SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                          ั



                              ใบความรู้ที่ 2 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
      วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ                         เวลา 2 ชั่วโมง                   ครูผสอน ครูณัฐพล บัวอุไร
                                                                                         ู้

1. โพรโตคอล (protocol)
            โพรโทคอล (Protocol) คือข้อกาหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายไม่ว่าจะ เป็นการสื่อสาร
ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับ อุปกรณ์อื่น ๆ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพร
โทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้น จึงจะสามารถติดต่อและส่งข้อมู ลระหว่างกันได้ โพรโทคอลจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาที่ใช้ใน
การสื่อสารของมนุษย์ที่ต้องใช้ ภาษาเดียวกัน จึงจะสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ
                        สาหรับในเครือข่าย โพรโทคอลจะเป็นตัวกาหนดคุณลักษณะหรือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการสื่อสาร
ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการแทนข้อมูล วิธีการในการรับส่งข้อมูล รูปแบบสัญญาณรับส่ง อุปกรณ์หรือสื่อกลางในการส่งข้อมูล การ
กาหนดหรื อการอ้า งอิง ต าแหน่ ง การตรวจสอบความผิด พลาดของข้ อ มูล รวมถึ ง ความเร็ ว ในการรั บ ส่ง ข้ อ มูล และด้ ว ย
ความสาคัญนี้ องค์กรที่ว่าด้วยเรื่องมาตรฐานระหว่างประเทศจึงได้กาหนดโพรโทคอลที่เรียกว่า “มาตรฐานการจัดระบบการ
เชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด” (Open System Interconnection : OSI) ระบบดังกล่าวแบ่งชั้นการทางานของเครือข่าย
ออกเป็น 7 ชั้น ซึ่งเป็นต้นแบบแนวคิดในการสร้างเครือข่ายเพื่อจัดแบ่งการดาเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายออกเป็นงานย่อย
ทาให้การออกแบบและใช้งานเครือข่าย รวมทั้งการติดต่อเชื่อมโยงเป็นไปด้วยความสะดวก มีวิธีปฏิบัติในกรอบเดียวกัน
             การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะประกอบด้ว ยฝ่ายผู้ส่งและผู้รับ และจะเริ่มด้วยฝ่ายผู้ส่งซึ่งจะส่งข้อมูลข่าวสาร
โดยผ่านชั้นมาตรฐาน 7 ชั้นเรียงตามลาดับดังนี้
            1) ชั้นการประยุกต์ (Application Layer)
              เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้เข้าสู่
ระบบ เช่น การเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย การถ่ายโอนข้อมูล และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
            2) ชั้นนาเสนอ (Presentation Layer)
              ซึ่งจะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนาเสนอ
ข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ
การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล
            3) ชั้นส่วนงาน (Session Layer)
                 ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้งสองให้
ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยกาหนดขอบเขตการรับ-ส่ง คือ กาหนดจุดผู้รับและผู้ส่ง โดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล
ว่าเป็นแบบข้อมูลชุดเดียวหรือหลาย ๆ ชุดพร้อม ๆ กัน เช่น โมดูล (Module) ของการนาเสนอผ่านเว็บ
            4) ชั้นขนส่ง (Transport Layer)
                   เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง
            5) ชั้นเครือข่าย (Network Layer)
                  ทาหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทางโดยผ่านจุดต่าง ๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตาม
เส้นทางที่กาหนด รวบรวมและแยกแยะข้อมูลเพื่อหาเส้นทางในการส่งข้อมูลที่เหมาะสม
            6) ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer)
                        ทาหน้าที่เป็นเหมือนผู้บริการส่งข้อมูล กล่าวคือ ส่งข้อมูลผ่านทางสายส่ง โดยมีกระบวนการตรวจสอบ
ความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจากสัญญาณรบกวนที่เกิดในสายส่ง รวมทั้งมีการแก้ไขความผิดพลาดดังกล่าวด้วย เป็นชั้น
ที่ควบคุมความถูกต้องในการส่งข้อมูลระหว่างจุด (Node) 2 จุดที่อยู่ติดกันในเครือข่าย

                                                                                                                        1
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com]
                                                                          ั

         7) ชั้นกายภาพ (Physical Layer)
            ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิตอลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้




                                  รูปที่ 1 มาตรฐานการจัดระบบการเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด
             เมื่อข้อมูลผ่านขั้นตอนทั้ง 7 แล้วจะถูกนาไปเก็บไว้ในส่วนที่ทาหน้าที่ดูแลการจราจรบนเครือข่าย เพื่อส่งไปยังเครื่อง
ผู้รับ ซึ่งต้องผ่านมาตรฐานทั้ง 7 เช่นกันแต่จะเป็นไปในทางตรงข้าม




                          รูปที่ 2 โมเดลการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งตามมาตรฐานของโอเอสไอ
            เพื่อเป็นการขยายความมาตรฐานทั้ง 7 ระดับของการจัดระบบการเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด ขอยกตัวอย่าง
การลงทะเบียนเรียนผ่านเว็บ ผู้เรียนสามารถเลือกวิชาเรียนผ่านโปรแกรมค้นผ่านเว็บ แล้วส่งข้อมูลไปเก็บไว้ที่เครื่องบริการ
ผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เราสามารถพิจารณาว่าระบบการลงทะเบียนนี้เป็นงานประยุกต์อย่างหนึ่งที่ใช้งานผ่าน
ระบบเครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อระหว่างโปรแกรมค้นผ่านเว็บกับเครื่องบริการ และเป็นการเชื่อมต่อในชั้นการประยุกต์ โดย
การนาเสนอผ่านเว็บที่มีโปรแกรมค้นผ่านเว็บเป็นเครื่องมือนาเสนอ จึงเป็น ไปได้ที่งานประยุกต์อื่นหลาย ๆ งานจะได้รับการ
นาเสนอพร้อม ๆ กัน และในที่นี้ชั้นการนาเสนอก็คือ โปรแกรมค้นผ่านเว็บนั่นเอง นอกจากนี้ ในขณะที่นักเรียนคนหนึ่งกาลัง
ลงทะเบียนผ่านเครือข่าย อาจมีนักเรียนอีกคนหนึ่งเข้ามาใช้งานระบบลงทะเบียนพร้อมกัน ดังนั้นจึงจาเป็นต้อ งมีการแยก
ข้อมูล เพื่อให้ปลายทางเข้าใจว่าข้อมูลการลงทะเบียนที่ส่งมาเป็นของนักเรียนหรือผู้ส่งคนใด การแยกข้อมูลในลักษณะนี้เป็น
หน้าที่ของชั้นส่วนงาน ต่อมาข้อมูลจะได้รับการส่งต่อไปในระดับที่ต่าลงไป นั่นคือชั้นขนส่ง ซึ่งเป็นการนาส่งข้อมูลระหว่าง
เครื่อง ในขั้นตอนนี้จะทาหน้าที่คล้ายระบบไปรษณีย์ ซึ่งต้องระบุที่อยู่ของผู้รับจดหมาย โดยไม่สนใจว่าเนื้อหาในจดหมายคือ
อะไร นั่นคือ การทางานในชั้นขนส่งจะนาข้อมูลจากชั้นส่วนงานมาเก็บ และระบุที่อยู่ แล้วส่งไปตามระบบ โดยในขั้นตอนจะยัง
ไม่รู้ว่าต้องขนส่งไปที่ใด จะรู้ก็ต่อเมื่อชั้นขนส่งส่งข้อมูลไปยังชั้นเครือข่าย ซึ่งค้นหาเส้นทางที่เหมาะสมในการถ่ายโอนข้อมูล
จากนั้นเมื่อชั้นเครือข่ายสามารถจัดการให้เครื่องต้นทาง และเครื่องปลายทางสามารถมองเห็นกันได้ จะเป็นการส่งข้อมูลในชั้น
เชื่อมโยงข้อมูล เพื่อควบคุมความถูกต้องของการสื่อสารข้อมูล สุดท้า ยเป็นขั้นตอนของการส่งข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ตัวกลาง
และเรียกชั้นที่ทาหน้าที่นี้ว่าชั้นกายภาพ
                                                                                                                         2

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 

Mais procurados (19)

ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 2

โพโตคอล
โพโตคอลโพโตคอล
โพโตคอลAqilla Madaka
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลAqilla Madaka
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลAqilla Madaka
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์T'tle Tanwarat
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9mayyanin
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 2 (20)

โพโตคอล
โพโตคอลโพโตคอล
โพโตคอล
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์  ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
ญาณินทน์ ธัญญพาณิชย์ 43 5-9
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 

Mais de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

Mais de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

ใบความรู้ที่ 2

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั ใบความรู้ที่ 2 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชั่วโมง ครูผสอน ครูณัฐพล บัวอุไร ู้ 1. โพรโตคอล (protocol) โพรโทคอล (Protocol) คือข้อกาหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายไม่ว่าจะ เป็นการสื่อสาร ข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับ อุปกรณ์อื่น ๆ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพร โทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้น จึงจะสามารถติดต่อและส่งข้อมู ลระหว่างกันได้ โพรโทคอลจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับภาษาที่ใช้ใน การสื่อสารของมนุษย์ที่ต้องใช้ ภาษาเดียวกัน จึงจะสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ สาหรับในเครือข่าย โพรโทคอลจะเป็นตัวกาหนดคุณลักษณะหรือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการแทนข้อมูล วิธีการในการรับส่งข้อมูล รูปแบบสัญญาณรับส่ง อุปกรณ์หรือสื่อกลางในการส่งข้อมูล การ กาหนดหรื อการอ้า งอิง ต าแหน่ ง การตรวจสอบความผิด พลาดของข้ อ มูล รวมถึ ง ความเร็ ว ในการรั บ ส่ง ข้ อ มูล และด้ ว ย ความสาคัญนี้ องค์กรที่ว่าด้วยเรื่องมาตรฐานระหว่างประเทศจึงได้กาหนดโพรโทคอลที่เรียกว่า “มาตรฐานการจัดระบบการ เชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด” (Open System Interconnection : OSI) ระบบดังกล่าวแบ่งชั้นการทางานของเครือข่าย ออกเป็น 7 ชั้น ซึ่งเป็นต้นแบบแนวคิดในการสร้างเครือข่ายเพื่อจัดแบ่งการดาเนินงานพื้นฐานของเครือข่ายออกเป็นงานย่อย ทาให้การออกแบบและใช้งานเครือข่าย รวมทั้งการติดต่อเชื่อมโยงเป็นไปด้วยความสะดวก มีวิธีปฏิบัติในกรอบเดียวกัน การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะประกอบด้ว ยฝ่ายผู้ส่งและผู้รับ และจะเริ่มด้วยฝ่ายผู้ส่งซึ่งจะส่งข้อมูลข่าวสาร โดยผ่านชั้นมาตรฐาน 7 ชั้นเรียงตามลาดับดังนี้ 1) ชั้นการประยุกต์ (Application Layer) เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้เข้าสู่ ระบบ เช่น การเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย การถ่ายโอนข้อมูล และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 2) ชั้นนาเสนอ (Presentation Layer) ซึ่งจะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนาเสนอ ข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องผู้ส่งให้เครื่องผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล 3) ชั้นส่วนงาน (Session Layer) ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องทั้งสองให้ ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยกาหนดขอบเขตการรับ-ส่ง คือ กาหนดจุดผู้รับและผู้ส่ง โดยจะเพิ่มเติมรูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล ว่าเป็นแบบข้อมูลชุดเดียวหรือหลาย ๆ ชุดพร้อม ๆ กัน เช่น โมดูล (Module) ของการนาเสนอผ่านเว็บ 4) ชั้นขนส่ง (Transport Layer) เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง 5) ชั้นเครือข่าย (Network Layer) ทาหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทางโดยผ่านจุดต่าง ๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตาม เส้นทางที่กาหนด รวบรวมและแยกแยะข้อมูลเพื่อหาเส้นทางในการส่งข้อมูลที่เหมาะสม 6) ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer) ทาหน้าที่เป็นเหมือนผู้บริการส่งข้อมูล กล่าวคือ ส่งข้อมูลผ่านทางสายส่ง โดยมีกระบวนการตรวจสอบ ความผิดพลาดของข้อมูลอันเนื่องมาจากสัญญาณรบกวนที่เกิดในสายส่ง รวมทั้งมีการแก้ไขความผิดพลาดดังกล่าวด้วย เป็นชั้น ที่ควบคุมความถูกต้องในการส่งข้อมูลระหว่างจุด (Node) 2 จุดที่อยู่ติดกันในเครือข่าย 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 โดยครูณฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] ั 7) ชั้นกายภาพ (Physical Layer) ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิตอลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้ รูปที่ 1 มาตรฐานการจัดระบบการเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด เมื่อข้อมูลผ่านขั้นตอนทั้ง 7 แล้วจะถูกนาไปเก็บไว้ในส่วนที่ทาหน้าที่ดูแลการจราจรบนเครือข่าย เพื่อส่งไปยังเครื่อง ผู้รับ ซึ่งต้องผ่านมาตรฐานทั้ง 7 เช่นกันแต่จะเป็นไปในทางตรงข้าม รูปที่ 2 โมเดลการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งตามมาตรฐานของโอเอสไอ เพื่อเป็นการขยายความมาตรฐานทั้ง 7 ระดับของการจัดระบบการเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด ขอยกตัวอย่าง การลงทะเบียนเรียนผ่านเว็บ ผู้เรียนสามารถเลือกวิชาเรียนผ่านโปรแกรมค้นผ่านเว็บ แล้วส่งข้อมูลไปเก็บไว้ที่เครื่องบริการ ผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เราสามารถพิจารณาว่าระบบการลงทะเบียนนี้เป็นงานประยุกต์อย่างหนึ่งที่ใช้งานผ่าน ระบบเครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อระหว่างโปรแกรมค้นผ่านเว็บกับเครื่องบริการ และเป็นการเชื่อมต่อในชั้นการประยุกต์ โดย การนาเสนอผ่านเว็บที่มีโปรแกรมค้นผ่านเว็บเป็นเครื่องมือนาเสนอ จึงเป็น ไปได้ที่งานประยุกต์อื่นหลาย ๆ งานจะได้รับการ นาเสนอพร้อม ๆ กัน และในที่นี้ชั้นการนาเสนอก็คือ โปรแกรมค้นผ่านเว็บนั่นเอง นอกจากนี้ ในขณะที่นักเรียนคนหนึ่งกาลัง ลงทะเบียนผ่านเครือข่าย อาจมีนักเรียนอีกคนหนึ่งเข้ามาใช้งานระบบลงทะเบียนพร้อมกัน ดังนั้นจึงจาเป็นต้อ งมีการแยก ข้อมูล เพื่อให้ปลายทางเข้าใจว่าข้อมูลการลงทะเบียนที่ส่งมาเป็นของนักเรียนหรือผู้ส่งคนใด การแยกข้อมูลในลักษณะนี้เป็น หน้าที่ของชั้นส่วนงาน ต่อมาข้อมูลจะได้รับการส่งต่อไปในระดับที่ต่าลงไป นั่นคือชั้นขนส่ง ซึ่งเป็นการนาส่งข้อมูลระหว่าง เครื่อง ในขั้นตอนนี้จะทาหน้าที่คล้ายระบบไปรษณีย์ ซึ่งต้องระบุที่อยู่ของผู้รับจดหมาย โดยไม่สนใจว่าเนื้อหาในจดหมายคือ อะไร นั่นคือ การทางานในชั้นขนส่งจะนาข้อมูลจากชั้นส่วนงานมาเก็บ และระบุที่อยู่ แล้วส่งไปตามระบบ โดยในขั้นตอนจะยัง ไม่รู้ว่าต้องขนส่งไปที่ใด จะรู้ก็ต่อเมื่อชั้นขนส่งส่งข้อมูลไปยังชั้นเครือข่าย ซึ่งค้นหาเส้นทางที่เหมาะสมในการถ่ายโอนข้อมูล จากนั้นเมื่อชั้นเครือข่ายสามารถจัดการให้เครื่องต้นทาง และเครื่องปลายทางสามารถมองเห็นกันได้ จะเป็นการส่งข้อมูลในชั้น เชื่อมโยงข้อมูล เพื่อควบคุมความถูกต้องของการสื่อสารข้อมูล สุดท้า ยเป็นขั้นตอนของการส่งข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ตัวกลาง และเรียกชั้นที่ทาหน้าที่นี้ว่าชั้นกายภาพ 2