาวันในโรงเรียนของนักเรียน
รำยกำร : ควำมพอเพียงของค่ำใช้จ่ำยประจำวัน
ในโรงเรียนของนักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 เพียงพอ 40 95.24 1
 ไม่เพียงพอ 2 4.76 2
7
จากตารางที่ 10 พบว่านักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองเป็นค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ
จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 95.24 ไม่เพียงพอเป็นจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76
ตำรำงที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการเก็บออมของ
นักเรียน
รำยกำร : กำรเก็บออมเงินจำกค่ำอำหำร/ค่ำขนม
ประจำวัน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 เก็บออมเสมอ 10 23.81 3
 เก็บออมบ้าง 15 35.71 2
 ไม่เคยเก็บออมเลย 17 40.48 1
จากตารางที่ 11 พบว่านักเรียนไม่เคยเก็บออมเงินจากค่าอาหาร/ค่าขนมประจาวัน เป็นจานวน
17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ได้ เก็บออมบ้าง เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และเก็บออม
เสมอ เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81
ตำรำงที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความถี่ของการอ่าน
หนังสือของบุคคลในบ้านของนักเรียน
รำยกำร : ควำมถี่ของกำรอ่ำนหนังสือของบุคคลใน
บ้ำนของนักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 เสมอๆ 2 4.76 4
 ค่อนข้างบ่อย 8 19.05 3
 บางครั้ง 21 50.00 1
 นานๆครั้ง 11 26.19 2
 ไม่เคยเลย - - -
จากตารางที่ 12 พบว่าบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่อ่านหนังสือ
บางครั้งเป็นจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ตามด้วยอ่านหนังสือนานๆ ครั้ง เป็นจานวน 11 คน
คิดเป็นร้อย 26.19 และที่อ่านหนังสือค่อนข้างบ่อย เป็นจานวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ
8
ตำรำงที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการทากิจกรรมทาง
ศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน
รำยกำร : นักเรียนและบุคคลในบ้ำนไปร่วมกิจกรรม
ทำงศำสนำมำกน้อยเพียงใด
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 ทุกวันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษ 9 21.43 3
 ส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนา 12 28.57 2
 ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็นบางครั้ง 15 35.71 1
 นานๆครั้งจะได้ไป 6 14.29 4
 ไม่เคยเลย - - 5
จากตารางที่ 13 พบว่าการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็น
บางครั้ง จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามด้วยทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันทุกวันสาคัญทาง
ศาสนาและโอกาสพิเศษ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน นานๆ
ครั้ง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน
รำยกำร : ด้ำนอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้ำน
ของนักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถ
สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้
9 21.43
2
 มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์แต่ไม่สามารถ
สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้
6 14.29
4
 มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่
มีเครื่องพิมพ์
15 35.71
1
 มีเฉพาะคอมพิวเตอร์ 5 11.90 5
 ไม่มีคอมพิวเตอร์ 7 16.67 3
จากตารางที่ 14 พบว่าที่บ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ
35.71 ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่มีเครื่องพิมพ์ ตามด้วยจานวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.43 มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ และจานวน 7
คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ไม่มีคอมพิวเตอร์
9
ตำรำงที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ใน
บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/
ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน
รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียน
อำศัยอยู่มีควำมรู้ด้ำนภำษำอังกฤษในกำรสอน/
ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระ
งำนวิชำภำษำอังกฤษให้แก่นักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 1 2.38 4
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 9 21.43 3
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 19 45.24 1
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 13 30.95 2
จากตารางที่ 15 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษ
ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.24
รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย เป็นจานวน 13
คน คิดเป็นร้อยละ 30.95 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้
เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/
ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทา
การบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน
รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียน
อำศัยอยู่มีควำมรู้ด้ำนคณิตศำสตร์ในกำรสอน/
ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระงำน
วิชำคณิตศำสตร์ให้แก่นักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 8 19.05 3
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 15 35.71 2
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 17 40.48 1
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 2 4.76 4
จากตารางที่ 16 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ใน
การสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48
ตามด้วยมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน .15 คน คิด
เป็นร้อยละ 35.71 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี
10
เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับและเป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียน 2 คน คิดเป็นร้อยละ
4.76 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย
ตำรำงที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนา
ในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน
รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียน
อำศัยอยู่มีควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์ในกำรสอน/
ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระงำน
วิชำวิทยำศำสตร์ให้แก่นักเรียน
ควำม
ถี่
ร้อยละ อันดับ
 มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 3 7.14 4
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 15 35.71 2
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 20 47.62 1
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 4 9.52 3
จากตารางที่ 17 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ใน
การสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62
รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 35.71 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย
เป็นจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.52 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/
ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งาน
คอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่
นักเรียน
รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียนอำศัย
อยู่มีควำมรู้และประสบกำรณ์ด้ำนกำรทำอำหำร งำน
ฝีมือ งำนเกษตร งำนช่ำง งำนคอมพิวเตอร์ ในกำร
ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำภำระงำนวิชำกำร
งำนอำชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 18 42.86 1
 มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 17 40.48 2
 พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 7 16.67 3
 ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย - - -
11
จากตารางที่ 18 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์
ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการ
ทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้มาก
และช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่
นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 และมีบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67
ตามลาดับ
ตำรำงที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความชอบในการ
เล่นกีฬา
รำยกำร : ควำมชอบในกำรเล่นกีฬำ ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 ฟุตบอล 11 26.19 2
 บาสเกตบอล 2 4.76 5
 วอลเล่ย์บอล 7 16.67 3
 เทเบิลเทนนิส 5 11.90 4
 เทนนิส - - -
 มวย - - -
 เปตอง - - -
 แบตมินตัน 15 35.71 1
 ตะกร้อ 2 4.76 5
 อื่นๆ ระบุ............................ - - -
จากตารางที่ 19 พบว่า ความชอบในการเล่นกีฬาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่
ชอบเล่นแบตมินตันเป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยชอบเล่นฟุตบอล เป็นจานวน 11
คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 และชอบเล่นวอลเล่ย์บอลเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้
ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดี
รำยกำร : วิชำที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้ำใจและทำ
คะแนนได้ดี
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 คณิตศาสตร์ 5 11.90 4
 วิทยาศาสตร์ 2 4.76 6
 ภาษาไทย 5 11.90 4
 ภาษาอังกฤษ 3 7.14 5
 สังคม 8 19.05 2
 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 12 28.57 1
12
จากตารางที่ 20 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ได้เข้าใจและทา
คะแนนได้ดีคือวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามด้วยวิชา
สังคมเป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 และวิชาพละ สุขศึกษา เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อย
ละ 16.67 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนไม่
ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดี
จากตารางที่ 21 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ไม่ค่อยเข้าใจและทา
คะแนนได้ไม่ดีคือวิชาคณิตศาสตร์ เป็นจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 38.10 ตามด้วยวิชาภาษาอังกฤษ
เป็นจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ
28.57 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความต้องการในการ
ประกอบอาชีพในอนาคต
พละ สุขศึกษา 7 16.67 3
รำยกำร : วิชำที่นักเรียนไม่ค่อยเข้ำใจและทำ
คะแนนได้ไม่ดี
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 คณิตศาสตร์ 16 38.10 1
 วิทยาศาสตร์ 12 28.57 3
 ภาษาไทย - - -
 ภาษาอังกฤษ 14 33.33 2
 สังคม - - -
 การงานอาชีพและเทคโนโลยี - - -
 พละ สุขศึกษา - - -
รำยกำร : ควำมต้องกำรในกำรประกอบอำชีพใน
อนำคต
ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
 แพทย์ / เภสัช / ทันตแพทย์ / พยาบาล /
จิตแพทย์
 วิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์ 6 14.29 3
 บุคลากรด้านกฎหมาย/การเมือง/การปกครอง
ทหาร ตารวจ เป็นต้น
2 4.76 6
 บุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงาน
ราชการต่างๆ เป็นต้น
7 16.67 2
 บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการ 11 26.19 1
13
จากตารางที่ 22 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพ
บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการค้าขาย เป็นต้น เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ
26.19 ตามด้วยอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงานราชการต่างๆ และ
บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบโปรแกรม เป็นต้น เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ
16.67 และอาชีพเกี่ยวกับวิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์ เป็นจานวน 6 คน คิดเป็นร้อย
ละ 14.29 ตามลาดับ
ตำรำงที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านลีลาการเรียนรู้ของ
นักเรียน
รำยกำร : ลีลำกำรเรียนรู้ของนักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ
แบบที่ 1 แบบอิสระ (พึ่งตนเอง) 2 4.76 5
แบบที่ 2 แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลี่ยง) 2 4.76 5
แบบที่ 3 แบบร่วมมือ (แบบพึ่งกลุ่ม) 15 35.71 1
แบบที่ 4 แบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น) 12 28.57 2
แบบที่ 5 แบบแข่งขัน 3 7.14 4
แบบที่ 6 แบบมีส่วนร่วม 8 19.05 3
จากตารางที่ 23 พบว่าลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เป็นแบบ
ร่วมมือจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยแบบพึ่งพา จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57
และแบบมีส่วนร่วม 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ
ค้าขาย เป็นต้น
 บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบ
โปรแกรม เป็นต้น
7 16.67 2
 บุคลากรด้านบันเทิง /สื่อสารมวลชน /
สานักพิมพ์ นักแปล นักเขียน เป็นต้น
3 7.14 5
 บุคลากรด้านการบริการ เช่น พนักงานต้อนรับ
โอเปอเรเตอร์ ไกด์ เป็นต้น
2 4.76 6
 อื่นๆ ระบุ 4 9.52 4
14
สรุปผลกำรวิจัย
1. จากการศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/8 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ และพี่น้องจานวน 32 คน เป็นร้อยละ 76.19 ตามด้วยการพักอาศัย
อยู่กับพ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ19.05 และพักอาศัยอยู่กับปู่/ย่า/ตา/
ยาย และลุง/ป้า/น้า/อา จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38ตามลาดับ
2. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน พบว่า
ความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 กับบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ
จานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90
และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ่อยครั้ง จานวน 1 คน คิดเป็น
ร้อยละ 2.38 ตามลาดับ
3. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง พบว่าด้าน
เวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีเวลาให้พอสมควร จานวน 15 คน คิดเป็นร้อย
ละ 35.71 ตามด้วยไม่ค่อยมีเวลา จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และมีเวลามาก จานวน 12 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ
4. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การ
แก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน พบว่าด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาใน
การใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่
ผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้
คาแนะนาฯเสมอๆ จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาบางครั้ง จานวน
9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43ตามลาดับ
5. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียน
ที่บ้าน พบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านส่วนใหญ่ไม่มีใครเลย
จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81
และอื่นๆ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ (และเป็นที่น่าสนใจคือมีจานวนนักเรียน 15
คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านเลย)
6. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทา
ภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/
รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ
54.76 ตามด้วยจานวนนักเรียน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงในการอ่าน
หนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.89 ที่ใช้
เวลา 2-3 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน
15
7. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน
นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/8 ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวัน
โดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่จานวน 19คน คิดเป็นร้อยละ 45.24 ตามด้วยจานวนนักเรียน 10 คน
คิดเป็นร้อยละ 23.81 ที่ใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย
หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า
2 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย
ในแต่ละวัน
8. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุย
โทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย พบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์
ในแต่ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมงเป็นจานวน 25 คน
คิดเป็นร้อยละ 59.52 ตามด้วยใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และใช้
เวลา 2-3 ชั่วโมง ชั่วโมงเป็นจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 ตามลาดับ
9. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน พบว่าช่วงเวลาที่เข้านอนของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 อยู่ที่เวลา 3-4 ทุ่ม เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ตามด้วย
ช่วงเวลา 4-5 เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 และช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงเที่ยงคืนเป็นจานวน 7 คน
คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ
10. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวันในโรงเรียนของ
นักเรียน พบว่านักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองเป็นค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ จานวน 40 คน คิดเป็น
ร้อยละ 95.24 ไม่เพียงพอเป็นจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76
11. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการเก็บออมของนักเรียน พบว่านักเรียนไม่เคยเก็บออมเงิน
จากค่าอาหาร/ค่าขนมประจาวัน เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ได้ เก็บออมบ้าง เป็นจานวน
15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และเก็บออมเสมอ เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81
12. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคลในบ้านของนักเรียน
พบว่าบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่อ่านหนังสือ บางครั้งเป็นจานวน 21 คน
คิดเป็นร้อยละ 50.00 ตามด้วยอ่านหนังสือนานๆ ครั้ง เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อย 26.19 และที่อ่าน
หนังสือค่อนข้างบ่อย เป็นจานวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ
13. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน
พบว่าการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่
ทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็นบางครั้ง จานวน 15 คน คิดเป็น
ร้อยละ 28.57 ตามด้วยทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันทุกวันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษ จานวน 9
16
คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน นานๆครั้ง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ
14.29 ตามลาดับ
14. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน พบว่าที่
บ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ35.71 ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์
สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่มีเครื่องพิมพ์ ตามด้วยจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 มี
คอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ และจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ
16.67 ไม่มีคอมพิวเตอร์
15. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน
ภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่
นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/
ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.24รองลงมาคือมีบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ
30.95 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ
16. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่
นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/
ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48ตามด้วยมีบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน .15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71
และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 8 คน
คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับและเป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 ที่ตอบว่าไม่มี
ใครพอจะช่วยเหลือได้เลย
17. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่
นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/
ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62รองลงมาคือมีบุคคลใน
ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71
และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลยเป็นจานวน 4 คน คิด
เป็นร้อยละ 9.52 ตามลาดับ
17
18. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และ
ประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้
คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/
ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งาน
คอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 18 คน คิดเป็นร้อย
ละ 42.86 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็น
จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่พอช่วยเหลือ
ได้เล็กน้อย เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67ตามลาดับ
19. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความชอบในการเล่นกีฬา พบว่า ความชอบในการเล่นกีฬา
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ชอบเล่นแบตมินตันเป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ
35.71 ตามด้วยชอบเล่นฟุตบอล เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 และชอบเล่นวอลเล่ย์บอล
เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ
20. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดี พบว่า
วิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดีคือวิชาการงานอาชีพ
และเทคโนโลยี เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามด้วยวิชาสังคมเป็นจานวน 8 คน คิดเป็น
ร้อยละ 19.05 และวิชาพละ สุขศึกษา เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ
21. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดี พบว่า
วิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดีคือวิชา
คณิตศาสตร์ เป็นจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 38.10 ตามด้วยวิชาภาษาอังกฤษ เป็นจานวน 14 คน
คิดเป็นร้อยละ 33.33 และวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ
22. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความต้องการในการประกอบอาชีพในอนาคต พบว่า
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพบุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี
/ กิจการค้าขาย เป็นต้น เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 ตามด้วยอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้าน
สังคมเช่นครู พนักงานในสานักงานราชการต่างๆ และบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบ
โปรแกรม เป็นต้น เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และอาชีพเกี่ยวกับวิศวกร / มัณฑนากร /
สถาปนิก / ดีไซเนอร์ เป็นจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ตามลาดับ
23. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่าลีลาการเรียนรู้ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เป็นแบบร่วมมือจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วย
แบบพึ่งพา จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 และแบบมีส่วนร่วม 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05
ตามลาดับ
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมSophinyaDara
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2Sircom Smarnbua
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลักการนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลักbunpa
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 

Mais procurados (20)

ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลักการนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 

Destaque

แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDKruKaiNui
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงาน2
รายงาน2รายงาน2
รายงาน2Wave Smurfs
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Word2007 moce
Word2007 moceWord2007 moce
Word2007 moce520147141
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...Nattapon
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
คู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯ
คู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯคู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯ
คู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯNick Plus
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4jackblueno
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-LearningNECTEC, NSTDA
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 

Destaque (20)

แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงาน2
รายงาน2รายงาน2
รายงาน2
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Word2007 moce
Word2007 moceWord2007 moce
Word2007 moce
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
คู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯ
คู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯคู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯ
คู่มือการใช้งานอัตลักษณ์องค์กร กรุงเทพมหานครฯ
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4
แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล A4
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 

Semelhante a รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8

แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้าMuaymie Cld
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าMuaymie Cld
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57Aphitsada Phothiklang
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)yosita tewapitak
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้Noir Black
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)thestorygu
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60kroodarunee samerpak
 
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"wasan
 

Semelhante a รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8 (20)

แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วจ้า
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
 
เผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานเผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงาน
 
3บทคัดย่อ
3บทคัดย่อ3บทคัดย่อ
3บทคัดย่อ
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
๒.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๑ มาตรฐาน
 
Phanuwich
PhanuwichPhanuwich
Phanuwich
 
Abstrac supun 2555
Abstrac supun 2555Abstrac supun 2555
Abstrac supun 2555
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
211 578-1-pb
211 578-1-pb211 578-1-pb
211 578-1-pb
 
Focus2
Focus2Focus2
Focus2
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
 

Mais de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มNattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นNattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555Nattapon
 

Mais de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 

รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8

  • 1. รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 เป็นรายบุคคล โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย ครูณัฐพล บัวอุไร ตาแหน่ง ครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. บทคัดย่อ เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้วิจัย นายณัฐพล บัวอุไร การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2556 โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพ ส่วนตัวด้านต่างๆ ของนักเรียนโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การศึกษาครั้งนี้ศึกษาจากประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จานวน 42 คน โดยใช้เครื่องมือ ระเบียนสะสม สมุดคู่มือครูที่ปรึกษา และ แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ผลการวิจัยพบว่านักเรียนส่วนใหญ่พักอยู่กับ พ่อแม่ และความสัมพันธ์ของบุคคลในบ้านเป็น ลักษณะอบอุ่น นักเรียน ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีเวลาให้พอสมควร ดูแลเอาใจใส่นักเรียน ด้าน การให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความ ทุกข์จากนักเรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ทา ให้คาแนะนาสม่าเสมอ ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของ บุคคลในบ้านของนักเรียน ส่วนใหญ่ 1-2 ชั่วโมง ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่ในวันสาคัญทางศาสนา ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน ส่วนใหญ่มีความรู้เพียงพอและช่วยเหลือได้และบุคคลในบ้านสามารถให้ความช่วยมีความรู้เพียงพอและ ช่วยเหลือได้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษการงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านการใช้เวลา ในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนส่วนใหญ่ใช้เวลา1-2 ชั่วโมง ด้านการใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อน คลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย นักเรียนใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้อยเกินไป/เหมาะสม/ไม่ เหมาะสม) เหมาะสม ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละ วัน โดยเฉลี่ย พบว่า นักเรียนใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง ซึ่ง (มากเกินไป/น้อยเกินไปเหมาะสม/ไม่เหมาะสม) เหมาะสมด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่เข้านอนเวลา 4-5 ทุ่ม ด้านค่าใช้จ่าย ประจาวันในโรงเรียนพบว่านักเรียนส่วนใหญ่ได้รับเงินค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ (เพียงพอ/ไม่เพียงพอ) และนักเรียนส่วนใหญ่ได้เก็บออมบ้าง ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน พบว่าส่วนใหญ่ มีคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นได้ และมีจานวน 7 คนที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน ด้านความชอบในการเล่นกีฬาพบว่านักเรียนชอบเล่นแบตมินตัน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา คะแนนได้ดีคือพบว่าส่วนใหญ่เป็นวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยเข้าใจ และทาคะแนนได้ไม่ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ความต้องการในการประกอบอาชีพในอนาคตพบว่านักเรียน ส่วนใหญ่ ต้องการประกอบอาชีพค้านการบริหารธุรกิจ บัญชี กิจการค้าขาย ด้านลีลาการเรียนรู้พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีลีลาการเรียนรู้แบบพึ่งพา และมีนักเรียนจานวนหนึ่งที่มีลีลาการเรียนรู้แบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น) ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก แนวคิดและเหตุผล 1 คาถามวิจัย 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 ขอบเขตของการวิจัย 1 นิยามคาศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 1 วิธีการดาเนินการวิจัย 2 ประโยชน์ของการวิจัย 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2 สรุปผลการวิจัย 14 อภิปรายผล 18 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 19 บทเรียนความคิดใหม่ที่ได้จากการวิจัย 19 บรรณานุกรม 20 ภาคผนวก 21 - ระเบียนสะสม - แบบสรุปข้อมูลจากระเบียนสะสม - แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล - รายชื่อนักเรียนในชั้นเรียนที่ทาวิจัย
  • 4. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลด้านการพักอาศัย 3 ตารางที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลใน บ้าน 3 ตารางที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของ ผู้ปกครอง 3 ตารางที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการ ใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จาก นักเรียน 4 ตารางที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระ งานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน 4 ตารางที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวน การเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ 5 ตารางที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละ วันโดยเฉลี่ย 5 ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทาง อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 6 ตารางที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน 6 ตารางที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวัน ในโรงเรียนของนักเรียน 6 ตารางที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการเก็บออมของนักเรียน 7 ตารางที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคล ในบ้านของนักเรียน 7 ตารางที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของ บุคคลในบ้าน 8 ตารางที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้าน ของนักเรียน 8
  • 5. ตารางที่ หน้า ตารางที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาใน การทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน 9 ตารางที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียน อาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการ ทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน 9 ตารางที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่ นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้ คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน 10 ตารางที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่ นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งาน เกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทา ภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน 10 ตารางที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความชอบในการเล่นกีฬา 11 ตารางที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทา คะแนนได้ดี 11 ตารางที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทา คะแนนได้ไม่ดี 12 ตารางที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านความต้องการในการประกอบอาชีพใน อนาคต 12 ตารางที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูล ด้านลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน 13
  • 6.
  • 7. 1 แนวคิดและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และ ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องดาเนินการจัด เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน จาเป็นที่ครูต้องมีเทคนิควิธีการในการรวบรวมข้อมูล และสามารถเลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมเพื่อการรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ตลอดจนสามารถนาข้อมูลที่ได้ จากการใช้เครื่องมือต่างๆมาวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนต่อไป ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นครูจึงทาการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ผู้เรียนที่รับผิดชอบเพื่อนาข้อมูลที่ได้ไป วางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล คำถำมวิจัย 1. นักเรียนแต่ละคนมีลักษณะสาคัญอย่างไร 2. นักเรียนแต่ละคนมีจุดน่าสนใจที่ควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนาในเรื่องอะไรบ้าง 3. ลักษณะสภาพแวดล้อมที่บ้านของนักเรียนมีส่วนส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างไรบ้าง วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวด้านต่างๆ ของนักเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ขอบเขตของกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ที่อยู่ในความดูแลของผู้วิจัย จานวน 42 คน นิยำมคำศัพท์ที่ใช้ในกำรวิจัย 1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ที่เรียนในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2556 2. สถานภาพส่วนตัว หมายถึง ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน สภาพการใช้ชีวิตประจาวันใน บ้าน ตลอดจนความสัมพันธ์ของบุคคลในบ้าน
  • 8. 2 วิธีกำรดำเนินกำรวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ปีการศึกษา 2556 จานวน 42 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 ระเบียนสะสม 2.2 แบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 3. การสร้างเครื่องมือวิจัย ผู้รายงานใช้เครื่องมือในการวิจัยซึ่งสร้าง โดยงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4.1 ผู้รายงานให้นักเรียนกรอกข้อมูลสถานภาพส่วนตัวในระเบียนสะสม 4.2 แจกแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้นักเรียนทา 4.3 ศึกษาข้อมูลอื่นๆ ประกอบ 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้รายงานดาเนินการดังนี้นาระเบียนสะสม และแบบวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลมา วิเคราะห์รายด้าน โดยใช้ค่าความถี่และร้อยละ ประโยชน์ของกำรวิจัย 1. ทาให้ครูประจาวิชารู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. นักเรียนได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้รายงานได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน โดยการแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ เสนอเป็นตารางประกอบคาบรรยาย แสดงดังตารางที่ 1 – ตารางที่ 23
  • 9. 3 ตำรำงที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัย รำยกำร : ปัจจุบันนักเรียนอำศัยอยู่กับ ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  พ่อ/แม่ (และพี่น้อง) 32 76.19 1  ลุง/ป้า/น้า/อา 1 2.38 3  ปู่/ย่า/ตา/ยาย 1 2.38 3  พ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆ 8 19.05 2  อยู่หอพัก/บ้านพักกับเพื่อน - - -  อื่นๆ - - - จากตารางที่ 1 การศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ และพี่น้องจานวน 32 คน เป็นร้อยละ 76.19 ตาม ด้วยการพักอาศัยอยู่กับพ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ19.05 และพักอาศัย อยู่กับปู่/ย่า/ตา/ยาย และลุง/ป้า/น้า/อา จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38ตามลาดับ ตำรำงที่ 2 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ของ นักเรียนกับบุคคลในบ้าน รำยกำร : ควำมสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้ำน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ 35 83.33 1  เฉยๆ พูดคุยกันบ้าง 5 11.90 2  ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ 1 2.38 3  ขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ่อยครั้ง 1 2.38 3 จากตารางที่ 2 พบว่าความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 กับบุคคลในบ้าน ส่วน ใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ จานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ และขัดแย้ง/ทะเลาะกัน บ่อยครั้ง จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 ตามลาดับ ตำรำงที่ 3 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแลเอาใจ ใส่นักเรียนของผู้ปกครอง รำยกำร : ผู้ปกครองมีเวลำในกำรดูแลเอำใจใส่นักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  มีเวลามาก 12 28.57 3  มีเวลาให้พอสมควร 15 35.71 1  ไม่ค่อยมีเวลา 14 33.33 2  ไม่มีเวลาเลย 1 2.38 4
  • 10. 4 จากตารางที่ 3 พบว่าด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีเวลาให้ พอสมควร จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยไม่ค่อยมีเวลา จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และมีเวลามาก จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ ตำรำงที่ 4 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้คาแนะนา ให้ คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน รำยกำร : ผู้ปกครองให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษำในกำรใช้ ชีวิต กำรปรับตัว กำรแก้ปัญหำต่ำงๆ หรือมีส่วนร่วมรับ ฟังควำมทุกข์จำกนักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  ให้คาแนะนาฯเสมอๆ 15 35.71 2  ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย 17 40.48 1  ให้คาแนะนาบางครั้ง 9 21.43 3  ไม่ค่อยให้คาแนะนา 1 2.38 4  ไม่เคยเลย - - - จากตารางที่ 4 พบว่าด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การ แก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯค่อนข้าง บ่อย จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯเสมอๆ จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาบางครั้ง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ ตำรำงที่ 5 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาใน การทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียนที่บ้าน รำยกำร : ผู้ให้คำปรึกษำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระ งำนต่ำงๆของนักเรียนที่บ้ำนคือ ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  พ่อ/แม่และพี่น้อง 10 23.81 2  ลุง/ป้า/น้า/อา - - -  ปู่/ย่า/ตา/ยาย - - -  พ่อ/แม่และญาติๆ 8 19.05 4  ไม่มีใครเลย 15 35.71 1  อื่นๆ 9 21.43 3 จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านส่วน ใหญ่ไม่มีใครเลย จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน 10 คน คิด เป็นร้อยละ 23.81 และอื่นๆ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ (และเป็นที่น่าสนใจคือมี
  • 11. 5 จานวนนักเรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของ นักเรียนที่บ้านเลย) ตำรำงที่ 6 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาในการศึกษา ค้นคว้าทบทวนการเรียน การทาภาระงาน การบ้านต่างๆ รำยกำร : นักเรียนใช้เวลำอ่ำนหนังสือเรียน/ ทำกำรบ้ำน/รำยงำน/ภำระงำน/ชิ้นงำน ในแต่ ละวันโดยเฉลี่ย ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 16 42.11 2  1 -2 ชั่วโมง 23 54.76 1  2-3 ชั่วโมง 3 7.89 3  มากกว่า 3 ชั่วโมง - - - จากตารางที่ 6 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/ รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 54.76 ตามด้วยจานวนนักเรียน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงในการอ่าน หนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.89 ที่ใช้ เวลา 2-3 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ตำรำงที่ 7 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้เวลาดู โทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดย เฉลี่ย รำยกำร : นักเรียนใช้เวลำดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่ำนหนังสือกำร์ตูน นิยำย หรือหนังสืออื่นเพื่อ ควำมบันเทิงผ่อนคลำยในแต่ละวันโดยเฉลี่ย ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 5 11.90 4  1 -2 ชั่วโมง 19 45.24 1  2-3 ชั่วโมง 8 19.05 3  มากกว่า 3 ชั่วโมง 10 23.81 2 จากตารางที่ 7 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.24 ตามด้วยจานวนนักเรียน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 ที่ใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่าน หนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวัน
  • 12. 6 ตำรำงที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาสืบค้น ข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย รำยกำร : นักเรียนใช้เวลำสืบค้นข้อมูล พูดคุยทำง อินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันโดย เฉลี่ย ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 9 21.43 2  1 -2 ชั่วโมง 25 59.52 1  2-3 ชั่วโมง 5 11.90 3  มากกว่า 3 ชั่วโมง 3 7.14 4 จากตารางที่ 8 พบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ในแต่ ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมงเป็นจานวน 25 คน คิด เป็นร้อยละ 59.52 ตามด้วยใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และใช้เวลา 2-3 ชั่วโมง ชั่วโมงเป็นจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 ตามลาดับ ตำรำงที่ 9 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้า นอน รำยกำร : ช่วงเวลำที่นักเรียนเข้ำนอน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  2-3 ทุ่ม 2 4.76 5  3 - 4 ทุ่ม 20 47.62 1  4 - 5 ทุ่ม 10 23.81 2  5 ทุ่ม- เที่ยงคืน 7 16.67 3  หลังเที่ยงคืนไปแล้ว 3 7.14 4 จากตารางที่ 9 พบว่าช่วงเวลาที่เข้านอนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 อยู่ที่เวลา 3-4 ทุ่ม เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ตามด้วยช่วงเวลา 4-5 เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 และช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงเที่ยงคืนเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ ตำรำงที่ 10 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความพอเพียงของ ค่าใช้จ่ายประจาวันในโรงเรียนของนักเรียน รำยกำร : ควำมพอเพียงของค่ำใช้จ่ำยประจำวัน ในโรงเรียนของนักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  เพียงพอ 40 95.24 1  ไม่เพียงพอ 2 4.76 2
  • 13. 7 จากตารางที่ 10 พบว่านักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองเป็นค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 95.24 ไม่เพียงพอเป็นจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 ตำรำงที่ 11 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการเก็บออมของ นักเรียน รำยกำร : กำรเก็บออมเงินจำกค่ำอำหำร/ค่ำขนม ประจำวัน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  เก็บออมเสมอ 10 23.81 3  เก็บออมบ้าง 15 35.71 2  ไม่เคยเก็บออมเลย 17 40.48 1 จากตารางที่ 11 พบว่านักเรียนไม่เคยเก็บออมเงินจากค่าอาหาร/ค่าขนมประจาวัน เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ได้ เก็บออมบ้าง เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และเก็บออม เสมอ เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 ตำรำงที่ 12 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความถี่ของการอ่าน หนังสือของบุคคลในบ้านของนักเรียน รำยกำร : ควำมถี่ของกำรอ่ำนหนังสือของบุคคลใน บ้ำนของนักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  เสมอๆ 2 4.76 4  ค่อนข้างบ่อย 8 19.05 3  บางครั้ง 21 50.00 1  นานๆครั้ง 11 26.19 2  ไม่เคยเลย - - - จากตารางที่ 12 พบว่าบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่อ่านหนังสือ บางครั้งเป็นจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ตามด้วยอ่านหนังสือนานๆ ครั้ง เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อย 26.19 และที่อ่านหนังสือค่อนข้างบ่อย เป็นจานวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ
  • 14. 8 ตำรำงที่ 13 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการทากิจกรรมทาง ศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน รำยกำร : นักเรียนและบุคคลในบ้ำนไปร่วมกิจกรรม ทำงศำสนำมำกน้อยเพียงใด ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  ทุกวันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษ 9 21.43 3  ส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนา 12 28.57 2  ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็นบางครั้ง 15 35.71 1  นานๆครั้งจะได้ไป 6 14.29 4  ไม่เคยเลย - - 5 จากตารางที่ 13 พบว่าการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็น บางครั้ง จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามด้วยทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันทุกวันสาคัญทาง ศาสนาและโอกาสพิเศษ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน นานๆ ครั้ง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ตามลาดับ ตำรำงที่ 14 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน รำยกำร : ด้ำนอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้ำน ของนักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถ สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ 9 21.43 2  มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์แต่ไม่สามารถ สืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ 6 14.29 4  มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่ มีเครื่องพิมพ์ 15 35.71 1  มีเฉพาะคอมพิวเตอร์ 5 11.90 5  ไม่มีคอมพิวเตอร์ 7 16.67 3 จากตารางที่ 14 พบว่าที่บ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่มีเครื่องพิมพ์ ตามด้วยจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 มีคอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ และจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ไม่มีคอมพิวเตอร์
  • 15. 9 ตำรำงที่ 15 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ใน บ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียน รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียน อำศัยอยู่มีควำมรู้ด้ำนภำษำอังกฤษในกำรสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระ งำนวิชำภำษำอังกฤษให้แก่นักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 1 2.38 4  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 9 21.43 3  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 19 45.24 1  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 13 30.95 2 จากตารางที่ 15 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.24 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 30.95 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ ตำรำงที่ 16 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทา การบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียน อำศัยอยู่มีควำมรู้ด้ำนคณิตศำสตร์ในกำรสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระงำน วิชำคณิตศำสตร์ให้แก่นักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 8 19.05 3  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 15 35.71 2  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 17 40.48 1  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 2 4.76 4 จากตารางที่ 16 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ใน การสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ตามด้วยมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน .15 คน คิด เป็นร้อยละ 35.71 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี
  • 16. 10 เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับและเป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 ที่ตอบว่าไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย ตำรำงที่ 17 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนา ในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียน อำศัยอยู่มีควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์ในกำรสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำกำรบ้ำน/ภำระงำน วิชำวิทยำศำสตร์ให้แก่นักเรียน ควำม ถี่ ร้อยละ อันดับ  มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 3 7.14 4  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 15 35.71 2  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 20 47.62 1  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 4 9.52 3 จากตารางที่ 17 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ใน การสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย เป็นจานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.52 ตามลาดับ ตำรำงที่ 18 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งาน คอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่ นักเรียน รำยกำร : บุคคลในครอบครัว/ในบ้ำนที่นักเรียนอำศัย อยู่มีควำมรู้และประสบกำรณ์ด้ำนกำรทำอำหำร งำน ฝีมือ งำนเกษตร งำนช่ำง งำนคอมพิวเตอร์ ในกำร ช่วยเหลือ/ให้คำแนะนำในกำรทำภำระงำนวิชำกำร งำนอำชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี 18 42.86 1  มีความรู้พอช่วยเหลือได้ 17 40.48 2  พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย 7 16.67 3  ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย - - -
  • 17. 11 จากตารางที่ 18 พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการ ทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้มาก และช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่ นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 และมีบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ ตำรำงที่ 19 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความชอบในการ เล่นกีฬา รำยกำร : ควำมชอบในกำรเล่นกีฬำ ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  ฟุตบอล 11 26.19 2  บาสเกตบอล 2 4.76 5  วอลเล่ย์บอล 7 16.67 3  เทเบิลเทนนิส 5 11.90 4  เทนนิส - - -  มวย - - -  เปตอง - - -  แบตมินตัน 15 35.71 1  ตะกร้อ 2 4.76 5  อื่นๆ ระบุ............................ - - - จากตารางที่ 19 พบว่า ความชอบในการเล่นกีฬาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ ชอบเล่นแบตมินตันเป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยชอบเล่นฟุตบอล เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 และชอบเล่นวอลเล่ย์บอลเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ ตำรำงที่ 20 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดี รำยกำร : วิชำที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้ำใจและทำ คะแนนได้ดี ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  คณิตศาสตร์ 5 11.90 4  วิทยาศาสตร์ 2 4.76 6  ภาษาไทย 5 11.90 4  ภาษาอังกฤษ 3 7.14 5  สังคม 8 19.05 2  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 12 28.57 1
  • 18. 12 จากตารางที่ 20 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ได้เข้าใจและทา คะแนนได้ดีคือวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามด้วยวิชา สังคมเป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 และวิชาพละ สุขศึกษา เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อย ละ 16.67 ตามลาดับ ตำรำงที่ 21 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดี จากตารางที่ 21 พบว่าวิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ไม่ค่อยเข้าใจและทา คะแนนได้ไม่ดีคือวิชาคณิตศาสตร์ เป็นจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 38.10 ตามด้วยวิชาภาษาอังกฤษ เป็นจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ ตำรำงที่ 22 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความต้องการในการ ประกอบอาชีพในอนาคต พละ สุขศึกษา 7 16.67 3 รำยกำร : วิชำที่นักเรียนไม่ค่อยเข้ำใจและทำ คะแนนได้ไม่ดี ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  คณิตศาสตร์ 16 38.10 1  วิทยาศาสตร์ 12 28.57 3  ภาษาไทย - - -  ภาษาอังกฤษ 14 33.33 2  สังคม - - -  การงานอาชีพและเทคโนโลยี - - -  พละ สุขศึกษา - - - รำยกำร : ควำมต้องกำรในกำรประกอบอำชีพใน อนำคต ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ  แพทย์ / เภสัช / ทันตแพทย์ / พยาบาล / จิตแพทย์  วิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์ 6 14.29 3  บุคลากรด้านกฎหมาย/การเมือง/การปกครอง ทหาร ตารวจ เป็นต้น 2 4.76 6  บุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงาน ราชการต่างๆ เป็นต้น 7 16.67 2  บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการ 11 26.19 1
  • 19. 13 จากตารางที่ 22 พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพ บุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการค้าขาย เป็นต้น เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 ตามด้วยอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้านสังคมเช่นครู พนักงานในสานักงานราชการต่างๆ และ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบโปรแกรม เป็นต้น เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และอาชีพเกี่ยวกับวิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์ เป็นจานวน 6 คน คิดเป็นร้อย ละ 14.29 ตามลาดับ ตำรำงที่ 23 แสดงความถี่และร้อยละของข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านลีลาการเรียนรู้ของ นักเรียน รำยกำร : ลีลำกำรเรียนรู้ของนักเรียน ควำมถี่ ร้อยละ อันดับ แบบที่ 1 แบบอิสระ (พึ่งตนเอง) 2 4.76 5 แบบที่ 2 แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลี่ยง) 2 4.76 5 แบบที่ 3 แบบร่วมมือ (แบบพึ่งกลุ่ม) 15 35.71 1 แบบที่ 4 แบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น) 12 28.57 2 แบบที่ 5 แบบแข่งขัน 3 7.14 4 แบบที่ 6 แบบมีส่วนร่วม 8 19.05 3 จากตารางที่ 23 พบว่าลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เป็นแบบ ร่วมมือจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยแบบพึ่งพา จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 และแบบมีส่วนร่วม 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ ค้าขาย เป็นต้น  บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบ โปรแกรม เป็นต้น 7 16.67 2  บุคลากรด้านบันเทิง /สื่อสารมวลชน / สานักพิมพ์ นักแปล นักเขียน เป็นต้น 3 7.14 5  บุคลากรด้านการบริการ เช่น พนักงานต้อนรับ โอเปอเรเตอร์ ไกด์ เป็นต้น 2 4.76 6  อื่นๆ ระบุ 4 9.52 4
  • 20. 14 สรุปผลกำรวิจัย 1. จากการศึกษาข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียนด้านการพักอาศัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ และพี่น้องจานวน 32 คน เป็นร้อยละ 76.19 ตามด้วยการพักอาศัย อยู่กับพ่อ/แม่(และพี่น้อง)และญาติๆจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ19.05 และพักอาศัยอยู่กับปู่/ย่า/ตา/ ยาย และลุง/ป้า/น้า/อา จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38ตามลาดับ 2. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความสัมพันธ์ของนักเรียนกับบุคคลในบ้าน พบว่า ความสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 กับบุคคลในบ้าน ส่วนใหญ่อบอุ่น พูดคุยกันเสมอ จานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ตามด้วยเฉยๆ พูดคุยกันบ้าง จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ้างในเรื่องเล็กๆน้อยๆ และขัดแย้ง/ทะเลาะกันบ่อยครั้ง จานวน 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 2.38 ตามลาดับ 3. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านเวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง พบว่าด้าน เวลาในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนของผู้ปกครอง ส่วนใหญ่มีเวลาให้พอสมควร จานวน 15 คน คิดเป็นร้อย ละ 35.71 ตามด้วยไม่ค่อยมีเวลา จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และมีเวลามาก จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ 4. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาในการใช้ชีวิต การปรับตัว การ แก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน พบว่าด้านการให้คาแนะนา ให้คาปรึกษาใน การใช้ชีวิต การปรับตัว การแก้ปัญหาต่างๆ หรือมีส่วนร่วมรับฟังความทุกข์จากนักเรียน ส่วนใหญ่ ผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาฯค่อนข้างบ่อย จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ตามด้วยผู้ปกครองได้ให้ คาแนะนาฯเสมอๆ จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และผู้ปกครองได้ให้คาแนะนาบางครั้ง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43ตามลาดับ 5. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆของนักเรียน ที่บ้าน พบว่า ผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านส่วนใหญ่ไม่มีใครเลย จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยพ่อ/แม่และพี่น้อง จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 และอื่นๆ จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ (และเป็นที่น่าสนใจคือมีจานวนนักเรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ไม่มีผู้ให้คาปรึกษาในการทาการบ้าน/ภาระงานต่างๆ ของนักเรียนที่บ้านเลย) 6. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าทบทวนการเรียน การทา ภาระงาน การบ้านต่างๆ พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ใช้เวลาอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/ รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่.จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 54.76 ตามด้วยจานวนนักเรียน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมงในการอ่าน หนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน มีนักเรียนเพียง 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.89 ที่ใช้ เวลา 2-3 ชั่วโมงในการอ่านหนังสือเรียน/ทาการบ้าน/รายงาน/ภาระงาน/ชิ้นงาน
  • 21. 15 7. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านนักเรียนใช้เวลาดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวันโดยเฉลี่ย พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลายในแต่ละวัน โดยเฉลี่ย 1-2 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่จานวน 19คน คิดเป็นร้อยละ 45.24 ตามด้วยจานวนนักเรียน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 ที่ใช้เวลามากกว่า 3 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย และมีนักเรียน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ที่ใช้เวลาน้อยกว่า 2 ชั่วโมงในการดูโทรทัศน์ ฟังเพลง อ่านหนังสือการ์ตูน นิยาย หรือหนังสืออื่นเพื่อความบันเทิงผ่อนคลาย ในแต่ละวัน 8. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุย โทรศัพท์ในแต่ละวันโดยเฉลี่ย พบว่าการใช้เวลาสืบค้นข้อมูล พูดคุยทางอินเตอร์เน็ตและ/หรือคุยโทรศัพท์ ในแต่ละวันโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมงเป็นจานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 59.52 ตามด้วยใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และใช้ เวลา 2-3 ชั่วโมง ชั่วโมงเป็นจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 11.90 ตามลาดับ 9. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านช่วงเวลาที่นักเรียนเข้านอน พบว่าช่วงเวลาที่เข้านอนของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 อยู่ที่เวลา 3-4 ทุ่ม เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ตามด้วย ช่วงเวลา 4-5 เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 และช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงเที่ยงคืนเป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ 10. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความพอเพียงของค่าใช้จ่ายประจาวันในโรงเรียนของ นักเรียน พบว่านักเรียนได้รับเงินจากผู้ปกครองเป็นค่าอาหาร/ค่าขนม เพียงพอ จานวน 40 คน คิดเป็น ร้อยละ 95.24 ไม่เพียงพอเป็นจานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 11. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการเก็บออมของนักเรียน พบว่านักเรียนไม่เคยเก็บออมเงิน จากค่าอาหาร/ค่าขนมประจาวัน เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 ได้ เก็บออมบ้าง เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และเก็บออมเสมอ เป็นจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 12. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความถี่ของการอ่านหนังสือของบุคคลในบ้านของนักเรียน พบว่าบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่อ่านหนังสือ บางครั้งเป็นจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ตามด้วยอ่านหนังสือนานๆ ครั้ง เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อย 26.19 และที่อ่าน หนังสือค่อนข้างบ่อย เป็นจานวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ 13. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้าน พบว่าการทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันของบุคคลในบ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ ทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันส่วนใหญ่ไปในวันสาคัญทางศาสนาเป็นบางครั้ง จานวน 15 คน คิดเป็น ร้อยละ 28.57 ตามด้วยทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกันทุกวันสาคัญทางศาสนาและโอกาสพิเศษ จานวน 9
  • 22. 16 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 และทากิจกรรมทางศาสนาร่วมกัน นานๆครั้ง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ตามลาดับ 14. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่บ้านของนักเรียน พบว่าที่ บ้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ35.71 ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ สามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้แต่ไม่มีเครื่องพิมพ์ ตามด้วยจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 มี คอมพิวเตอร์ พร้อมเครื่องพิมพ์และสามารถสืบค้นอินเตอร์เน็ตได้ และจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ไม่มีคอมพิวเตอร์ 15. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน ภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษให้แก่ นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 45.24รองลงมาคือมีบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลย เป็นจานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 30.95 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลาดับ 16. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน คณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่ นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านคณิตศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48ตามด้วยมีบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน .15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับและเป็นที่น่าสนใจว่ามีนักเรียน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 ที่ตอบว่าไม่มี ใครพอจะช่วยเหลือได้เลย 17. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ให้แก่ นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ในการสอน/ ช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาการบ้าน/ภาระงานวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่พอช่วยเหลือได้เล็กน้อย เป็นจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62รองลงมาคือมีบุคคลใน ครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่ไม่มีใครพอจะช่วยเหลือได้เลยเป็นจานวน 4 คน คิด เป็นร้อยละ 9.52 ตามลาดับ
  • 23. 17 18. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และ ประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งานคอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้ คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่นักเรียน พบว่าบุคคลในครอบครัว/ ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการทาอาหาร งานฝีมือ งานเกษตร งานช่าง งาน คอมพิวเตอร์ ในการช่วยเหลือ/ให้คาแนะนาในการทาภาระงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีให้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่มีความรู้มากและช่วยเหลือได้ดี เป็นจานวน 18 คน คิดเป็นร้อย ละ 42.86 รองลงมาคือมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่มีความรู้พอช่วยเหลือได้ เป็น จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 40.48 และมีบุคคลในครอบครัว/ในบ้านที่นักเรียนอาศัยอยู่พอช่วยเหลือ ได้เล็กน้อย เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67ตามลาดับ 19. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความชอบในการเล่นกีฬา พบว่า ความชอบในการเล่นกีฬา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ชอบเล่นแบตมินตันเป็นจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วยชอบเล่นฟุตบอล เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 และชอบเล่นวอลเล่ย์บอล เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ 20. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดี พบว่า วิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ได้เข้าใจและทาคะแนนได้ดีคือวิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามด้วยวิชาสังคมเป็นจานวน 8 คน คิดเป็น ร้อยละ 19.05 และวิชาพละ สุขศึกษา เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตามลาดับ 21. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านวิชาที่นักเรียนไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดี พบว่า วิชาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เรียนรู้ไม่ค่อยเข้าใจและทาคะแนนได้ไม่ดีคือวิชา คณิตศาสตร์ เป็นจานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 38.10 ตามด้วยวิชาภาษาอังกฤษ เป็นจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ตามลาดับ 22. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านความต้องการในการประกอบอาชีพในอนาคต พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่ต้องการประกอบอาชีพบุคลากรด้านการบริหาร / ธุรกิจ/ บัญชี / กิจการค้าขาย เป็นต้น เป็นจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.19 ตามด้วยอาชีพเกี่ยวกับบุคลากรด้าน สังคมเช่นครู พนักงานในสานักงานราชการต่างๆ และบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ การเขียน/ออกแบบ โปรแกรม เป็นต้น เป็นจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และอาชีพเกี่ยวกับวิศวกร / มัณฑนากร / สถาปนิก / ดีไซเนอร์ เป็นจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 ตามลาดับ 23. ข้อมูลสถานภาพส่วนตัวของนักเรียน ด้านลีลาการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่าลีลาการเรียนรู้ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ส่วนใหญ่เป็นแบบร่วมมือจานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ตามด้วย แบบพึ่งพา จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 และแบบมีส่วนร่วม 8 คน คิดเป็นร้อยละ 19.05 ตามลาดับ