SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Introduction to On-Line Document Development


                พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                        ิ
                  e-Commerce
                                 Jenchoke Ta
                                  chagomain
                                      อ.เจนโชค เตชะโกเมนท์
                                      (เจ)
                                        สาขาสื่อนฤมิต
                                      คณะวิทยาการสารสนเทศ
 July 8, 2009         Lect #2 e-Commerce               1
แหล่งสารสนเทศที่สำาคัญ
   เว็บไซต์ในประเทศไทยแยกประเภทเป็น 7
    หมวด ดังต่อไปนี้
      – หมวดการศึกษา
      – หมวดหน่วยราชการ
      – หมวดข่าวสาร
      – หมวดบันเทิง
      – หมวดกีฬา
      – หมวดวิทยาศาสตร์
      – หมวดอื่น ๆ
July 8, 2009           Lect #2 e-Commerce   2
สารสนเทศของอินเตอร์เน็ตแบบต่าง ๆ
   อินเตอร์เน็ตเป็นขุมทรัพย์ของสารสนเทศและนำาไป
    ประยุกต์ใช้ประโยชน์ดังนี้
      –   E-mail
      –   Newsgroup
      –   Bulletin board
      –   FTP
      –   E- commerce
      –   Newspaper ,Book and Magazine
      –   Movie and Music
      –   Game
      –   Research group
      –   Conference
July 8, 2009              Lect #2 e-Commerce       3
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
                 (e-Commerce)
  หมายถึง
    การดำาเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้า
    และบริการผ่านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคม
    หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบการทำาธุรกิจ

   การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์
   และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (WTO,1998)

   Electronic Commerce หรือ การพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                         ิ
   หมายถึง การทำาธุรกรรมทางเศรษฐกิจทีผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
                                       ่
   เช่น การซื้อขายสินค้าและบริหาร การโฆษณาสินค้า
   การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
July 8, 2009                Lect #2 e-Commerce                  4
July 8, 2009   Lect #2 e-Commerce   5
แนวคิดของ E-Commerce

       ประกอบด้วยปัจจัย 3 ส่วน คือ
       1) แอพพลิเคชั่นการใช้งาน
       2) ปัจจัยทางการบริหารที่เกี่ยวข้อง
       3) โครงสร้างพื้นฐานของระบบ



July 8, 2009         Lect #2 e-Commerce     6
1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce
1.1 แอพพลิเคชั่นของ e-Commerce
      การประยุกต์ใช้ e-Commerce
       มีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางอย่าง เช่น
               การขายตรง
               การซื้อขายหุ้น
               การหางาน
               ธนาคารออนไลน์
               การจัดหาและการซื้อสินค้า
July 8, 2009              Lect #2 e-Commerce   7
กรอบแนวคิดของ e-Commerce
1.1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce (ต่อ)

       การประมูล
       การท่องเที่ยว
       การบริการลูกค้า
       การพิมพ์งานออนไลน์ (Online publishing)
       การติดต่อธุรกรรม ระหว่างหน่วยงาน
       ห้างสรรพสินค้า

July 8, 2009        Lect #2 e-Commerce    8
July 8, 2009   Lect #2 e-Commerce   9
1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce
1.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ e-Commerce
 องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบ
   e-Commerce
     รัฐบาล
        เตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เครือข่าย
           โทรศัพท์
        ให้การสนับสนุนและส่งเสริม
        ออกกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกียวข้อง
                                  ่
     ผูทำาธุรกิจ
       ้
     ผูใช้บริการ
         ้
 July 8, 2009          Lect #2 e-Commerce            10
1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce
1.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ e-Commerce (ต่อ)


องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบ e-Commerce
    ผูให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP)
      ้
    ตัวกลาง (Intermediary) คือ หน่วยงานกลางที่ออก
    ใบรับรอง (Certificate) ในระบบการชำาระเงิน และ
    รับรองผู้ซอและผู้ขายว่าเป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่เชื่อ
              ื้
    ถือได้
    สถาบันการเงิน อำานวยความสะดวกในการชำาระเงิน


July 8, 2009          Lect #2 e-Commerce             11
กรอบแนวคิดของ e-
             Commerce
2. ปัจจัยทางการบริหารของระบบ e-Commerce (ต่อ)


  นโยบายสารธารณะและกฎหมายที่เกียวข้องกับ
                               ่
   ระบบ E-Commerce
     ภาษี
     กฎหมายและระเบียบต่างๆ
     มาตรฐานด้านเทคนิค




July 8, 2009      Lect #2 e-Commerce       12
1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce
1.3 โครงสร้างพื้นฐานในการบริการ

               แคตตาล็อกสินค้าออนไลน์ (e-Catalogue)
               การชำาระเงิน
               การจัดส่งสินค้า
               การบริการหลังการขาย
               การรักษาความปลอดภัย
               การบริการอื่น ๆ


July 8, 2009               Lect #2 e-Commerce         13
1. กรอบแนวคิดของ e-
        Commerce
    1.3 ประเภทของ e-Commerce

 e-Commerce มี 4 ประเภทหลัก ๆ
  คือ
       ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ
      B to B หรือ B2B)
       ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers
      หรือ B to C หรือ B2C)
       ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to
July 8, 2009         Lect #2 e-Commerce      14
1.3 ประเภทของ e-Commerce
   รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
    1. ธุรกิจกับธุรกิจ ( Business to Business : B2B)
    หมายถึง ธุรกิจที่มุ่งเน้นการให้บริการแก่ ผู้ประกอบการด้วยกัน
    โดยอาจเป็นผู้ประกอบการในระดับเดียวกัน หรือต่างระดับกันก็ได้
    อาทิ ผู้ผลิตกับผู้ผลิต ผู้ผลิตกับผู้ส่งออก ผู้ผลิตกับผู้นำาเข้า ผู้ผลิตกับผู้
    ค้าส่งและค้าปลีก เป็นต้น
    2. ธุรกิจกับผู้บริโภค ( Business to Consumer : B2C)
    หมายถึง ธุรกิจที่มุ่งเน้นการบริการกับลูกค้า หรือผู้บริโภค
    อาทิ การขายสินค้าอุปโภคบริโภค
    3. ธุรกิจกับรัฐบาล ( Business to Government : B2G)
    หมายถึง ธุรกิจการบริหารการค้าของประเทศ เพื่อเน้นการบริหาร
    การจัดการที่ดีของรัฐบาล
    4. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค ( Consumer to Consumer : C2C)
    หมายถึง ธุรกิจระหว่างผู้บริโภค กับผู้บริโภค ซึ่งเป็นการค้ารายย่อย
    อาทิ การขายของเก่าให้กับบุคคลอื่นๆ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

July 8, 2009                    Lect #2 e-Commerce                          15
1.3 ประเภทของ e-Commerce

                                   B
                                        EDI

                          t
                        en
                                    B

                                        E-
                       nm




                                          Re
                     er




                                             ta
                       EDI
                ov




                                               ili
                 G




                                                  ng
               E-




     G                 G                            C                 C
       E-Government         E-Government                E-Community

                                            EDI: Electronic Data Interchange
July 8, 2009                   Lect #2 e-Commerce                              16
2. ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต

  การซื้อ ขายในระบบ E-Commerce มีขั้นตอน ดัง
     ต่อไปนี้
    @ การค้นหาข้อมูล

        @      การเลือกและการต่อรอง
        @      การซื้อสินค้า/บริการทางอินเตอร์เน็ต
        @      การจัดส่งสินค้า/บริการ
        @      การพัฒนาหลังการขาย
July 8, 2009               Lect #2 e-Commerce        17
2. ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต
                           การส่งสินค้า
                           แบบดั้งเดิม                                  ผู้ซื้อ

                                   การส่งสินค้า                       การค้นหาข้อมูล
                                 ทางอิเล็กทรอนิกส์


                                            การบริการหลังการขาย               การเลือกและการต่อรอง



                                               การส่งสินค้า/บริการ                     การซื้อ

ที่มา: Stair, R.M. & G.W. Reynolds. 1999.
Principle of Information Systems: A Managerial
Approach. 4th ed. Cambridge, MA: Course Technology, P.129
         July 8, 2009                            Lect #2 e-Commerce                              18
ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
      การจ่ายเงินแบบเดิม เช่น การใช้
      เงินสด, เช็ค, ธนาณัต, และการให้
                          ิ
      หมายเลข Credit Card มีขอจำากัดใน
                               ้
      การนำามาใช้กบระบบ e-Commerce
                    ั
      เช่น ความปลอดภัย, ความล่าช้า, และ
      ต้นทุนในการดำาเนินการ ดังนัน
                                 ้
      ระบบ e-Commerce จึงได้มีการ
      พัฒนาการชำาระแบบ Electronic เช่น
      เช็คอิเล็กทรอนิกส์, เครดิตคาร์ด
July 8, 2009      Lect #2 e-Commerce   19
ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
   1)          เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (e-Check)
               ลักษณะเหมือนกับเช็คทั่วไป เหมาะกับการชำาระเงินยอด
               ที่ไม่มากนัก มีการรักษาความปลอดภัยโดยใช้รหัส ซึ่งมี
               ขั้นตอนดังนี้
               1) ลูกค้าเปิดบัญชีธนาคารที่ใช้เช็ค

               2) ลูกค้าติดต่อผูขายเพื่อซื้อสินค้า/บริการ และ
                                ้
                 E-mail ส่งเช็คอิเล็กทรอนิกส์โดยการใช้รหัส
                 และมีลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature)

               3) ผูขายนำาเช็คเข้าไปฝากในบัญชีของตนเอง เงินจะถูกหักจาก
                    ้

                 บัญชีของผูซื้อ และโอนไปยังบัญชีของผูขาย
                           ้                         ้
July 8, 2009                       Lect #2 e-Commerce             20
ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์
1)      เครดิตการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic credit
        cards)
                                   ผู้ขาย
ธนาคารของผู้ขาย                                         ยืนยันการสั่งซื้อ
                                                          สั่งสินค้า +
                                                       ข้อมูลการชำาระเงิน
               คำาสั่งซื้อของลูกค้า ข้อมูลทางการเงิน
                                      ของผู้ซื้อ

                           ข้อมูลการจ่ายเงินที่ใส่
                                                                       เปิดบัญชี
                                                                     ขอ Credit Card
  ถอดรหัส ส่งข้อมูล    รหัสพร้อม Digital Signature
  ไปยังธนาคารผู้ขาย



                                        อนุมัติ/ปฏิเสธ
                                          การจ่ายเงิน
July 8, 2009
                องค์การที่สาม (ผู้ออก CA)
                                  Lect #2 e-Commerce
                                                                  ธนาคารของผู้ซื้อ21
ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์

3) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash หรื Digital
   Cash หรือ e-Money)
   การจ่ายเงิน Electronic มีสองวิธี คือ
   การจ่ายเงินสดที่อยู่ในเครื่อง พีซี (เป็น ซอร์ฟแวร์การเงินที่
      ออกให้โดยธนาคาร)
   เงินสดในสมาร์ทการ์ด (มีลกษณะเหมือนกับบัตร Debit
                                ั
      Card)




July 8, 2009              Lect #2 e-Commerce                   22
ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์

1)      การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund
        Transfer – EFT)
        เป็นการโอนเงินโดยใช้เครือข่ายสือสารโทรคมนาคม
                                        ่
        เช่น การโอนเงินระหว่างธนาคารทัวโลก, การโอนเงินโดยใช้
                                          ่
        เครื่อง ATM, การชำาระสินค้าหรือบริการผ่าน ATM, การโอน
        เงินเข้าบัญชีธนาคารของพนักงาน, การจ่ายค่าสาธารณูปโภค
        และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยหักจากบัญชีธนาคาร เป็นต้น




July 8, 2009              Lect #2 e-Commerce              23
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
                  (e-Commerce)
ประโยชน์ และปัญหาที่เกิดขึ้น
 ประโยชน์ด้านผูขาย
                  ้
   – ระบบสามารถใช้ทางานแทนพนักงานขาย เพราะระบบสามารถรับ
                       ำ
     ข้อมูลจากลูกค้าได้อตโนมัติ
                         ั
   – นอกจากนี้ยังเปิดหน้าร้านขายของให้คนทั่วโลก และเปิดขายได้
     ทุกวัน 24 ชั่วโมง
   – ประหยัดค่าพิมพ์เอกสารแสดงสินค้า
   – ปรับปรุงรูปแบบสินค้าได้สะดวกรวดเร็ว และเห็นผลทันทีทั่วโลก
                            สะดวกรวดเร็
   – เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ที่ทนสมัย และยังใช้ต้นทุนทีตำ่า
                                     ั             ต้      ่
   – เก็บเงิน และนำาฝากเข้าบัญชีอตโนมัติ ถ้าทำาระบบให้ สมบูรณ์
                                   ั

 July 8, 2009             Lect #2 e-Commerce                24
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
                 (e-Commerce)
ข้อดี
1.เปิดดำาเนินการค้า 24 ชั่วโมง
2.ดำาเนินการค้าอย่างไร้พรมแดนทั่วโลก
3.ใช้งบประมาณลงทุนน้อย
4.ตัดปัญหาด้านการเดินทาง
5.ง่ายต่อการประชาสัมพัธ์โดย สามารถประชาสัมพันธ์ได้ทวโลก
                                                   ั่

ข้อเสีย
1.ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ
2.ประเทศของผูซื้อและผูขายจำาเป็นต้องมีกฎหมายรองรับ
               ้        ้
 อย่างมีประสิทธิภาพ
3.การดำาเนินการด้านภาษีต้องชัดเจน
4.ผูซื้อและผูขายจำาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานในเทคโนโลยีอนเทอร์เน็ต
    ้        ้                                         ิ
July 8, 2009              Lect #2 e-Commerce                 25

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawAj'wow Bc
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawAj'wow Bc
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceNuth Otanasap
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56ppoparn
 

Mais procurados (7)

Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec law
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Work3-35
Work3-35Work3-35
Work3-35
 
Intro to Electronic Commerce
Intro to Electronic CommerceIntro to Electronic Commerce
Intro to Electronic Commerce
 
บทที่12-56
บทที่12-56บทที่12-56
บทที่12-56
 

Destaque

Level One - Unlock Your Career in Manufacturing - Sample
Level One - Unlock Your Career in Manufacturing - SampleLevel One - Unlock Your Career in Manufacturing - Sample
Level One - Unlock Your Career in Manufacturing - SampleAnanth Palaniappan
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
อังสุมา ภาระจ่า
อังสุมา ภาระจ่าอังสุมา ภาระจ่า
อังสุมา ภาระจ่าAungsuma Paraja
 
Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Jenchoke Tachagomain
 
Samson Manufacturing Case Study (032815)
Samson Manufacturing Case Study (032815)Samson Manufacturing Case Study (032815)
Samson Manufacturing Case Study (032815)Rich St. Rose, MBA, PMP
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
E-commerceG1-Case3 Amazon
E-commerceG1-Case3 AmazonE-commerceG1-Case3 Amazon
E-commerceG1-Case3 Amazonnewnwan
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginekacherry
 
Blogs and Wikis for Reflection and Collaboration
Blogs and Wikis for Reflection and CollaborationBlogs and Wikis for Reflection and Collaboration
Blogs and Wikis for Reflection and CollaborationElaine Huber
 
Control What You Can Control
Control What You Can ControlControl What You Can Control
Control What You Can ControlMichael Cassidy
 

Destaque (20)

Electronic paymentsystem
Electronic paymentsystemElectronic paymentsystem
Electronic paymentsystem
 
Exemplars
ExemplarsExemplars
Exemplars
 
Level One - Unlock Your Career in Manufacturing - Sample
Level One - Unlock Your Career in Manufacturing - SampleLevel One - Unlock Your Career in Manufacturing - Sample
Level One - Unlock Your Career in Manufacturing - Sample
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
อังสุมา ภาระจ่า
อังสุมา ภาระจ่าอังสุมา ภาระจ่า
อังสุมา ภาระจ่า
 
Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
Android programming
Android programmingAndroid programming
Android programming
 
Samson Manufacturing Case Study (032815)
Samson Manufacturing Case Study (032815)Samson Manufacturing Case Study (032815)
Samson Manufacturing Case Study (032815)
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
Criminal penalties2
Criminal penalties2Criminal penalties2
Criminal penalties2
 
E-commerceG1-Case3 Amazon
E-commerceG1-Case3 AmazonE-commerceG1-Case3 Amazon
E-commerceG1-Case3 Amazon
 
มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 
subport
subportsubport
subport
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Presentation seo
Presentation seoPresentation seo
Presentation seo
 
Web site
Web siteWeb site
Web site
 
Blogs and Wikis for Reflection and Collaboration
Blogs and Wikis for Reflection and CollaborationBlogs and Wikis for Reflection and Collaboration
Blogs and Wikis for Reflection and Collaboration
 
Control What You Can Control
Control What You Can ControlControl What You Can Control
Control What You Can Control
 

Semelhante a Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์anusorn kraiwatnussorn
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Khonkaen University
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน EcommercePeople Media Group Co.ltd
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการnoopalm
 
306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-applicationpop Jaturong
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561ETDAofficialRegist
 

Semelhante a Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce (20)

Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
Mi sch7
Mi sch7Mi sch7
Mi sch7
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
 
Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการ
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
e-Commerce Workshop
e-Commerce Workshope-Commerce Workshop
e-Commerce Workshop
 
Unit 2 e-Commerce Workshop
Unit 2 e-Commerce WorkshopUnit 2 e-Commerce Workshop
Unit 2 e-Commerce Workshop
 
work3 35
work3 35work3 35
work3 35
 
306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application
 
onet-Work4-04
onet-Work4-04onet-Work4-04
onet-Work4-04
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 2561
 
Work3 16
Work3 16Work3 16
Work3 16
 
Work33
Work33Work33
Work33
 

Mais de Jenchoke Tachagomain

Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt  Lect05 Web ProcessIntroduction to On-line Documemt  Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web ProcessJenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 

Mais de Jenchoke Tachagomain (20)

Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
Android architecture
Android architectureAndroid architecture
Android architecture
 
Lect 08 Css
Lect 08 CssLect 08 Css
Lect 08 Css
 
Lect07 Page Design
Lect07 Page DesignLect07 Page Design
Lect07 Page Design
 
Lect06 Web Design
Lect06 Web DesignLect06 Web Design
Lect06 Web Design
 
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt  Lect05 Web ProcessIntroduction to On-line Documemt  Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
 
Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3
 
Lab 2 For Css
Lab 2 For CssLab 2 For Css
Lab 2 For Css
 
Rss
RssRss
Rss
 
Digital Content Business
Digital Content BusinessDigital Content Business
Digital Content Business
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 03
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 

Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce

  • 1. Introduction to On-Line Document Development พาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ e-Commerce Jenchoke Ta chagomain อ.เจนโชค เตชะโกเมนท์ (เจ) สาขาสื่อนฤมิต คณะวิทยาการสารสนเทศ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 1
  • 2. แหล่งสารสนเทศที่สำาคัญ  เว็บไซต์ในประเทศไทยแยกประเภทเป็น 7 หมวด ดังต่อไปนี้ – หมวดการศึกษา – หมวดหน่วยราชการ – หมวดข่าวสาร – หมวดบันเทิง – หมวดกีฬา – หมวดวิทยาศาสตร์ – หมวดอื่น ๆ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 2
  • 3. สารสนเทศของอินเตอร์เน็ตแบบต่าง ๆ  อินเตอร์เน็ตเป็นขุมทรัพย์ของสารสนเทศและนำาไป ประยุกต์ใช้ประโยชน์ดังนี้ – E-mail – Newsgroup – Bulletin board – FTP – E- commerce – Newspaper ,Book and Magazine – Movie and Music – Game – Research group – Conference July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 3
  • 4. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) หมายถึง การดำาเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้า และบริการผ่านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคม หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบการทำาธุรกิจ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์ และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (WTO,1998) Electronic Commerce หรือ การพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ หมายถึง การทำาธุรกรรมทางเศรษฐกิจทีผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ่ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริหาร การโฆษณาสินค้า การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 4
  • 5. July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 5
  • 6. แนวคิดของ E-Commerce ประกอบด้วยปัจจัย 3 ส่วน คือ 1) แอพพลิเคชั่นการใช้งาน 2) ปัจจัยทางการบริหารที่เกี่ยวข้อง 3) โครงสร้างพื้นฐานของระบบ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 6
  • 7. 1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce 1.1 แอพพลิเคชั่นของ e-Commerce การประยุกต์ใช้ e-Commerce มีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางอย่าง เช่น การขายตรง การซื้อขายหุ้น การหางาน ธนาคารออนไลน์ การจัดหาและการซื้อสินค้า July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 7
  • 8. กรอบแนวคิดของ e-Commerce 1.1 แอพพลิเคชั่นของ E-Commerce (ต่อ) การประมูล การท่องเที่ยว การบริการลูกค้า การพิมพ์งานออนไลน์ (Online publishing) การติดต่อธุรกรรม ระหว่างหน่วยงาน ห้างสรรพสินค้า July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 8
  • 9. July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 9
  • 10. 1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce 1.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ e-Commerce องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบ e-Commerce รัฐบาล  เตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เครือข่าย โทรศัพท์  ให้การสนับสนุนและส่งเสริม  ออกกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกียวข้อง ่ ผูทำาธุรกิจ ้ ผูใช้บริการ ้ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 10
  • 11. 1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce 1.2 ปัจจัยทางการบริหารของระบบ e-Commerce (ต่อ) องค์การ / บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบ e-Commerce ผูให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ้ ตัวกลาง (Intermediary) คือ หน่วยงานกลางที่ออก ใบรับรอง (Certificate) ในระบบการชำาระเงิน และ รับรองผู้ซอและผู้ขายว่าเป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่เชื่อ ื้ ถือได้ สถาบันการเงิน อำานวยความสะดวกในการชำาระเงิน July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 11
  • 12. กรอบแนวคิดของ e- Commerce 2. ปัจจัยทางการบริหารของระบบ e-Commerce (ต่อ) นโยบายสารธารณะและกฎหมายที่เกียวข้องกับ ่ ระบบ E-Commerce ภาษี กฎหมายและระเบียบต่างๆ มาตรฐานด้านเทคนิค July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 12
  • 13. 1. กรอบแนวคิดของ e-Commerce 1.3 โครงสร้างพื้นฐานในการบริการ แคตตาล็อกสินค้าออนไลน์ (e-Catalogue) การชำาระเงิน การจัดส่งสินค้า การบริการหลังการขาย การรักษาความปลอดภัย การบริการอื่น ๆ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 13
  • 14. 1. กรอบแนวคิดของ e- Commerce 1.3 ประเภทของ e-Commerce e-Commerce มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B หรือ B2B) ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C หรือ B2C) ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 14
  • 15. 1.3 ประเภทของ e-Commerce  รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1. ธุรกิจกับธุรกิจ ( Business to Business : B2B) หมายถึง ธุรกิจที่มุ่งเน้นการให้บริการแก่ ผู้ประกอบการด้วยกัน โดยอาจเป็นผู้ประกอบการในระดับเดียวกัน หรือต่างระดับกันก็ได้ อาทิ ผู้ผลิตกับผู้ผลิต ผู้ผลิตกับผู้ส่งออก ผู้ผลิตกับผู้นำาเข้า ผู้ผลิตกับผู้ ค้าส่งและค้าปลีก เป็นต้น 2. ธุรกิจกับผู้บริโภค ( Business to Consumer : B2C) หมายถึง ธุรกิจที่มุ่งเน้นการบริการกับลูกค้า หรือผู้บริโภค อาทิ การขายสินค้าอุปโภคบริโภค 3. ธุรกิจกับรัฐบาล ( Business to Government : B2G) หมายถึง ธุรกิจการบริหารการค้าของประเทศ เพื่อเน้นการบริหาร การจัดการที่ดีของรัฐบาล 4. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค ( Consumer to Consumer : C2C) หมายถึง ธุรกิจระหว่างผู้บริโภค กับผู้บริโภค ซึ่งเป็นการค้ารายย่อย อาทิ การขายของเก่าให้กับบุคคลอื่นๆ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 15
  • 16. 1.3 ประเภทของ e-Commerce B EDI t en B E- nm Re er ta EDI ov ili G ng E- G G C C E-Government E-Government E-Community EDI: Electronic Data Interchange July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 16
  • 17. 2. ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต การซื้อ ขายในระบบ E-Commerce มีขั้นตอน ดัง ต่อไปนี้ @ การค้นหาข้อมูล @ การเลือกและการต่อรอง @ การซื้อสินค้า/บริการทางอินเตอร์เน็ต @ การจัดส่งสินค้า/บริการ @ การพัฒนาหลังการขาย July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 17
  • 18. 2. ขั้นตอนการซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ต การส่งสินค้า แบบดั้งเดิม ผู้ซื้อ การส่งสินค้า การค้นหาข้อมูล ทางอิเล็กทรอนิกส์ การบริการหลังการขาย การเลือกและการต่อรอง การส่งสินค้า/บริการ การซื้อ ที่มา: Stair, R.M. & G.W. Reynolds. 1999. Principle of Information Systems: A Managerial Approach. 4th ed. Cambridge, MA: Course Technology, P.129 July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 18
  • 19. ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ การจ่ายเงินแบบเดิม เช่น การใช้ เงินสด, เช็ค, ธนาณัต, และการให้ ิ หมายเลข Credit Card มีขอจำากัดใน ้ การนำามาใช้กบระบบ e-Commerce ั เช่น ความปลอดภัย, ความล่าช้า, และ ต้นทุนในการดำาเนินการ ดังนัน ้ ระบบ e-Commerce จึงได้มีการ พัฒนาการชำาระแบบ Electronic เช่น เช็คอิเล็กทรอนิกส์, เครดิตคาร์ด July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 19
  • 20. ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 1) เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (e-Check) ลักษณะเหมือนกับเช็คทั่วไป เหมาะกับการชำาระเงินยอด ที่ไม่มากนัก มีการรักษาความปลอดภัยโดยใช้รหัส ซึ่งมี ขั้นตอนดังนี้ 1) ลูกค้าเปิดบัญชีธนาคารที่ใช้เช็ค 2) ลูกค้าติดต่อผูขายเพื่อซื้อสินค้า/บริการ และ ้ E-mail ส่งเช็คอิเล็กทรอนิกส์โดยการใช้รหัส และมีลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature) 3) ผูขายนำาเช็คเข้าไปฝากในบัญชีของตนเอง เงินจะถูกหักจาก ้ บัญชีของผูซื้อ และโอนไปยังบัญชีของผูขาย ้ ้ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 20
  • 21. ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 1) เครดิตการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic credit cards) ผู้ขาย ธนาคารของผู้ขาย ยืนยันการสั่งซื้อ สั่งสินค้า + ข้อมูลการชำาระเงิน คำาสั่งซื้อของลูกค้า ข้อมูลทางการเงิน ของผู้ซื้อ ข้อมูลการจ่ายเงินที่ใส่ เปิดบัญชี ขอ Credit Card ถอดรหัส ส่งข้อมูล รหัสพร้อม Digital Signature ไปยังธนาคารผู้ขาย อนุมัติ/ปฏิเสธ การจ่ายเงิน July 8, 2009 องค์การที่สาม (ผู้ออก CA) Lect #2 e-Commerce ธนาคารของผู้ซื้อ21
  • 22. ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 3) เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash หรื Digital Cash หรือ e-Money) การจ่ายเงิน Electronic มีสองวิธี คือ  การจ่ายเงินสดที่อยู่ในเครื่อง พีซี (เป็น ซอร์ฟแวร์การเงินที่ ออกให้โดยธนาคาร)  เงินสดในสมาร์ทการ์ด (มีลกษณะเหมือนกับบัตร Debit ั Card) July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 22
  • 23. ระบบการจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ 1) การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer – EFT) เป็นการโอนเงินโดยใช้เครือข่ายสือสารโทรคมนาคม ่ เช่น การโอนเงินระหว่างธนาคารทัวโลก, การโอนเงินโดยใช้ ่ เครื่อง ATM, การชำาระสินค้าหรือบริการผ่าน ATM, การโอน เงินเข้าบัญชีธนาคารของพนักงาน, การจ่ายค่าสาธารณูปโภค และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ โดยหักจากบัญชีธนาคาร เป็นต้น July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 23
  • 24. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) ประโยชน์ และปัญหาที่เกิดขึ้น  ประโยชน์ด้านผูขาย ้ – ระบบสามารถใช้ทางานแทนพนักงานขาย เพราะระบบสามารถรับ ำ ข้อมูลจากลูกค้าได้อตโนมัติ ั – นอกจากนี้ยังเปิดหน้าร้านขายของให้คนทั่วโลก และเปิดขายได้ ทุกวัน 24 ชั่วโมง – ประหยัดค่าพิมพ์เอกสารแสดงสินค้า – ปรับปรุงรูปแบบสินค้าได้สะดวกรวดเร็ว และเห็นผลทันทีทั่วโลก สะดวกรวดเร็ – เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ที่ทนสมัย และยังใช้ต้นทุนทีตำ่า ั ต้ ่ – เก็บเงิน และนำาฝากเข้าบัญชีอตโนมัติ ถ้าทำาระบบให้ สมบูรณ์ ั July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 24
  • 25. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) ข้อดี 1.เปิดดำาเนินการค้า 24 ชั่วโมง 2.ดำาเนินการค้าอย่างไร้พรมแดนทั่วโลก 3.ใช้งบประมาณลงทุนน้อย 4.ตัดปัญหาด้านการเดินทาง 5.ง่ายต่อการประชาสัมพัธ์โดย สามารถประชาสัมพันธ์ได้ทวโลก ั่ ข้อเสีย 1.ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ 2.ประเทศของผูซื้อและผูขายจำาเป็นต้องมีกฎหมายรองรับ ้ ้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3.การดำาเนินการด้านภาษีต้องชัดเจน 4.ผูซื้อและผูขายจำาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานในเทคโนโลยีอนเทอร์เน็ต ้ ้ ิ July 8, 2009 Lect #2 e-Commerce 25