SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
หน่วยที 3
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
จุดประสงค์ทัวไป
1. มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับลักษณะโปรแกรมทีดี
2. มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับวงจรของการพัฒนาโปรแกรมแต่ละชันได้
3. มีความรู้ความสามารถในการอธิบายแนวทางสําหรับเขียนโปรแกรม
อย่างมีระบบ
4. มีความรู้ความสามารถในการอธิบายวิธีการวิเคราะห์แก้ปัญหาเพือการ
เขียนโปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. ผู้เรียนอธิบายคุณลักษณะของโปรแกรมทีดีได้
2. ผู้เรียนอธิบายวงจรการพัฒนาโปรแกรมได้
3. ผู้เรียนอธิบายข้อพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับพัฒนา
โปรแกรมได้
เนือหาสาระ
1. คุณลักษณะของโปรแกรมทีดี
2. วงจรการพัฒนาโปรแกรม
3. ข้อพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับพัฒนาโปรแกรม
4. แบบฝึกหัดหลังเรียน
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
1. คุณลักษณะของโปรแกรมทีดี
การเขียนโปรแกรมให้ทํางานงานหนึงนัน สามารถเขียนได้หลายวิธี
โดยแต่ละวิธีในการเขียนอาจจะได้ผลลัพธ์ออกมาเหมือนกัน แม้ว่าจะมีวิธีการ
เขียนหรือขันตอนการทํางานในโปรแกรมไม่เหมือนกันก็ตาม การเขียน
โปรแกรมในงานบางงานผลลัพธ์ทีได้จะไม่ถูกต้องเสมอไป ตัวอย่างเช่นการ
เขียนโปรแกรมสําหรับหารเลข โดยให้โปรแกรมรับค่าตัวเลขทางแป้ นพิมพ์สอง
ค่า แล้วนําค่านันมาหารกัน อาจเป็นไปได้ว่าคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลลัพธ์
การหารออกมาได้ แต่ถ้าหากมีการป้ อนค่าเป็นศูนย์เข้าไปคอมพิวเตอร์ก็ไม่
สามารถคํานวณได้ ถ้าหากผู้เขียนโปรแกรมไม่ได้ตรวจสอบตรงจุดนีก็ทําให้
โปรแกรมทีเขียนออกมาเป็นโปรแกรมทีไม่สมบูรณ์โปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
บางโปรแกรมทีทํางานได้ดี ทํางานได้ถูกต้อง แต่ถ้าหากต้องการพัฒนาต่อ
หรือปรับปรุงโปรแกรมให้ดีขึนทําได้ยาก ก็ไม่ถือว่าโปรแกรมนันมีคุณลักษณะ
ของโปรแกรมทีดี อาจเนืองมาจากผู้ทีเขียนโปรแกรมไว้ก่อนหน้านันไม่ได้มีการ
จดบันทึก ไม่ได้มีการเขียนคําอธิบายขันตอนต่างๆให้ผู้ทีต้องการพัฒนาต่อ
สามารถเข้าใจได้ง่ายๆ
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3 เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
1. มีความถูกต้องและเชือถือได้ (Correctness and Reliability)
โปรแกรมทีดีต้องให้ผลลัพธ์ทีถูกต้องแม่นยํา ไม่คลาดเคลือน โปรแกรมจึง
ต้องมีความสมบูรณ์มากทีสุดคือ ผ่านการทดสอบทีครอบคลุม โปรแกรม
ต้องนิง ไม่ค่อยเกิดปัญหา เพราะอาจถูกนําไปใช้ในการตัดสินใจสําคัญๆ
ของผู้บริหาร
2. มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ (User-friendliness) ปัจจุบันมีผู้ใช้
โปรแกรมในการทํางานขึน ในจํานวนนีมีผู้ใช้ทีเป็นผู้เริมต้นและไม่มี
พืนฐานทางด้านคอมพิวเตอร์เลย และมีแนวโน้มเพิมมากขึน การสร้างให้
โปรแกรมใช้ง่ายและสะดวกจึงเป็นเรืองทีมีความสําคัญ
คุณลักษณะของโปรแกรมทีดี ควรมีลักษณะดังต่อไปนี
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
3. ค่าใช้จ่ายตํา (Low Cost) ก่อนการพัฒนาต้องวางแผนและประเมิน
ค่าใช้จ่าย เมือพัฒนาก็ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามแผน ในมุมมอง
ของผู้ใช้โปรแกรม จะต้องทํางานได้คุ้มกับเงินทีจ่าย ในมุมมองของผู้พัฒนา
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาต้องตํากว่าราคาทีเสนอแก่ลูกค้า
4. ต้องอ่านง่ายและสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ (Readability &
Reusability) โปรแกรมทีมีความสามารถมาก มักมีโครงสร้างทีใหญ่และ
ซับซ้อน จึงควรมีการออกแบบเป็นโมดูล (Module) ย่อยๆ ทีมีอิสระต่อกัน
และเรียบง่าย เพือให้ผู้พัฒนาโปรแกรมคนอืนสามารถเข้าใจนําไปพัฒนาต่อ
ให้เหมาะสมกับยุคสมัยได้
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
5. มีความปลอดภัย (Security) ข้อมูลสําคัญมีแนวโน้มในการเก็บไว้
ในคอมพิวเตอร์เพิมมากขึน รวมถึงเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต ทําให้เกิด
ความเสียงในเรืองของความปลอดภัยของข้อมูล
6. ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน ปัจจุบันทังเทคโนโลยีและวิธีการ
ทํางานเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่เช่นนันแล้ว กว่าโปรแกรมจะเสร็จ
ความต้องการอาจเปลียนไปแล้ว และการส่งมอบงานก็ต้องเป็นไปตามที
ประเมินไว้
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
2. วงจรการพัฒนาโปรแกรม
ในการเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรมนัน โปรแกรมเมอร์ต้องมีการ
เตรียมงานเกียวกับการเขียนโปรแกรมอย่างเป็นขันตอน เรียกว่า วงจรการ
พัฒนาโปรแกรม (Program Development Life Cycle: PDLC) ประกอบด้วย
6 ขันตอนดังนี
1. ขันวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis&Feasibility Study)
2. ขันวางแผนแก้ไขปัญหา (Algorithm Design)
3. ขันดําเนินการเขียนโปรแกรม (Program Coding)
4. ขันทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing&Debugging)
5. ขันการเขียนเอกสารประกอบ (Documentation)
6. ขันบํารุงรักษา (Program Maintenance)
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ในการทํากิจกรรมต่างๆ ในแต่ละขันตอน จะต้องมีการตรวจสอบ
ความถูกต้องให้แน่นอนก่อนทีจะกิจกรรมต่อไป สําหรับในบางกรณีถ้าหาก
พบว่ามีปัญหาบางอย่างเกิดขึนก็อาจมีการย้อนไปตรวจสอบกิจกรรมทีเคย
ทํามาก่อนหน้านีแล้วก็ได้ สําหรับในกิจกรรมที 5 อาจทําไปพร้อมๆกับ
กิจกรรมที 1 ถึงกิจกรรมที 4 เลยก็ได้
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
วิธีการทางคอมพิวเตอร์เป็นขันตอนในการจัดทําโปรแกรม ทีช่วยให้
การเขียนโปรแกรมดําเนินอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลลัพธ์ตามทีมุ่ง
หมาย เพราะแต่ละขันตอนจะช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบ การเรียบเรียง
แนวคิดมีความชัดเจน ไม่สับสน และเกิดความง่ายต่อการเขียนหรือพัฒนา
โปรแกรม แม้ว่าในปัจจุบันจะมีวิธีการสมัยใหม่เกิดขึน เช่น เทคโนโลยีการ
เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ แต่วิธีการทางคอมพิวเตอร์ ยังเป็นสิงทีจําเป็นและ
น่ากระทํา โดยเฉพาะอย่างยิงผู้ทีเพิงเริมต้นใหม่กับงานเขียนโปรแกรม
เพราะให้แนวคิดของการพัฒนาโปรแกรมเป็นระเบียบไม่สับสน
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การวิเคราะห์ความต้องการ เป็นการทําความเข้าใจกับปัญหา และค้นหาสิง
ทีต้องการ นันคือศึกษาวิเคราะห์โดยละเอียดว่า ต้องการผลลัพธ์อะไร ต้อง
ใช้ข้อมูลอะไรเพือให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการและมีขันตอนการประมวล
อย่างไรบ้าง บางครังจึงเรียกขันตอนนีว่า การวิเคราะห์ปัญหาหรือการ
วิเคราะห์งาน การวิเคราะห์ความต้องการจึงเป็นขันตอนแรกก่อนทีจะ
เริมต้นเขียนโปรแกรมและถือเป็นขันตอนทีสําคัญทีสุด ก่อนถึงขันวางแผน
แก้ไขปัญหาและดําเนินการเขียนโปรแกรม
โดยสรุปแล้ว การวิเคราะห์งาน เป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output)
ข้อมูลนําเข้า (Input) และวิธีการประมวลผล (Process) ทีจะใช้เขียน
โปรแกรม นันเอง
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
1. ขันวิเคราะห์ความต้องการ
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
โดยทัวไปนิยมแบ่งวิธีการวิเคราะห์งานเป็น 5 หัวข้อ ได้แก่
1. กําหนดขอบเขตปัญหา โดยกําหนดรายละเอียดให้ชัดเจนว่าจะให้
คอมพิวเตอร์ทําอะไร ตัวแปรค่าคงทีทีต้องใช้ลักษณะใด
2. กําหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ (Input
Specification) โดยต้องรู้ว่าข้อมูลทีจะส่งเข้าไปเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง
เพือให้โปรแกรมทําการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์
3. กําหนดรูปแบบผลลัพธ์ (Output Specification) ลักษณะการ
แสดงผลทางหน้าจอว่าจะให้มีรูปร่างอย่างไรโดยคํานึงถึงผู้ใช้เป็นหลักใน
การออกแบบโปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
4. กําหนดตัวแปรทีใช้ (Variables) เพือบอกว่าจะใช้ตัวแปรอะไร
แทนข้อมูลนําเข้าหรือแทนค่าทีอยู่ในระหว่างการประมวลผล ตลอดจนตัว
แปรทีใช้แสดงผลลัพธ์
5. กําหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification) โดยจะต้องรู้
ว่าจะให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลอย่างไรจึงได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดย
ต้องวางแผนวิธีการคิดต่างๆ และนํามาเรียงเป็นลําดับให้ถูกต้องเพือให้ได้
คําตอบทีต้องการ
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ตัวอย่างการวิเคราะห์ความต้องการ
โจทย์ จงแก้ปัญหาเพือหาพืนทีของรูปสามเหลียม โดยรับค่าความกว้าง
และความสูงจากผู้ใช้ทางแป้นพิมพ์
วิเคราะห์งาน
1. สิงทีต้องการ
• พืนทีของรูปสามเหลียม
• รับค่าข้อมูลความกว้างและความสูงของรูปสามเหลียมทาง
แป้นพิมพ์
2. รูปแบบผลลัพธ์
• แสดงผลลัพธ์ของพืนทีรูปสามเหลียมเป็นตัวเลข
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
3. ข้อมูลนําเข้า
• ค่าความกว้างของรูปสามเหลียม
• ค่าความสูงของรูปสามเหลียม
4. ตัวแปรทีใช้
• ค่า W แทน ความกว้างของรูปสามเหลียม
• ค่า H แทน ความสูงของรูปสามเหลียม
5. วิธีการประมวลผล
1. เริมต้น
2. รับค่า W และ H
3. คํานวณค่าพืนทีของรูปสามเหลียมจากสูตร พืนทีสามเหลียม = 0.5 x
W x H
4. แสดงค่าพืนทีของรูปสามเหลียม
5. จบการทํางาน
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
2. ขันวางแผนแก้ไขปัญหา
การวางแผนแก้ไขปัญหาเป็นการจัดลําดับการทํางานของโปรแกรม
ตามขันตอนการประมวลผลและสอดคล้องกับวิธีการทํางานของ
คอมพิวเตอร์ ขันตอนนีมักเรียกว่า การออกแบบอัลกอริธึมซึงเป็นแนวทาง
ทีช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึน โดยมีหลายวิธีทีนํามา
ช่วยในการออกแบบ ได้แก่ การเขียนอัลกอรึธึม การเขียนชูโดโค้ด(Pseudo
code) หรือรหัสเทียม และการเขียนผังงาน (Flow-chart) เป็นต้น
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
1. การเขียนอัลกอรึธึม
การเขียนอัลกอรึธึมเป็นการนําเอาลําดับขันตอนการทํางานทีออกแบบ
ไว้ มาเขียนอยู่ในรูปภาษา เขียน หรืออาจเขียนอยู่ในรูปภาษาอังกฤษที
จัดเป็นโคงสร้างไว้เช่นเดียวกับการเขียนรหัสเทียม แต่ต่างตรงทีการ
เขียนอัลกอรึธึมจะเน้นลําดับขันตอนการทํางานเป็นหลัก จึงมีการตัดทอน
รายละเอียดปลีกย่อย ออก
2. การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานเป็นการนําขันตอนการทํางานเขียนเป็นภาพหรือ
สัญลักษณ์ โดยเปลียนจากคําพูดหรือข้อความในการวิเคราะห์งานมาเป็น
รูปภาพก่อน แล้วใช้คําอธิบายช้อความนันๆ เขียนเพิมเติมในรูป รูปภาพ
หรือสัญลักษณ์ดังกล่าวเรียกว่า ผังงาน (Flowchart) เช่น จากตัวอย่างที 1
สามารถนํามาเขียนเป็นผังงานได้
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ตัวอย่าง
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ปัจจุบัน การเขียนผังงานได้รับความนิยมลดลง ด้วยเหตุผลทีว่า
1. ผังงานขนาดใหญ่ เมือเป็นงานโปรแกรมขนาดใหญ่
2. หากมีการปรับปรุงหรือเปลียนขันตอนของวิธีการ การปรับผังงาน
กระทําได้ยาก บางครังต้องเขียนขึนใหม่ทังหมด
ปัจจุบันจึงนิยมเขียนชูโดโค้ดแทนผังงาน
3. การเขียนซูโด้โค้ด (Pseudo Code)
ซูโด้โค้ด หรือ รหัสเทียม เป็นเครืองมือทีนิยมใช้กันมากในการ
ออกแบบโปรมแกรม ช่วยให้โปรแกรมเมรอ์สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย
ขึน ภาษาหรือคําทีใช้เขียนซูโด้โค้ดเป็นการผสมผสานระหว่างคําใน
ภาษาอังกฤษทัวไปกับภาษาคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของรหัสเทียมจึงมีส่วน
ทีคล้ายกับการเขียนโปรแกรมมาก
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ตัวอย่างการคํานวณหาพืนทีสามเหลียม นํามาเขียนซูโด้โค้ดได้ดังนี
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
Area of Triangle
read wide and hight
compute area = 0.5 * wide * hight
display area
end
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
3. ขันดําเนินการเขียนโปรแกรม
ขันการเขียนโปรแกรม เป็นการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาใดภาษาหนึงขึนมา โดยเลือกใช้ภาษาทีเหมาะสมกับลักษณะและ
ประเภทของงาน และความถนัดของผู้เขียน เช่น ถ้าเป็นงาน ทางธุรกิจก็
เลือกใช้ภาษาโคบอล ถ้าเป็นการพิมพ์รายงานก็ใช้ภาษาอาร์พีจี เป็นต้น
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
บางครังการเขียนโปรแกรมอาจจะเขียนลงบนกระดาษทีจัดทําขึนมาเป็น
พิเศษทีเรียกว่า กระดาษลงรหัส (Coding Form) ซึงอาจเป็นกระดาษลง
รหัสเฉพาะภาษานันๆ เช่น กระดาษลงหรัสของภาษาฟอร์แทรน(FORTRAN
Coding Form) เพือให้เกิดความสะดวกต่อการบันทึกโปรแกรมบนสือข้อมูล
เช่น บัตรเจาะ หรือ เทปแม่เหล็ก เพราะจะทําให้เข้าใจรูปแบบและเจาะบัตรได้
อย่างถูกต้อง กระดาษแบบฟอร์มนีจะตีไว้เป็นตารางเท่ากับจํานวนคอลัมน์ของ
บัตร (ถ้าใช้บัตร) ดังนันถ้าต้องการเจาะคําสังลงบนช่องไหนของบัตรก็เขียน
คําสังใส่ลงไปให้ตรงช่องทีมีหมายเลขกํากับไว้ ผู้จัดเตรียมโปรแกรมลงสือ ทํา
การเจาะบัตรตามทีเขียนไว้โดยไม่จําเป็นต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ของภาษานัน แต่
ละบรรทัดของกระดาษลงรหัสจะหมายถึงหมาย 1 บัตร หรือถ้าเป็นสือข้อมูล
อืนๆ ก็หมายถึง แต่ละคําสังกระดาษลงรหัสเหมาะสําหรับงานทีต้องการความ
เป็นระเบียบเรียบร้อยและมีความชัดเจนแก่ผู้จัดเตรียม หรือบันทึกลงสือ
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
รหัส 3204-2007
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
จากตัวอย่างการวิเคราะห์งานและการเขียนซูโดโค้ดของการหาพืนทีรูป
สามเหลียม สามารถนํามา เขียนในโปรแกรมปาสคาล ได้ดังนี
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
Program Example 1;
Var my_wide, my_higth : interger;
Begin
read(my_wide, my_hight);
my_area:=0.5* my_wide * my_hight;
writeIn(‘The Area is : ‘, my_area);
End.
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
4. ขันทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
เป็นการตรวจสอบจุดผิดพลาดของโปรแกรม (Bugs) ทีเขียนขึนและ
ดําเนินการแก้ไขข้อผิดพลาดนัน (เราเรียกว่าการ Debugs) โปรแกรมที
ทํางานไม่ได้ตามวัตถุประสงค์ เรียกโปรแกรม มี Error การ Error ของ
โปรแกรมมักมีมาจาก 2 สาเหตุหลัก คือ
1. ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา (Syntx Error) คือ
ข้อผิดพลาดทีเกิดจากการเขียนโค้ดคําสัง (Source Code) ทีไม่ตรงกับ
ไวยากรณ์ (Syntax Error) ของภาษาโปรแกรมนันๆ ข้อผิดพลาดนีเป็น
ผิดพลาดทีง่ายทีสุดต่อการตรวจหาและแก้ไข เนืองจากจะพบในระหว่างที
มีการแปลภาษาโปรแกรม ถ้ามีข้อผิดพลาดประเภทนีอยู่ ตัวแปล
ภาษาคอมพิวเตอร์จะแจ้งให้ทราบทันที
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาล สังให้คอมพิวเตอร์
พิมพ์ข้อควารมออกมาทางหน้าจอด้วยคําสัง wxritln (‘The Area is :
‘,my_area); เมือมีการแปลภาษาโปรแกรม คอมพิวเตอร์จะตรวจ สอบไว
ยกรณ์ของภาษา พบว่าคําสัง Writln ไม่มีอยู่ในภาษาปาสคาล ดังนันใน
บรรทัดนี คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อผิดพลาดประเภท “Syntax Error”
ออกมาให้เห็น
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
2.ข้อผิดพลาดทีเกิดจากการตีความหมายของปัญหาผิดไป (Logical
Error) เป็นข้อผิดพลาดทีเกิดจากการออกแบบอัลกอริธึม ให้ทํางานผิด
จากวัตถุประสงค์หรือความต้องการ การแก้ไขข้อผิดพลาดประเภทนี
จะต้องทําโดยการตรวจไล่โปรแกรมทีละคําสังเพือหาข้อผิดพลาดนันให้พบ
เช่น ผู้เขียนโปรแกรมต้องการนําค่า A ไปบวกกับค่า B แต่เขียน
เครืองหมายเป็นลบ ก็จะทําให่ค่าทีคํานวณได้ไม่ถูกต้อง ซึงสามารถ
ตรวจสอบข้อผิดพลาดนีโดยใช้ ข้อมูลทดสอบ (Test Data) หรือข้อมูลที
ทราบคําตอบในขันปฏิบัติการ (Execution Run) ถ้าโปรแกรมถูกต้อง
ผลลัพธ์ทีได้จะต้องตรงกับคําตอบทีเราทราบอยู่ก่อนแล้ว
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การตรวจสอบโปรแกรมเพือหาข้อผิดพลาดดังกล่าว อาจจะทําเป็นขันตอน
ดังนี คือ
1.การตรวจสอบก่อนนําโปรแกรมเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ เราเรียกวิธีนีว่า
“Desk Checking” วิธีการนีจะตรวจสอบว่าโปรแกรมสามารถให้ผลลัพธ์
ตามต้องการหรือไม่ เป็นการตรวจสอบข้อผิดพลาด ทางตรรกะโดย
กําหนดข้อมูลชุดหนึงขึนมาแล้วแทนค่าตามขันตอนต่างๆ ทีเขียนเป็น
โปรแกรมไว้ตังแต่ต้นจบ โดยสมมติว่าเป็ นการปฏิบัติงานเครือง
คอมพิวเตอร์ วิธีการเช่นลดข้อผิดพลาดทางตรรกะได้มาก ก่อนจะส่ง
โปรแกรมเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ต่อไป
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
2.การตรวจสอบโดยเครืองคอมพิวเตอร์ เมือผ่านการตรวจสอบในขันแรก
แล้ว ก็ส่งโปรแกรมเข้าเครืองคอมพิวเตอร์พร้อมข้อมูลสมมุติทีทราบ
คําตอบ ขันแรกเครืองคอมพิวเตอร์จะทําการตรวจ Syntax Error หรือ
ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ ถ้ามีทีผิดเครืองคอมพิวเตอร์จะพิมพ์ข่าวสาร
ข้อผิดพลาดนีออกมา ถ้าได้คําตอบตรงตามทีทราบ ก็ค่อนข้างมันใจว่า
โปรแกรมน่าจะถูกต้อง เมือทดสอบโปรแกรมแล้ว สามารถนําโปรแกรม
พร้อมกับข้อมูลจริงเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ เพือทําการประมวลผลได้ต่อไป
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
ขันตอนการทดสอบและแก้ไขหรือปรับวิธีการประมวลให้ถูกต้อง
จากนันก็นํามาทดสอบใหม่
จากตัวอย่างที 3.4 ในการหาจํานวนตัวเลขทีรับเข้าไป ถ้าหากเริมต้น
ตัวนับ count ซึงเป็นหน่วยความจําทีอยู่ภายในเครือง มีค่าเริมต้นเป็น “0”
ก็จะทําให้โปรแกรมทําการนับตัวเลขได้ถูกต้อง แต่ในความเป็นจริง การ
ทํางานของเครืองคอมพิวเตอร์หน่วยความจําทีเก็บตัวนับนีอาจไม่ได้มีค่า
เป็น “0” ก็ได้ซึงจะทําให้การนับของโปรแกรมผิดพลาดขึน ดังนันจะต้อง
ปรับวิธีการประมวลผลใหม่ ให้กําหนดค่าเริมต้นให้กับตัวนับเป็น “0” ทุก
ครัง ซึงสามารถเขียนได้ดังนี
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
วิธีการประมวลผล
1. เริมต้น
2. การกําหนดค่าตัวนับ count ให้มีค่าเท่ากับ “0”
3. อ่านค่าตัวเลขมาเก็บในตัวแปร x ถ้าอ่านไม่ได้ (ตัวเลขหมด) ไป
ขันตอนที 5
4. บวกค่า 1 เข้ากับตัวนับ count และไปขันตอนที 3
5. พิมพ์ค่าตัวนับ count ทางจอภาพ
6. จบการทํางาน
และจากวิธีการประมวลผลข้างต้น ถ้าหากในตอนท้ายของขันตอนที 4
มีการกําหนดให้กระโดดไปขันตอนที 2 ก็จะทําให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องเช่นกัน
เพราะเป็นการกําหนดค่าตัวนับให้เป็น “0” ตลอด
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
วิธีการประมวลผล
1. เริมต้น
2. การกําหนดค่าตัวนับ count ให้มีค่าเท่ากับ “0”
3. อ่านค่าตัวเลขมาเก็บในตัวแปร x
4. ถ้าอ่านไม่ได้ (ตัวเลขหมด) ไปขันตอนที 6
5. บวกค่า 1 เข้ากับตัวนับ count และไปขันตอนที 3
6. พิมพ์ค่าตัวนับ count ทางจอภาพ
7. จบการทํางาน
เมือมีการปรับแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ รวมทังถ้าหากมีการปรับ
วิธีการประมวลผลสมบูรณ์แล้วก็ นําไปเขียนโปรแกรมเพือทดสอบการ
ทํางานของโปรแกรมจริงต่อไป
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
5. ขันการเขียนเอกสาร
หลังจากทดสอบโปรแกรมผ่านแล้ว ควรทําเอกสารประกอบการใช้
โปรแกรมด้วย คือการอธิบายรายละเอียดของโปรแกรมว่า จุดประสงค์ของ
โปรแกรมคืออะไร มีขันตอนการทํางานของโปรแกรมเป็นอย่างไร
ผู้พัฒนาโปรแกรมทีดีควรมีการทําเอกสารประกอบโปรแกรม ทุกขันตอน
ตังแต่ออกแบบโปรแกรมจนถึงการทดสอบโปรแกรม เนืองจากอาจต้องมี
การนําโปรแกรมนันมีปรับปรุง เปลียนแปลงเพือให้ตรงกับความต้องการ
ผู้พัฒนาทีรับช่วงต่อเมือดูเอกสารทีประกอบโปรแกรมจึงจะสามารถทํา
ความเข้าใจได้ง่ายขึน
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
เอกสารประกอบโปรแกรมหรือคู่มือ โดยทัวไปจะมี 2 แบบ คือ
1. คู่มือผู้ใช้ (User Manual) คู่มือนีจะเน้นเรืองการใช้งานโปรแกรม
เป็นหลัก เช่น โปรแกรมนีใช้ทําอะไร วิธีเปิดโปรแกรม วิธีการป้อนข้อมูล
วิธีการพิมพ์เอกสารออกทางเครืองพิมพ์
2. คู่มือโปรแกรมเมอร์ (Programmers Manual) คู่มือนีจะอธิบาย
รายละเอียดต่างๆ เกียวกับชือโปรแกรมส่วนหลัก โปรแกรมย่อย และแต่
ละโปรแกรมย่อยมีหน้าทีอะไร คู่มือโปรแกรมเมอร์จะมีประโยชน์ต่อการ
ปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมในอนาคต
เอกสารประกอบนีอาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเพิมเติมด้วยเมือเวลา
ผ่านไป เนืองจากอาจมีการพบข้อผิดพลาดเพิมเติมอีกในภายหลัง
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
6. ขันบํารุงรักษาโปรแกรม
เป็นขันตอนหลังจากทีใช้โปรแกรมทีสร้างขึนไปแล้วระยะหนึง
จําเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับความเป็นจริง เช่น รูปแบบการ
รายงาน นอกจากนีการบํารุงรักษาโปรแกรมยังรวมไปถึงการรักษา
สือข้อมูลให้อยู่ในสภาพทีพร้อมใช้งานได้เสมอ
สรุปได้ว่า ก่อนทีเราจะเขียนโปรแกรมในงานแต่ละขึน โปรแกรมเมอร์
จะต้องเริมจากนํางานนันมาวิเคราะห์ก่อน โดยแจกแจงงานเป็นส่วนย่อยๆ
หลังจากนันก็นํามาเขียนเป็นผังงานหรือเขียนเป็นซูโด้โค้ด แล้วนําไปเขียน
โปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ทีเลือก เมือเสร็จแล้ว จะต้องทําการ
ทดสอบโปรแกรมก่อนว่าจุดผิดพลาดหรือไม่ ถ้าผ่าน ก็จัดทําเอกสารคู่มือ
สําหรับผู้ใช้โปรแกรม และสําหรับโปรแกรมเมอร์
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
3. ข้อพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับ
พัฒนาโปรแกรม
โดยทัวไปการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงต่างๆ มักมีไวยากรณ์
ภาษา และใช้คําสังคล้ายกันทีมีความใกล้เคียงกับการเขียนรหัสเทียม ใน
ขันตอนการวางแผนแก้ไขปัญหาสําหรับการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
จึงมักข้ามขันตอนการเขียนรหัสเทียม โดยอาจนําผังงาน หรือการเขียน
อัลกอริธึมทีมีมาแปลงเป็นภาษาทีใช้ในการพัฒนาโปรแกรมโดยตรง หรือ
ทํานองกลับกันก็อาจเขียนรหัสเทียมทันที เพือเป็นการประหยัดเวลา ลด
ความสับสนในการทําความเข้าใจลําดับการทํางานในโปรแกรม และลด
ความซําซ้อนในการทํางาน
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
อย่างไรก็ตาม การเขียนผังงานหรือการเขียนอัลกอริธึม จะมีความ
สะดวกในการตรวจสอบลําดับการทํางานของโปรแกรมในเบืองต้นเป็น
หลัก และการเขียนรหัสเทียมก็ยังเป็นการฝึกทักษะการคิด โดนเฉพาะการ
ลงรายละเอียดปลีกย่อยของการทํางานในโปรแกรมในแต่ละขันตอน
ก่อนทีจะลงมือเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์จริงๆ ในขันตอนการ
เขียนโปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
4. รูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นันมีลักษณะการเขียนโปรแกรมอยู่
หลายลักษณะ ซึงขึนกับภาษาคอมพิวเตอร์ทีเลือกใช้ด้วย รูปแบบการเขียน
โปรแกรมทีนิยมใช้กันมีดังนี
การเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-Dow Programming)
เป็นการวางแผนการเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์เป็นลําดับ โดยมองปัญหา
ตังแต่ต้นจนจบการทํางาน ถ้าหากโมดูลใดมีความซับซ้อนก็จะให้แบ่งโมดูลนัน
ออกเป็นโมดูลย่อย และให้โมดูลหลักเรียกโมดูลย่อยต่างๆมาใช้งานเป็นลําดับ
ในการออกแบบโปรแกรมจะเขียนโครงสร้างต่างๆ เป็นลักษณะสีเหลียมผืนผ้า
โดยเขียนการทํางานแต่ละส่วนเรียงลําดับกันไป จากนันจึงนําโครงสร้างที
ออกแบบขึนมาพัฒนาเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์(Modular Prpgramming)
เป็นการเขียนโปรแกรมทีแยกการทํางานต่างๆ ออกเป็นโปรแกรม
ย่อยขนาดเล็กหลายโปรแกรมแต่ละโปรแกรมเรียกว่า โมดูล (Module)
ซึงสามารถทํางานได้อิสระจากโมดูลอืนๆ ทําให้ถ้าหากโปรแกรมมีความ
ผิดพลาดก็สามารถแก้ไขโมดูลทีผิดพลาดได้ง่ายขึน สําหรับในการเขียน
โปรแกรมจะต้องมีโมดูลหลักทีทําหน้าทีควบคุมการทํางานทังหมด ว่า
จะเรียกโมดูลใดมาใช้งานก่อน โมดูลแต่ละโมดูลสามารถเรียกโมดูล
ย่อยๆ ได้อีก และแต่ละโมดูลอาจมีการส่งการควบคุมไปยังโมดูลอืนๆ
ได้อีกด้วย
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมในลักษณะโมดูลโปรแกรมย่อยจะมีสอง
ประเภทคือ โปรแกรมย่อยภายใน (Internal Subroutine) ทีเป็น
โปรแกรมย่อยทีผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึนเพือเป็นส่วนหนึงของ
โปรแกรมหลัก แต่สามารถเรียกใช้ได้ อีกประเภทหนึงคือโปรแกรมย่อย
ภายนอก (External Subrotine) ซึงเป็นโปรแกรมย่อยทีเก็บไว้ในใน
ไลบรารี (library) ทีสามารถเรียกใช้ได้ และสามารถนําไปใช้ในงาน
อืนๆ ได้อีก
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
จากรูปจะเห็นว่าโปรแกรมหลัก หรือโมดูลหลักจะมีการเรียกโมดูล
โปรแกรมย่อย เมือทําโมดูลโปรแกรมย่อยจบแล้ว โปรแกรมจะกลับมา
ทําโปรแกรมหลักต่อไป การเรียกโมดูลโปรแกรมย่อยนี สามารถเรียกใช้
ได้หลายๆ ครังตามต้องการ สําหรับการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษานัน
จะมีคําสังสําหรับเรียกโมดูลโปรแกรมย่อยแตกต่างกันไป และโมดูล
โปรแกรมย่อยก็จะมีคําสังเพือบอกว่าโปรแกรมย่อยนันจบลงแล้ว
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
เป็นการเขียนโปรแกรมแนวใหม่ทีมองการทํางานต่างๆ เป็นวัตถุ
หรือออปเจ็ต โดยทีจะมีการบอกว่าออบเจ็กต์นันคืออะไร ใช้ทําอะไร
เมือโปรแกรมต้องการใช้ ก็สามารถนําออบเจ็กต์นันมาใช้ได้ปรับขนาด
ได้ เปลียนสีได้ ในการเขียนโปรแกรมจะทําการสร้างออบเจ็กต์ต่างๆ
เพือสําหรับเรียกใช้งานภายหลัง
สรุปท้ายบท
ในบทนี เป็นการศึกษาเกียวกับวงจรการออกแบบ และพัฒนา
โปรแกรม ทําให้เราทราบถึงคุณลักษณะของโปรแกรมทีดี ขันตอนวงจร
การพัฒนาโปรแกรมอย่างละเอียด และข้อพิจารณาในการออกแบบการ
ทํางานสําหรับพัฒนาโปรแกรม
หน่วยที 3
รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나
Aoy Zied
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
JL'mind Chutimon
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
Passawan' Koohar
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Latcha MaMiew
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kru.Mam Charoensansuay
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kru.Mam Charoensansuay
 
สองถ งแปด
สองถ งแปดสองถ งแปด
สองถ งแปด
bmbeam
 

Mais procurados (20)

ใบงานที่ 5-8
ใบงานที่ 5-8ใบงานที่ 5-8
ใบงานที่ 5-8
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4ใบความรู้ที่ 4
ใบความรู้ที่ 4
 
ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나ใบงานที่ 2 8 คอม나
ใบงานที่ 2 8 คอม나
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
K8 (1)
K8 (1)K8 (1)
K8 (1)
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สองถ งแปด
สองถ งแปดสองถ งแปด
สองถ งแปด
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
 

Semelhante a Lesson3 devenlopment-program

รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Paweena Kittitongchaikul
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
prang00
 

Semelhante a Lesson3 devenlopment-program (20)

ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหาใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
ใบความรู้กระบวนการแก้ปัญหา
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 

Lesson3 devenlopment-program

  • 1. หน่วยที 3 เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 2. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม จุดประสงค์ทัวไป 1. มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับลักษณะโปรแกรมทีดี 2. มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับวงจรของการพัฒนาโปรแกรมแต่ละชันได้ 3. มีความรู้ความสามารถในการอธิบายแนวทางสําหรับเขียนโปรแกรม อย่างมีระบบ 4. มีความรู้ความสามารถในการอธิบายวิธีการวิเคราะห์แก้ปัญหาเพือการ เขียนโปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 3. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ผู้เรียนอธิบายคุณลักษณะของโปรแกรมทีดีได้ 2. ผู้เรียนอธิบายวงจรการพัฒนาโปรแกรมได้ 3. ผู้เรียนอธิบายข้อพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับพัฒนา โปรแกรมได้ เนือหาสาระ 1. คุณลักษณะของโปรแกรมทีดี 2. วงจรการพัฒนาโปรแกรม 3. ข้อพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับพัฒนาโปรแกรม 4. แบบฝึกหัดหลังเรียน เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 4. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 1. คุณลักษณะของโปรแกรมทีดี การเขียนโปรแกรมให้ทํางานงานหนึงนัน สามารถเขียนได้หลายวิธี โดยแต่ละวิธีในการเขียนอาจจะได้ผลลัพธ์ออกมาเหมือนกัน แม้ว่าจะมีวิธีการ เขียนหรือขันตอนการทํางานในโปรแกรมไม่เหมือนกันก็ตาม การเขียน โปรแกรมในงานบางงานผลลัพธ์ทีได้จะไม่ถูกต้องเสมอไป ตัวอย่างเช่นการ เขียนโปรแกรมสําหรับหารเลข โดยให้โปรแกรมรับค่าตัวเลขทางแป้ นพิมพ์สอง ค่า แล้วนําค่านันมาหารกัน อาจเป็นไปได้ว่าคอมพิวเตอร์สามารถแสดงผลลัพธ์ การหารออกมาได้ แต่ถ้าหากมีการป้ อนค่าเป็นศูนย์เข้าไปคอมพิวเตอร์ก็ไม่ สามารถคํานวณได้ ถ้าหากผู้เขียนโปรแกรมไม่ได้ตรวจสอบตรงจุดนีก็ทําให้ โปรแกรมทีเขียนออกมาเป็นโปรแกรมทีไม่สมบูรณ์โปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 5. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม บางโปรแกรมทีทํางานได้ดี ทํางานได้ถูกต้อง แต่ถ้าหากต้องการพัฒนาต่อ หรือปรับปรุงโปรแกรมให้ดีขึนทําได้ยาก ก็ไม่ถือว่าโปรแกรมนันมีคุณลักษณะ ของโปรแกรมทีดี อาจเนืองมาจากผู้ทีเขียนโปรแกรมไว้ก่อนหน้านันไม่ได้มีการ จดบันทึก ไม่ได้มีการเขียนคําอธิบายขันตอนต่างๆให้ผู้ทีต้องการพัฒนาต่อ สามารถเข้าใจได้ง่ายๆ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 6. หน่วยที 3 เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 1. มีความถูกต้องและเชือถือได้ (Correctness and Reliability) โปรแกรมทีดีต้องให้ผลลัพธ์ทีถูกต้องแม่นยํา ไม่คลาดเคลือน โปรแกรมจึง ต้องมีความสมบูรณ์มากทีสุดคือ ผ่านการทดสอบทีครอบคลุม โปรแกรม ต้องนิง ไม่ค่อยเกิดปัญหา เพราะอาจถูกนําไปใช้ในการตัดสินใจสําคัญๆ ของผู้บริหาร 2. มีความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ (User-friendliness) ปัจจุบันมีผู้ใช้ โปรแกรมในการทํางานขึน ในจํานวนนีมีผู้ใช้ทีเป็นผู้เริมต้นและไม่มี พืนฐานทางด้านคอมพิวเตอร์เลย และมีแนวโน้มเพิมมากขึน การสร้างให้ โปรแกรมใช้ง่ายและสะดวกจึงเป็นเรืองทีมีความสําคัญ คุณลักษณะของโปรแกรมทีดี ควรมีลักษณะดังต่อไปนี รหัส 3204-2007
  • 7. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 3. ค่าใช้จ่ายตํา (Low Cost) ก่อนการพัฒนาต้องวางแผนและประเมิน ค่าใช้จ่าย เมือพัฒนาก็ต้องควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามแผน ในมุมมอง ของผู้ใช้โปรแกรม จะต้องทํางานได้คุ้มกับเงินทีจ่าย ในมุมมองของผู้พัฒนา ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาต้องตํากว่าราคาทีเสนอแก่ลูกค้า 4. ต้องอ่านง่ายและสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ (Readability & Reusability) โปรแกรมทีมีความสามารถมาก มักมีโครงสร้างทีใหญ่และ ซับซ้อน จึงควรมีการออกแบบเป็นโมดูล (Module) ย่อยๆ ทีมีอิสระต่อกัน และเรียบง่าย เพือให้ผู้พัฒนาโปรแกรมคนอืนสามารถเข้าใจนําไปพัฒนาต่อ ให้เหมาะสมกับยุคสมัยได้ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 8. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 5. มีความปลอดภัย (Security) ข้อมูลสําคัญมีแนวโน้มในการเก็บไว้ ในคอมพิวเตอร์เพิมมากขึน รวมถึงเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต ทําให้เกิด ความเสียงในเรืองของความปลอดภัยของข้อมูล 6. ใช้เวลาในการพัฒนาไม่นาน ปัจจุบันทังเทคโนโลยีและวิธีการ ทํางานเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่เช่นนันแล้ว กว่าโปรแกรมจะเสร็จ ความต้องการอาจเปลียนไปแล้ว และการส่งมอบงานก็ต้องเป็นไปตามที ประเมินไว้ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 9. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 2. วงจรการพัฒนาโปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมหรือพัฒนาโปรแกรมนัน โปรแกรมเมอร์ต้องมีการ เตรียมงานเกียวกับการเขียนโปรแกรมอย่างเป็นขันตอน เรียกว่า วงจรการ พัฒนาโปรแกรม (Program Development Life Cycle: PDLC) ประกอบด้วย 6 ขันตอนดังนี 1. ขันวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis&Feasibility Study) 2. ขันวางแผนแก้ไขปัญหา (Algorithm Design) 3. ขันดําเนินการเขียนโปรแกรม (Program Coding) 4. ขันทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing&Debugging) 5. ขันการเขียนเอกสารประกอบ (Documentation) 6. ขันบํารุงรักษา (Program Maintenance) เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 10. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ในการทํากิจกรรมต่างๆ ในแต่ละขันตอน จะต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องให้แน่นอนก่อนทีจะกิจกรรมต่อไป สําหรับในบางกรณีถ้าหาก พบว่ามีปัญหาบางอย่างเกิดขึนก็อาจมีการย้อนไปตรวจสอบกิจกรรมทีเคย ทํามาก่อนหน้านีแล้วก็ได้ สําหรับในกิจกรรมที 5 อาจทําไปพร้อมๆกับ กิจกรรมที 1 ถึงกิจกรรมที 4 เลยก็ได้ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 11. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม วิธีการทางคอมพิวเตอร์เป็นขันตอนในการจัดทําโปรแกรม ทีช่วยให้ การเขียนโปรแกรมดําเนินอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลลัพธ์ตามทีมุ่ง หมาย เพราะแต่ละขันตอนจะช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบ การเรียบเรียง แนวคิดมีความชัดเจน ไม่สับสน และเกิดความง่ายต่อการเขียนหรือพัฒนา โปรแกรม แม้ว่าในปัจจุบันจะมีวิธีการสมัยใหม่เกิดขึน เช่น เทคโนโลยีการ เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ แต่วิธีการทางคอมพิวเตอร์ ยังเป็นสิงทีจําเป็นและ น่ากระทํา โดยเฉพาะอย่างยิงผู้ทีเพิงเริมต้นใหม่กับงานเขียนโปรแกรม เพราะให้แนวคิดของการพัฒนาโปรแกรมเป็นระเบียบไม่สับสน เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 12. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การวิเคราะห์ความต้องการ เป็นการทําความเข้าใจกับปัญหา และค้นหาสิง ทีต้องการ นันคือศึกษาวิเคราะห์โดยละเอียดว่า ต้องการผลลัพธ์อะไร ต้อง ใช้ข้อมูลอะไรเพือให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการและมีขันตอนการประมวล อย่างไรบ้าง บางครังจึงเรียกขันตอนนีว่า การวิเคราะห์ปัญหาหรือการ วิเคราะห์งาน การวิเคราะห์ความต้องการจึงเป็นขันตอนแรกก่อนทีจะ เริมต้นเขียนโปรแกรมและถือเป็นขันตอนทีสําคัญทีสุด ก่อนถึงขันวางแผน แก้ไขปัญหาและดําเนินการเขียนโปรแกรม โดยสรุปแล้ว การวิเคราะห์งาน เป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนําเข้า (Input) และวิธีการประมวลผล (Process) ทีจะใช้เขียน โปรแกรม นันเอง เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007 1. ขันวิเคราะห์ความต้องการ
  • 13. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม โดยทัวไปนิยมแบ่งวิธีการวิเคราะห์งานเป็น 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. กําหนดขอบเขตปัญหา โดยกําหนดรายละเอียดให้ชัดเจนว่าจะให้ คอมพิวเตอร์ทําอะไร ตัวแปรค่าคงทีทีต้องใช้ลักษณะใด 2. กําหนดลักษณะของข้อมูลเข้าและออกจากระบบ (Input Specification) โดยต้องรู้ว่าข้อมูลทีจะส่งเข้าไปเป็นอย่างไร มีอะไรบ้าง เพือให้โปรแกรมทําการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ 3. กําหนดรูปแบบผลลัพธ์ (Output Specification) ลักษณะการ แสดงผลทางหน้าจอว่าจะให้มีรูปร่างอย่างไรโดยคํานึงถึงผู้ใช้เป็นหลักใน การออกแบบโปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 14. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 4. กําหนดตัวแปรทีใช้ (Variables) เพือบอกว่าจะใช้ตัวแปรอะไร แทนข้อมูลนําเข้าหรือแทนค่าทีอยู่ในระหว่างการประมวลผล ตลอดจนตัว แปรทีใช้แสดงผลลัพธ์ 5. กําหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification) โดยจะต้องรู้ ว่าจะให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลอย่างไรจึงได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดย ต้องวางแผนวิธีการคิดต่างๆ และนํามาเรียงเป็นลําดับให้ถูกต้องเพือให้ได้ คําตอบทีต้องการ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 15. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างการวิเคราะห์ความต้องการ โจทย์ จงแก้ปัญหาเพือหาพืนทีของรูปสามเหลียม โดยรับค่าความกว้าง และความสูงจากผู้ใช้ทางแป้นพิมพ์ วิเคราะห์งาน 1. สิงทีต้องการ • พืนทีของรูปสามเหลียม • รับค่าข้อมูลความกว้างและความสูงของรูปสามเหลียมทาง แป้นพิมพ์ 2. รูปแบบผลลัพธ์ • แสดงผลลัพธ์ของพืนทีรูปสามเหลียมเป็นตัวเลข เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 16. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 3. ข้อมูลนําเข้า • ค่าความกว้างของรูปสามเหลียม • ค่าความสูงของรูปสามเหลียม 4. ตัวแปรทีใช้ • ค่า W แทน ความกว้างของรูปสามเหลียม • ค่า H แทน ความสูงของรูปสามเหลียม 5. วิธีการประมวลผล 1. เริมต้น 2. รับค่า W และ H 3. คํานวณค่าพืนทีของรูปสามเหลียมจากสูตร พืนทีสามเหลียม = 0.5 x W x H 4. แสดงค่าพืนทีของรูปสามเหลียม 5. จบการทํางาน เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 17. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 2. ขันวางแผนแก้ไขปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาเป็นการจัดลําดับการทํางานของโปรแกรม ตามขันตอนการประมวลผลและสอดคล้องกับวิธีการทํางานของ คอมพิวเตอร์ ขันตอนนีมักเรียกว่า การออกแบบอัลกอริธึมซึงเป็นแนวทาง ทีช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึน โดยมีหลายวิธีทีนํามา ช่วยในการออกแบบ ได้แก่ การเขียนอัลกอรึธึม การเขียนชูโดโค้ด(Pseudo code) หรือรหัสเทียม และการเขียนผังงาน (Flow-chart) เป็นต้น เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 18. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 1. การเขียนอัลกอรึธึม การเขียนอัลกอรึธึมเป็นการนําเอาลําดับขันตอนการทํางานทีออกแบบ ไว้ มาเขียนอยู่ในรูปภาษา เขียน หรืออาจเขียนอยู่ในรูปภาษาอังกฤษที จัดเป็นโคงสร้างไว้เช่นเดียวกับการเขียนรหัสเทียม แต่ต่างตรงทีการ เขียนอัลกอรึธึมจะเน้นลําดับขันตอนการทํางานเป็นหลัก จึงมีการตัดทอน รายละเอียดปลีกย่อย ออก 2. การเขียนผังงาน การเขียนผังงานเป็นการนําขันตอนการทํางานเขียนเป็นภาพหรือ สัญลักษณ์ โดยเปลียนจากคําพูดหรือข้อความในการวิเคราะห์งานมาเป็น รูปภาพก่อน แล้วใช้คําอธิบายช้อความนันๆ เขียนเพิมเติมในรูป รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ดังกล่าวเรียกว่า ผังงาน (Flowchart) เช่น จากตัวอย่างที 1 สามารถนํามาเขียนเป็นผังงานได้ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 20. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ปัจจุบัน การเขียนผังงานได้รับความนิยมลดลง ด้วยเหตุผลทีว่า 1. ผังงานขนาดใหญ่ เมือเป็นงานโปรแกรมขนาดใหญ่ 2. หากมีการปรับปรุงหรือเปลียนขันตอนของวิธีการ การปรับผังงาน กระทําได้ยาก บางครังต้องเขียนขึนใหม่ทังหมด ปัจจุบันจึงนิยมเขียนชูโดโค้ดแทนผังงาน 3. การเขียนซูโด้โค้ด (Pseudo Code) ซูโด้โค้ด หรือ รหัสเทียม เป็นเครืองมือทีนิยมใช้กันมากในการ ออกแบบโปรมแกรม ช่วยให้โปรแกรมเมรอ์สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่าย ขึน ภาษาหรือคําทีใช้เขียนซูโด้โค้ดเป็นการผสมผสานระหว่างคําใน ภาษาอังกฤษทัวไปกับภาษาคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของรหัสเทียมจึงมีส่วน ทีคล้ายกับการเขียนโปรแกรมมาก เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 21. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างการคํานวณหาพืนทีสามเหลียม นํามาเขียนซูโด้โค้ดได้ดังนี เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Area of Triangle read wide and hight compute area = 0.5 * wide * hight display area end
  • 22. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 3. ขันดําเนินการเขียนโปรแกรม ขันการเขียนโปรแกรม เป็นการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึงขึนมา โดยเลือกใช้ภาษาทีเหมาะสมกับลักษณะและ ประเภทของงาน และความถนัดของผู้เขียน เช่น ถ้าเป็นงาน ทางธุรกิจก็ เลือกใช้ภาษาโคบอล ถ้าเป็นการพิมพ์รายงานก็ใช้ภาษาอาร์พีจี เป็นต้น เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 23. หน่วยที 3 หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม บางครังการเขียนโปรแกรมอาจจะเขียนลงบนกระดาษทีจัดทําขึนมาเป็น พิเศษทีเรียกว่า กระดาษลงรหัส (Coding Form) ซึงอาจเป็นกระดาษลง รหัสเฉพาะภาษานันๆ เช่น กระดาษลงหรัสของภาษาฟอร์แทรน(FORTRAN Coding Form) เพือให้เกิดความสะดวกต่อการบันทึกโปรแกรมบนสือข้อมูล เช่น บัตรเจาะ หรือ เทปแม่เหล็ก เพราะจะทําให้เข้าใจรูปแบบและเจาะบัตรได้ อย่างถูกต้อง กระดาษแบบฟอร์มนีจะตีไว้เป็นตารางเท่ากับจํานวนคอลัมน์ของ บัตร (ถ้าใช้บัตร) ดังนันถ้าต้องการเจาะคําสังลงบนช่องไหนของบัตรก็เขียน คําสังใส่ลงไปให้ตรงช่องทีมีหมายเลขกํากับไว้ ผู้จัดเตรียมโปรแกรมลงสือ ทํา การเจาะบัตรตามทีเขียนไว้โดยไม่จําเป็นต้องเข้าใจกฎเกณฑ์ของภาษานัน แต่ ละบรรทัดของกระดาษลงรหัสจะหมายถึงหมาย 1 บัตร หรือถ้าเป็นสือข้อมูล อืนๆ ก็หมายถึง แต่ละคําสังกระดาษลงรหัสเหมาะสําหรับงานทีต้องการความ เป็นระเบียบเรียบร้อยและมีความชัดเจนแก่ผู้จัดเตรียม หรือบันทึกลงสือ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204-2007
  • 24. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม จากตัวอย่างการวิเคราะห์งานและการเขียนซูโดโค้ดของการหาพืนทีรูป สามเหลียม สามารถนํามา เขียนในโปรแกรมปาสคาล ได้ดังนี เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม Program Example 1; Var my_wide, my_higth : interger; Begin read(my_wide, my_hight); my_area:=0.5* my_wide * my_hight; writeIn(‘The Area is : ‘, my_area); End.
  • 25. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 4. ขันทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เป็นการตรวจสอบจุดผิดพลาดของโปรแกรม (Bugs) ทีเขียนขึนและ ดําเนินการแก้ไขข้อผิดพลาดนัน (เราเรียกว่าการ Debugs) โปรแกรมที ทํางานไม่ได้ตามวัตถุประสงค์ เรียกโปรแกรม มี Error การ Error ของ โปรแกรมมักมีมาจาก 2 สาเหตุหลัก คือ 1. ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา (Syntx Error) คือ ข้อผิดพลาดทีเกิดจากการเขียนโค้ดคําสัง (Source Code) ทีไม่ตรงกับ ไวยากรณ์ (Syntax Error) ของภาษาโปรแกรมนันๆ ข้อผิดพลาดนีเป็น ผิดพลาดทีง่ายทีสุดต่อการตรวจหาและแก้ไข เนืองจากจะพบในระหว่างที มีการแปลภาษาโปรแกรม ถ้ามีข้อผิดพลาดประเภทนีอยู่ ตัวแปล ภาษาคอมพิวเตอร์จะแจ้งให้ทราบทันที เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 26. ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาล สังให้คอมพิวเตอร์ พิมพ์ข้อควารมออกมาทางหน้าจอด้วยคําสัง wxritln (‘The Area is : ‘,my_area); เมือมีการแปลภาษาโปรแกรม คอมพิวเตอร์จะตรวจ สอบไว ยกรณ์ของภาษา พบว่าคําสัง Writln ไม่มีอยู่ในภาษาปาสคาล ดังนันใน บรรทัดนี คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อผิดพลาดประเภท “Syntax Error” ออกมาให้เห็น หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 27. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 2.ข้อผิดพลาดทีเกิดจากการตีความหมายของปัญหาผิดไป (Logical Error) เป็นข้อผิดพลาดทีเกิดจากการออกแบบอัลกอริธึม ให้ทํางานผิด จากวัตถุประสงค์หรือความต้องการ การแก้ไขข้อผิดพลาดประเภทนี จะต้องทําโดยการตรวจไล่โปรแกรมทีละคําสังเพือหาข้อผิดพลาดนันให้พบ เช่น ผู้เขียนโปรแกรมต้องการนําค่า A ไปบวกกับค่า B แต่เขียน เครืองหมายเป็นลบ ก็จะทําให่ค่าทีคํานวณได้ไม่ถูกต้อง ซึงสามารถ ตรวจสอบข้อผิดพลาดนีโดยใช้ ข้อมูลทดสอบ (Test Data) หรือข้อมูลที ทราบคําตอบในขันปฏิบัติการ (Execution Run) ถ้าโปรแกรมถูกต้อง ผลลัพธ์ทีได้จะต้องตรงกับคําตอบทีเราทราบอยู่ก่อนแล้ว เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 28. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การตรวจสอบโปรแกรมเพือหาข้อผิดพลาดดังกล่าว อาจจะทําเป็นขันตอน ดังนี คือ 1.การตรวจสอบก่อนนําโปรแกรมเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ เราเรียกวิธีนีว่า “Desk Checking” วิธีการนีจะตรวจสอบว่าโปรแกรมสามารถให้ผลลัพธ์ ตามต้องการหรือไม่ เป็นการตรวจสอบข้อผิดพลาด ทางตรรกะโดย กําหนดข้อมูลชุดหนึงขึนมาแล้วแทนค่าตามขันตอนต่างๆ ทีเขียนเป็น โปรแกรมไว้ตังแต่ต้นจบ โดยสมมติว่าเป็ นการปฏิบัติงานเครือง คอมพิวเตอร์ วิธีการเช่นลดข้อผิดพลาดทางตรรกะได้มาก ก่อนจะส่ง โปรแกรมเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ต่อไป เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 29. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 2.การตรวจสอบโดยเครืองคอมพิวเตอร์ เมือผ่านการตรวจสอบในขันแรก แล้ว ก็ส่งโปรแกรมเข้าเครืองคอมพิวเตอร์พร้อมข้อมูลสมมุติทีทราบ คําตอบ ขันแรกเครืองคอมพิวเตอร์จะทําการตรวจ Syntax Error หรือ ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ ถ้ามีทีผิดเครืองคอมพิวเตอร์จะพิมพ์ข่าวสาร ข้อผิดพลาดนีออกมา ถ้าได้คําตอบตรงตามทีทราบ ก็ค่อนข้างมันใจว่า โปรแกรมน่าจะถูกต้อง เมือทดสอบโปรแกรมแล้ว สามารถนําโปรแกรม พร้อมกับข้อมูลจริงเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ เพือทําการประมวลผลได้ต่อไป เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 30. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม ขันตอนการทดสอบและแก้ไขหรือปรับวิธีการประมวลให้ถูกต้อง จากนันก็นํามาทดสอบใหม่ จากตัวอย่างที 3.4 ในการหาจํานวนตัวเลขทีรับเข้าไป ถ้าหากเริมต้น ตัวนับ count ซึงเป็นหน่วยความจําทีอยู่ภายในเครือง มีค่าเริมต้นเป็น “0” ก็จะทําให้โปรแกรมทําการนับตัวเลขได้ถูกต้อง แต่ในความเป็นจริง การ ทํางานของเครืองคอมพิวเตอร์หน่วยความจําทีเก็บตัวนับนีอาจไม่ได้มีค่า เป็น “0” ก็ได้ซึงจะทําให้การนับของโปรแกรมผิดพลาดขึน ดังนันจะต้อง ปรับวิธีการประมวลผลใหม่ ให้กําหนดค่าเริมต้นให้กับตัวนับเป็น “0” ทุก ครัง ซึงสามารถเขียนได้ดังนี เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 31. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม วิธีการประมวลผล 1. เริมต้น 2. การกําหนดค่าตัวนับ count ให้มีค่าเท่ากับ “0” 3. อ่านค่าตัวเลขมาเก็บในตัวแปร x ถ้าอ่านไม่ได้ (ตัวเลขหมด) ไป ขันตอนที 5 4. บวกค่า 1 เข้ากับตัวนับ count และไปขันตอนที 3 5. พิมพ์ค่าตัวนับ count ทางจอภาพ 6. จบการทํางาน และจากวิธีการประมวลผลข้างต้น ถ้าหากในตอนท้ายของขันตอนที 4 มีการกําหนดให้กระโดดไปขันตอนที 2 ก็จะทําให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้องเช่นกัน เพราะเป็นการกําหนดค่าตัวนับให้เป็น “0” ตลอด เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 32. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม วิธีการประมวลผล 1. เริมต้น 2. การกําหนดค่าตัวนับ count ให้มีค่าเท่ากับ “0” 3. อ่านค่าตัวเลขมาเก็บในตัวแปร x 4. ถ้าอ่านไม่ได้ (ตัวเลขหมด) ไปขันตอนที 6 5. บวกค่า 1 เข้ากับตัวนับ count และไปขันตอนที 3 6. พิมพ์ค่าตัวนับ count ทางจอภาพ 7. จบการทํางาน เมือมีการปรับแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ รวมทังถ้าหากมีการปรับ วิธีการประมวลผลสมบูรณ์แล้วก็ นําไปเขียนโปรแกรมเพือทดสอบการ ทํางานของโปรแกรมจริงต่อไป เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 33. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 5. ขันการเขียนเอกสาร หลังจากทดสอบโปรแกรมผ่านแล้ว ควรทําเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คือการอธิบายรายละเอียดของโปรแกรมว่า จุดประสงค์ของ โปรแกรมคืออะไร มีขันตอนการทํางานของโปรแกรมเป็นอย่างไร ผู้พัฒนาโปรแกรมทีดีควรมีการทําเอกสารประกอบโปรแกรม ทุกขันตอน ตังแต่ออกแบบโปรแกรมจนถึงการทดสอบโปรแกรม เนืองจากอาจต้องมี การนําโปรแกรมนันมีปรับปรุง เปลียนแปลงเพือให้ตรงกับความต้องการ ผู้พัฒนาทีรับช่วงต่อเมือดูเอกสารทีประกอบโปรแกรมจึงจะสามารถทํา ความเข้าใจได้ง่ายขึน เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 34. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมหรือคู่มือ โดยทัวไปจะมี 2 แบบ คือ 1. คู่มือผู้ใช้ (User Manual) คู่มือนีจะเน้นเรืองการใช้งานโปรแกรม เป็นหลัก เช่น โปรแกรมนีใช้ทําอะไร วิธีเปิดโปรแกรม วิธีการป้อนข้อมูล วิธีการพิมพ์เอกสารออกทางเครืองพิมพ์ 2. คู่มือโปรแกรมเมอร์ (Programmers Manual) คู่มือนีจะอธิบาย รายละเอียดต่างๆ เกียวกับชือโปรแกรมส่วนหลัก โปรแกรมย่อย และแต่ ละโปรแกรมย่อยมีหน้าทีอะไร คู่มือโปรแกรมเมอร์จะมีประโยชน์ต่อการ ปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมในอนาคต เอกสารประกอบนีอาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเพิมเติมด้วยเมือเวลา ผ่านไป เนืองจากอาจมีการพบข้อผิดพลาดเพิมเติมอีกในภายหลัง เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 35. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 6. ขันบํารุงรักษาโปรแกรม เป็นขันตอนหลังจากทีใช้โปรแกรมทีสร้างขึนไปแล้วระยะหนึง จําเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับความเป็นจริง เช่น รูปแบบการ รายงาน นอกจากนีการบํารุงรักษาโปรแกรมยังรวมไปถึงการรักษา สือข้อมูลให้อยู่ในสภาพทีพร้อมใช้งานได้เสมอ สรุปได้ว่า ก่อนทีเราจะเขียนโปรแกรมในงานแต่ละขึน โปรแกรมเมอร์ จะต้องเริมจากนํางานนันมาวิเคราะห์ก่อน โดยแจกแจงงานเป็นส่วนย่อยๆ หลังจากนันก็นํามาเขียนเป็นผังงานหรือเขียนเป็นซูโด้โค้ด แล้วนําไปเขียน โปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ทีเลือก เมือเสร็จแล้ว จะต้องทําการ ทดสอบโปรแกรมก่อนว่าจุดผิดพลาดหรือไม่ ถ้าผ่าน ก็จัดทําเอกสารคู่มือ สําหรับผู้ใช้โปรแกรม และสําหรับโปรแกรมเมอร์ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 36. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 3. ข้อพิจารณาในการออกแบบการทํางานสําหรับ พัฒนาโปรแกรม โดยทัวไปการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงต่างๆ มักมีไวยากรณ์ ภาษา และใช้คําสังคล้ายกันทีมีความใกล้เคียงกับการเขียนรหัสเทียม ใน ขันตอนการวางแผนแก้ไขปัญหาสําหรับการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม จึงมักข้ามขันตอนการเขียนรหัสเทียม โดยอาจนําผังงาน หรือการเขียน อัลกอริธึมทีมีมาแปลงเป็นภาษาทีใช้ในการพัฒนาโปรแกรมโดยตรง หรือ ทํานองกลับกันก็อาจเขียนรหัสเทียมทันที เพือเป็นการประหยัดเวลา ลด ความสับสนในการทําความเข้าใจลําดับการทํางานในโปรแกรม และลด ความซําซ้อนในการทํางาน เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 37. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม อย่างไรก็ตาม การเขียนผังงานหรือการเขียนอัลกอริธึม จะมีความ สะดวกในการตรวจสอบลําดับการทํางานของโปรแกรมในเบืองต้นเป็น หลัก และการเขียนรหัสเทียมก็ยังเป็นการฝึกทักษะการคิด โดนเฉพาะการ ลงรายละเอียดปลีกย่อยของการทํางานในโปรแกรมในแต่ละขันตอน ก่อนทีจะลงมือเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์จริงๆ ในขันตอนการ เขียนโปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 38. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 4. รูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นันมีลักษณะการเขียนโปรแกรมอยู่ หลายลักษณะ ซึงขึนกับภาษาคอมพิวเตอร์ทีเลือกใช้ด้วย รูปแบบการเขียน โปรแกรมทีนิยมใช้กันมีดังนี การเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-Dow Programming) เป็นการวางแผนการเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์เป็นลําดับ โดยมองปัญหา ตังแต่ต้นจนจบการทํางาน ถ้าหากโมดูลใดมีความซับซ้อนก็จะให้แบ่งโมดูลนัน ออกเป็นโมดูลย่อย และให้โมดูลหลักเรียกโมดูลย่อยต่างๆมาใช้งานเป็นลําดับ ในการออกแบบโปรแกรมจะเขียนโครงสร้างต่างๆ เป็นลักษณะสีเหลียมผืนผ้า โดยเขียนการทํางานแต่ละส่วนเรียงลําดับกันไป จากนันจึงนําโครงสร้างที ออกแบบขึนมาพัฒนาเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 39. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมแบบโมดูลาร์(Modular Prpgramming) เป็นการเขียนโปรแกรมทีแยกการทํางานต่างๆ ออกเป็นโปรแกรม ย่อยขนาดเล็กหลายโปรแกรมแต่ละโปรแกรมเรียกว่า โมดูล (Module) ซึงสามารถทํางานได้อิสระจากโมดูลอืนๆ ทําให้ถ้าหากโปรแกรมมีความ ผิดพลาดก็สามารถแก้ไขโมดูลทีผิดพลาดได้ง่ายขึน สําหรับในการเขียน โปรแกรมจะต้องมีโมดูลหลักทีทําหน้าทีควบคุมการทํางานทังหมด ว่า จะเรียกโมดูลใดมาใช้งานก่อน โมดูลแต่ละโมดูลสามารถเรียกโมดูล ย่อยๆ ได้อีก และแต่ละโมดูลอาจมีการส่งการควบคุมไปยังโมดูลอืนๆ ได้อีกด้วย เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 40. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมในลักษณะโมดูลโปรแกรมย่อยจะมีสอง ประเภทคือ โปรแกรมย่อยภายใน (Internal Subroutine) ทีเป็น โปรแกรมย่อยทีผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึนเพือเป็นส่วนหนึงของ โปรแกรมหลัก แต่สามารถเรียกใช้ได้ อีกประเภทหนึงคือโปรแกรมย่อย ภายนอก (External Subrotine) ซึงเป็นโปรแกรมย่อยทีเก็บไว้ในใน ไลบรารี (library) ทีสามารถเรียกใช้ได้ และสามารถนําไปใช้ในงาน อืนๆ ได้อีก เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 41. หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม จากรูปจะเห็นว่าโปรแกรมหลัก หรือโมดูลหลักจะมีการเรียกโมดูล โปรแกรมย่อย เมือทําโมดูลโปรแกรมย่อยจบแล้ว โปรแกรมจะกลับมา ทําโปรแกรมหลักต่อไป การเรียกโมดูลโปรแกรมย่อยนี สามารถเรียกใช้ ได้หลายๆ ครังตามต้องการ สําหรับการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษานัน จะมีคําสังสําหรับเรียกโมดูลโปรแกรมย่อยแตกต่างกันไป และโมดูล โปรแกรมย่อยก็จะมีคําสังเพือบอกว่าโปรแกรมย่อยนันจบลงแล้ว เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
  • 42. การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นการเขียนโปรแกรมแนวใหม่ทีมองการทํางานต่างๆ เป็นวัตถุ หรือออปเจ็ต โดยทีจะมีการบอกว่าออบเจ็กต์นันคืออะไร ใช้ทําอะไร เมือโปรแกรมต้องการใช้ ก็สามารถนําออบเจ็กต์นันมาใช้ได้ปรับขนาด ได้ เปลียนสีได้ ในการเขียนโปรแกรมจะทําการสร้างออบเจ็กต์ต่างๆ เพือสําหรับเรียกใช้งานภายหลัง สรุปท้ายบท ในบทนี เป็นการศึกษาเกียวกับวงจรการออกแบบ และพัฒนา โปรแกรม ทําให้เราทราบถึงคุณลักษณะของโปรแกรมทีดี ขันตอนวงจร การพัฒนาโปรแกรมอย่างละเอียด และข้อพิจารณาในการออกแบบการ ทํางานสําหรับพัฒนาโปรแกรม หน่วยที 3 รหัส 3204-2007หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม เรือง วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม