SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
Baixar para ler offline
[เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                1



               ใบความรูที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101)              เวลา 2 ชั่วโมง               ครูผูสอน ครูณัฐพล บัวอุไร

1. ความหมายของระบบสารสนเทศ
       ระบบสารสนเทศเปนการทํางานเกี่ยวกับขอมูลและสารสนเทศอยางเปนลําดับขั้นตอนจนทําใหเกิด
ระบบสารสนเทศขึ้น ขอมูล สารสนเทศ และระบบสารสนเทศมีความหมายดังนี้

  ขอมูล (Data) คือ ขอเท็จจริงที่ไดจากการรวบรวมขอมูล ซึ่งมีทั้งที่อยูในรูปแบบตัวอักษร ขอความ ตัวเลข
  รูปภาพ และเสียง

  สารสนเทศ (Information) คือ ขอมูลที่ผานการประมวลผล เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ เชน เกรดเฉลี่ย
  ของนักเรียน ยอดขายประจําเดือน และสถิติการขาดงาน

  ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ กระบวนการรวบรวม บันทึก ประมวลผลขอมูลใหเปน
  สารสนเทศ และแจกจายสารสนเทศ เพื่อใชในการวางแผน ควบคุมการทํางาน และชวยในการสนับสนุน
  การตัดสินใจ


                 ข้ อมูล                   ประมวลผล                       สารสนเทศ


2. กระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ
        1. การนําขอมูลเขา (Input) เปนการนําขอมูลดิบ (Data) ที่ไดจากการเก็บรวบรวมเขาสูระบบ เพื่อ
นําไปประมวลผลใหเปนสารสนเทศ เชน บันทึกรายการขายรายวัน บันทึกคะแนนเก็บของนักเรียน และจํานวน
นักเรียนที่ศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
        2. การประมวลผลขอมูล (Process) เปนการคิด คํานวณ หรือแปลงขอมูลดิบใหเปนสารสนเทศ
อาจทําไดดวยการเรียงลําดับ การคํานวณ การจัดรูปแบบ และการเปรียบเทียบ ตัวอยางเชน การคํานวณ
รายไดของผูปกครอง การหาคาเฉลี่ยความสูงของนักเรียนทั้งหอง เปนตน
        3. การแสดงผล (Output) เปนการนําผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลมาแสดงในรูปแบบที่ผูใช
ตองการ เพื่อสงเสริมหรือชวยในการตัดสินใจ
        4. การจัดเก็บขอมูล (Storage) เปนการจัดเก็บขอมูลดิบหรือสารสนเทศทั้งหมดที่เกี่ยวของกับระบบ
สารสนเทศ เนื่องจากการนําขอมูลดิบเขาสูระบบมีการจัดเก็บจนถึงระยะเวลาหนึ่งแลวจึงนําไปประมวลผล


                 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]               2

หรือสารสนเทศที่ไดจากการประมวลผลก็ตองจัดเก็บเพื่อนําไปเปรียบเทียบกับสารสนเทศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยวัตถุประสงคของการจัดเก็บสารสนเทศ คือ เพื่อนํากับมาใชใหมในอนาคตนั่นเอง

3. ลักษณะที่ดีของระบบสารสนเทศ
       1. เชื่อถือได (Reliable) ระบบสารสนเทศตองผลิตสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือ โดยพิจารณาจาก
                  ความถูกตองแมนยํา (Accurate) ระบบสารสนเทศตองมีการประมวลผลขอมูลไดผลลัพธ
                      ที่ถูกตองแมนยํา
                  ความสมบูรณครบถวน (Complete) ระบบสารสนเทศที่ดีตองมีฟงกชันการทํางาน
                      ครบถวน เพื่อตอบสนองความตองการใชงานของผูใชไดมากที่สุด
       2. เขาใจงาย (Simple) ระบบสารสนเทศที่ดีตองใชงานงาย ใชเวลาในการใชงานไมนาน
       3. ทันตอเวลา (Timely) ระบบสารสนเทศตองผลิตสารสนเทศใหทันตอเหตุการณ มีระยะเวลาใน
       การรอคอยไมนาน
       4. คุมราคา (Economical) ระบบสารสนเทศที่นํามาใชงานตองใหผลตอบแทนที่คุมคากับการลงทุน
       5. ตรวจสอบได (Verifiable) ระบบสารสนเทศตองสามารถตรวจสอบผลลัพธจากการประมวลผล
       ไดวา ผลลัพธนั้นหามาไดอยางไร
       6. ยืดหยุน (Flexible) ระบบสารสนเทศตองสามารถปรับเปลี่ยนใหเขากับเหตุการณปจจุบันได เชน
       เมื่อมีการเปลี่ยนกฎหมายใหเพิ่มภาษีมูลคาเพิ่ม ระบบสารสนเทศตองสามารถปรับเปลี่ยนใหถูกตอง
       ตรงตามกฎหมาย หรือสามารถขยายขีดความสามารถใหรองรับการทํางานของผูใชหลายคนได
       7. สอดคลองกับความตองการ (Relevant) ระบบสารสนเทศตองผลิติสารสนเทศที่มีความเกี่ยวของ
       กับการทํางาน สามารถนําไปใชในการตัดสินใจได
       8. สะดวกในการเขาถึง (Accessible) ระบบสารสนเทศตองอํานวยความสะดวกใหผูใชสามารถ
       เขาถึงขอมูลไดงาย
       9. ความปลอดภัย (Secure) ระบบสารสนเทศตองมีระบบรักษาความปลอดภัย เพื่อปองกันการ
       เขาถึงขอมูลที่ไมไดรับอนุญาต หรือตองมีแผนการสํารองขอมูลและกูคืนขอมูลที่อาจเกิดความเสียหาย
       จากการใชงานได




                 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
Ko Kung
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
Pichamon Wongsurapinant
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
nprave
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Orapan Chamnan
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
Meaw Sukee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Warakon Phommanee
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
airly2011
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างรายวิชาคอมพิวเตอร์ 1
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศโครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf

งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
Tawatchai Sangpukdee
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
Pokypoky Leonardo
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
ฐนกร คำเรือง
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
Tay Chaloeykrai
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
chutikan
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Timmy Printhong
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
053681478
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf (20)

ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษางาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
40984682 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ...
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
1
11
1
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwpด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201pwp
 
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22
ด.ญ.ชุติกาญจน์ ประยูร ม.201เลขที่22
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

Mais de Nattapon

รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
Nattapon
 

Mais de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf

  • 1. [เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 1 ใบความรูที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101) เวลา 2 ชั่วโมง ครูผูสอน ครูณัฐพล บัวอุไร 1. ความหมายของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเปนการทํางานเกี่ยวกับขอมูลและสารสนเทศอยางเปนลําดับขั้นตอนจนทําใหเกิด ระบบสารสนเทศขึ้น ขอมูล สารสนเทศ และระบบสารสนเทศมีความหมายดังนี้ ขอมูล (Data) คือ ขอเท็จจริงที่ไดจากการรวบรวมขอมูล ซึ่งมีทั้งที่อยูในรูปแบบตัวอักษร ขอความ ตัวเลข รูปภาพ และเสียง สารสนเทศ (Information) คือ ขอมูลที่ผานการประมวลผล เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจ เชน เกรดเฉลี่ย ของนักเรียน ยอดขายประจําเดือน และสถิติการขาดงาน ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ กระบวนการรวบรวม บันทึก ประมวลผลขอมูลใหเปน สารสนเทศ และแจกจายสารสนเทศ เพื่อใชในการวางแผน ควบคุมการทํางาน และชวยในการสนับสนุน การตัดสินใจ ข้ อมูล ประมวลผล สารสนเทศ 2. กระบวนการทํางานของระบบสารสนเทศ 1. การนําขอมูลเขา (Input) เปนการนําขอมูลดิบ (Data) ที่ไดจากการเก็บรวบรวมเขาสูระบบ เพื่อ นําไปประมวลผลใหเปนสารสนเทศ เชน บันทึกรายการขายรายวัน บันทึกคะแนนเก็บของนักเรียน และจํานวน นักเรียนที่ศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 2. การประมวลผลขอมูล (Process) เปนการคิด คํานวณ หรือแปลงขอมูลดิบใหเปนสารสนเทศ อาจทําไดดวยการเรียงลําดับ การคํานวณ การจัดรูปแบบ และการเปรียบเทียบ ตัวอยางเชน การคํานวณ รายไดของผูปกครอง การหาคาเฉลี่ยความสูงของนักเรียนทั้งหอง เปนตน 3. การแสดงผล (Output) เปนการนําผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลมาแสดงในรูปแบบที่ผูใช ตองการ เพื่อสงเสริมหรือชวยในการตัดสินใจ 4. การจัดเก็บขอมูล (Storage) เปนการจัดเก็บขอมูลดิบหรือสารสนเทศทั้งหมดที่เกี่ยวของกับระบบ สารสนเทศ เนื่องจากการนําขอมูลดิบเขาสูระบบมีการจัดเก็บจนถึงระยะเวลาหนึ่งแลวจึงนําไปประมวลผล ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 2. [เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 2 หรือสารสนเทศที่ไดจากการประมวลผลก็ตองจัดเก็บเพื่อนําไปเปรียบเทียบกับสารสนเทศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยวัตถุประสงคของการจัดเก็บสารสนเทศ คือ เพื่อนํากับมาใชใหมในอนาคตนั่นเอง 3. ลักษณะที่ดีของระบบสารสนเทศ 1. เชื่อถือได (Reliable) ระบบสารสนเทศตองผลิตสารสนเทศที่มีความนาเชื่อถือ โดยพิจารณาจาก  ความถูกตองแมนยํา (Accurate) ระบบสารสนเทศตองมีการประมวลผลขอมูลไดผลลัพธ ที่ถูกตองแมนยํา  ความสมบูรณครบถวน (Complete) ระบบสารสนเทศที่ดีตองมีฟงกชันการทํางาน ครบถวน เพื่อตอบสนองความตองการใชงานของผูใชไดมากที่สุด 2. เขาใจงาย (Simple) ระบบสารสนเทศที่ดีตองใชงานงาย ใชเวลาในการใชงานไมนาน 3. ทันตอเวลา (Timely) ระบบสารสนเทศตองผลิตสารสนเทศใหทันตอเหตุการณ มีระยะเวลาใน การรอคอยไมนาน 4. คุมราคา (Economical) ระบบสารสนเทศที่นํามาใชงานตองใหผลตอบแทนที่คุมคากับการลงทุน 5. ตรวจสอบได (Verifiable) ระบบสารสนเทศตองสามารถตรวจสอบผลลัพธจากการประมวลผล ไดวา ผลลัพธนั้นหามาไดอยางไร 6. ยืดหยุน (Flexible) ระบบสารสนเทศตองสามารถปรับเปลี่ยนใหเขากับเหตุการณปจจุบันได เชน เมื่อมีการเปลี่ยนกฎหมายใหเพิ่มภาษีมูลคาเพิ่ม ระบบสารสนเทศตองสามารถปรับเปลี่ยนใหถูกตอง ตรงตามกฎหมาย หรือสามารถขยายขีดความสามารถใหรองรับการทํางานของผูใชหลายคนได 7. สอดคลองกับความตองการ (Relevant) ระบบสารสนเทศตองผลิติสารสนเทศที่มีความเกี่ยวของ กับการทํางาน สามารถนําไปใชในการตัดสินใจได 8. สะดวกในการเขาถึง (Accessible) ระบบสารสนเทศตองอํานวยความสะดวกใหผูใชสามารถ เขาถึงขอมูลไดงาย 9. ความปลอดภัย (Secure) ระบบสารสนเทศตองมีระบบรักษาความปลอดภัย เพื่อปองกันการ เขาถึงขอมูลที่ไมไดรับอนุญาต หรือตองมีแผนการสํารองขอมูลและกูคืนขอมูลที่อาจเกิดความเสียหาย จากการใชงานได ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา