SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรม
 ง 31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ                   เวลา 2 ชั่วโมง                       ครูผู้สอน ณัฐพล บัวอุไร

1. การเขียนโปรแกรม

           จากการศึกษาหลักการขั้นตอนการแก้ปัญหาในหัวข้อ 1 และ 2 ที่ผ่านมา หลังจากที่เราสามารถวิเคราะห์ปัญหาและ
สร้างแบบจาลองความคิด เพื่อแสดงขั้นตอนในการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่ออกแบบ
ไว้ โดยใช้เครื่องมือช่วยในการแก้ปัญหา ในที่นี้หากเครื่องมือที่นักเรียนเลือกคือภาษาคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนในการลงมือ
แก้ปัญหาก็คือขั้นตอนของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญในการแก้ปัญหาด้วย
คอมพิวเตอร์
        การเขียนโปรแกรม (Programming) หมายถึง กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกาหนดโครงสร้างของข้อมูล และ
กาหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้แก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของแต่ละภาษา
       ก่อนการเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะนามาใช้ช่วยงานโดยพิจารณาจากปัจจัย
ต่าง ๆ ในการทางาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของผู้เขียนโปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้ได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจา
วา ภาษาเดลฟาย เป็นต้น ถึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกัน แต่ทุกภาษาจะต้องมี
โครงสร้างควบคุมหลักทั้ง 3 แบบ ได้แก่ โครงสร้างแบบลาดับ (Sequential Structure) โครงสร้างแบบมีทางเลือก
(Selection Structure) และโครงสร้างแบบทาซ้า (Repetition Structure)
           3.1 โครงสร้างแบบลาดับ (Sequential Structure)
                    คือ โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทางานที่เป็นไปตามลาดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูกประมวลผลเพียง
ครั้งเดียวเท่านั้น สามารถแสดงการทางานของโครงสร้างนี้ โดยใช้ผังงานได้ดังรูปที่ 1




                                       รูปที่ 1 แสดงการทางานของโครงสร้างแบบลาดับ
            3.2 โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection Structure)
                   คือ โครงสร้างที่มีเงื่อนไข ขั้นตอนการทางานบางขั้นตอนต้องมีการตัดสินใจเพื่อเลือกวิธีการประมวลผลขั้น
ต่อไป และจะมีบางขั้นตอนที่ไม่ได้รับการประมวลผล การตัดสินใจอาจมีทางเลือก 2 ทาง หรือมากกว่าก็ได้ โครงสร้างที่มี
ทางเลือกเพียง 2 ทาง เราเรียกชื่อว่าโครงสร้างแบบ if … then … else และโครงสร้างที่มีทางเลือกมากกว่า 2 ทาง เรา
เรียกชื่อว่าโครงสร้างแบบ case สามารถแสดงการทางานของโครงสร้างนี้ โดยใช้ผังงานดังรูปที่ 2 และ 3
~2~




                                 รูปที่ 2 แสดงการทางานของโครงสร้าง if...then...else




                                     รูปที่ 3 แสดงการทางานของโครงสร้าง case

           3.3 โครงสร้างแบบทาซ้า (Repetition Structure)
                 คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทางานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไข
บางประการ โครงสร้างแบบทาซ้านี้ต้องมีการตัดสินใจในการทางานซ้า และลักษณะการทางานของโครงสร้างแบบนี้มี 2
ลักษณะ ได้แก่ แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการทาซ้าทุกครั้งก่อนการดาเนินการกิจกรรมใด ๆ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะ
ทางานซ้าไปเรื่อย ๆ และหยุดเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ เรียกการทางานลักษณะนี้ว่า การทาซ้าแบบ do while และแบบที่ทา
กิจกรรมซ้าเรื่อย ๆ จนกระทั่งเงื่อนไขที่กาหนดเป็นจริงแล้วจึงหยุดการทางาน โดยแต่ละครั้งที่เสร็จสิ้นการดาเนินการแต่ละ
รอบ จะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไข เรียกการทาซ้าลักษณะนี้ว่า do until ผังงานแสดงขั้นตอนการทางานของโครงสร้างแบบ
ทาซ้าทั้ง 2 แบบ แสดงดังรูปที่ 4 และ 5
~3~




                                รูปที่ 4 แสดงการทางานของการทาซ้าแบบ do while




                                 รูปที่ 5 แสดงการทางานของการทาซ้าแบบ do until

    โครงสร้างควบคุมทั้ง 3 แบบ ที่กล่าวมาข้างต้น ก็คือ ขั้นตอนที่เราใช้ในการแก้ปัญหานั่นเอง พิจารณาตัวอย่างที่ 7เป็น
ขั้นตอนการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี คือขั้นตอนที่ 2 ในกระบวนการแก้ปัญหาในหัวข้อ 1 เราเลือกการสร้างผัง
งานมาจาลองขั้นตอนวิธีในการหาค่าเฉลี่ยของจานวน 5 จานวน จากตัวอย่างที่ 1 และในตัวอย่างที่ 7 มีการแสดงโครงสร้าง
ควบคุมแบบลาดับและแบบทาซ้าที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้วย
~4~


            ตัวอย่างที่ 7 แสดงผังงานที่จาลองขั้นตอนวิธีการหาค่าเฉลี่ยของจานวนเต็ม 5 จานวน ให้อยู่ในรูปของ
สัญลักษณ์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
skiats
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
bpatra
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
Theruangsit
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
supatra178
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
Chittraporn Phalao
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
Kroopop Su
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
Pannathat Champakul
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
skiats
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
krurutsamee
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
skiats
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
skiats
 

Mais procurados (20)

Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
11
1111
11
 
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหาอัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
อัลกอริทึมและการวิเคราะห์ปัญหา
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
Programmer1
Programmer1Programmer1
Programmer1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 

Destaque

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Nattapon
 
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
Nattapon
 
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Kriangx Ch
 
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
Nattapon
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
Nattapon
 

Destaque (20)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
ใบความรู้ที่ 8 เรื่องโปรแกรมเปิดรูปภาพ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
 
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
ใบงานที่ 3 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์2
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
ใบงานที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์1
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
Passawan' Koohar
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
jutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
jutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
pumpuiza
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
jutamat
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Latcha MaMiew
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
Orapan Chamnan
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
bpatra
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
Orapan Chamnan
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา (20)

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
P cs
P csP cs
P cs
 

Mais de Nattapon

รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
Nattapon
 

Mais de Nattapon (20)

About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรมใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 2 เรื่องการใช้ message box และฟังก์ชันเปิดปิดโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้นใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
ใบความรู้ที่ 1 การใช้งานโปรแกรม visual studio 2010 เบื้องต้น
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 

ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา

  • 1. ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรม ง 31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน ณัฐพล บัวอุไร 1. การเขียนโปรแกรม จากการศึกษาหลักการขั้นตอนการแก้ปัญหาในหัวข้อ 1 และ 2 ที่ผ่านมา หลังจากที่เราสามารถวิเคราะห์ปัญหาและ สร้างแบบจาลองความคิด เพื่อแสดงขั้นตอนในการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่ออกแบบ ไว้ โดยใช้เครื่องมือช่วยในการแก้ปัญหา ในที่นี้หากเครื่องมือที่นักเรียนเลือกคือภาษาคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนในการลงมือ แก้ปัญหาก็คือขั้นตอนของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญในการแก้ปัญหาด้วย คอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม (Programming) หมายถึง กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกาหนดโครงสร้างของข้อมูล และ กาหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้แก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของแต่ละภาษา ก่อนการเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะนามาใช้ช่วยงานโดยพิจารณาจากปัจจัย ต่าง ๆ ในการทางาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของผู้เขียนโปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้ได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจา วา ภาษาเดลฟาย เป็นต้น ถึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกัน แต่ทุกภาษาจะต้องมี โครงสร้างควบคุมหลักทั้ง 3 แบบ ได้แก่ โครงสร้างแบบลาดับ (Sequential Structure) โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection Structure) และโครงสร้างแบบทาซ้า (Repetition Structure) 3.1 โครงสร้างแบบลาดับ (Sequential Structure) คือ โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทางานที่เป็นไปตามลาดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูกประมวลผลเพียง ครั้งเดียวเท่านั้น สามารถแสดงการทางานของโครงสร้างนี้ โดยใช้ผังงานได้ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 แสดงการทางานของโครงสร้างแบบลาดับ 3.2 โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection Structure) คือ โครงสร้างที่มีเงื่อนไข ขั้นตอนการทางานบางขั้นตอนต้องมีการตัดสินใจเพื่อเลือกวิธีการประมวลผลขั้น ต่อไป และจะมีบางขั้นตอนที่ไม่ได้รับการประมวลผล การตัดสินใจอาจมีทางเลือก 2 ทาง หรือมากกว่าก็ได้ โครงสร้างที่มี ทางเลือกเพียง 2 ทาง เราเรียกชื่อว่าโครงสร้างแบบ if … then … else และโครงสร้างที่มีทางเลือกมากกว่า 2 ทาง เรา เรียกชื่อว่าโครงสร้างแบบ case สามารถแสดงการทางานของโครงสร้างนี้ โดยใช้ผังงานดังรูปที่ 2 และ 3
  • 2. ~2~ รูปที่ 2 แสดงการทางานของโครงสร้าง if...then...else รูปที่ 3 แสดงการทางานของโครงสร้าง case 3.3 โครงสร้างแบบทาซ้า (Repetition Structure) คือ โครงสร้างที่ขั้นตอนการทางานบางขั้นตอนได้รับการประมวลผลมากกว่า 1 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไข บางประการ โครงสร้างแบบทาซ้านี้ต้องมีการตัดสินใจในการทางานซ้า และลักษณะการทางานของโครงสร้างแบบนี้มี 2 ลักษณะ ได้แก่ แบบที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการทาซ้าทุกครั้งก่อนการดาเนินการกิจกรรมใด ๆ ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะ ทางานซ้าไปเรื่อย ๆ และหยุดเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ เรียกการทางานลักษณะนี้ว่า การทาซ้าแบบ do while และแบบที่ทา กิจกรรมซ้าเรื่อย ๆ จนกระทั่งเงื่อนไขที่กาหนดเป็นจริงแล้วจึงหยุดการทางาน โดยแต่ละครั้งที่เสร็จสิ้นการดาเนินการแต่ละ รอบ จะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไข เรียกการทาซ้าลักษณะนี้ว่า do until ผังงานแสดงขั้นตอนการทางานของโครงสร้างแบบ ทาซ้าทั้ง 2 แบบ แสดงดังรูปที่ 4 และ 5
  • 3. ~3~ รูปที่ 4 แสดงการทางานของการทาซ้าแบบ do while รูปที่ 5 แสดงการทางานของการทาซ้าแบบ do until โครงสร้างควบคุมทั้ง 3 แบบ ที่กล่าวมาข้างต้น ก็คือ ขั้นตอนที่เราใช้ในการแก้ปัญหานั่นเอง พิจารณาตัวอย่างที่ 7เป็น ขั้นตอนการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี คือขั้นตอนที่ 2 ในกระบวนการแก้ปัญหาในหัวข้อ 1 เราเลือกการสร้างผัง งานมาจาลองขั้นตอนวิธีในการหาค่าเฉลี่ยของจานวน 5 จานวน จากตัวอย่างที่ 1 และในตัวอย่างที่ 7 มีการแสดงโครงสร้าง ควบคุมแบบลาดับและแบบทาซ้าที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้วย
  • 4. ~4~ ตัวอย่างที่ 7 แสดงผังงานที่จาลองขั้นตอนวิธีการหาค่าเฉลี่ยของจานวนเต็ม 5 จานวน ให้อยู่ในรูปของ สัญลักษณ์