SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 62
Network-Internet
่
         Network-Internet
เชือว่าทุก ๆ คนคงเคยได้ยินเกี่ยวกับระบบ
เครือข่าย หรือ Network
มาบ้างแล้ว เพราะจริง ๆ ในชีวตประจำาวันของ
                                  ิ
เรา ก็มีการติดต่อสือสารถึงกัน โดยใช้ระบบ
                      ่
เครือข่าย เช่น การโทรศัพท์พดคุยกัน, การดู
                                ู
หนัง ฟังเพลง หรือแม้แต่การเบิก ถอนเงิน กับ
ธนาคารด้วยเครื่องถอนเงินอัตโนมติ ATM
และที่คุณกำาลังอ่านข้อมูลผ่านทาง internet
อยู่นี้ นั่นคือ คุณกำาลังใช้งานในระบบเครือข่าย
อยู่เหมือนกัน เราถือว่า internet เป็นระบบ
เครือข่ายที่ใหญ่มากที่สดในโลก... สิ่งเหล่านี้
                           ุ
Computer Network

Internet
Computer Network
Communication
องค์ประกอบพื้นฐาน
  1.หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
  2.ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmission
  Channel)
  3.หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
Communication
• ผู้สงข่าวสารหรือแหล่งกำาเนิดข่าวสาร (source)
      ่                                                    อาจจะ
     เป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น
     ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือ
     ท่าทางต่าง ๆ ก็นบว่าเป็นแหล่งกำาเนิดข่าวสาร จัดอยู่ในหมวดหมู่
                     ั
     นีเช่นกัน
       ้

2.     ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink)
   ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผส่งข่าวสาร
                          ู้
   หรือแหล่งกำาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใดที่ การติดต่อสื่อสาร
   บรรลุวัตถุประสงค์ ผูรับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็
                             ้
3. จะได้องสัวสารนัน ๆ ถ้า(channel) อ จุด่นอาจจะหมายถึงสื่อ ด้รับ
       ช่ รับข่า ญญาณ ผูรับสารหรื ในที หมายปลายทางไม่ไ
                       ้         ้          ี้
กลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดิสารนั้นไม่ประสบความสำาเร็จ กล่าวคือ
   ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อ น
   ไม่ทางผ่า่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง สายนำาสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้
       มีการสื น อาจจะเป็นอากาศ
กระทั่งของเหลว เช่น นำ้า นำ้า
       มัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจาก
Communication
4. การเข้ารหัส (encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและ
ผูรับข่าวสารมีความ
   ้
     เข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย จึงมีความจำาเป็นต้องแปลง
ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึง
     หมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไป
ในสื่อกลาง ทางผูส่งมีความ
                      ้
     เข้าใจต้องตรงกันระหว่างผูส่งและผูรับ หรือมีรหัสเดียวกัน การ
                              ้       ้
สื่อสารจึงเกิดขึ้นได้

5. การถอดรหัส (decoding)           หมายถึงการที่ผรับข่าวสาร
                                                 ู้
แปลงพลังงานจากสื่อกลาง
     ให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผูส่งข่าวสาร โดยมีความ
                                           ้
เข้าในหรือรหัสตรงกัน

6. สัญญาณรบกวน (noise)               เป็นสิ่งทีมีอยู่ในธรรมชาติ มัก
                                               ่
สัญญาณ
• สัญญาณแบบ Analog จะเป็นสัญญาณแบบต
เนื่อง ที่ทุกๆ ค่าที่เปลี่ยนไปของระดับสัญญาณจะมีความหม
การถูกรบกวนให้มการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เช่น
                     ี
ญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น


2) สัญญาณแบบ Digital จะประกอบขึนจากระ
                               ้
สัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสูงและสัญญาณระด
ประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือจึงมีมากกว่าสัญญาแบบ a
สัญญาณชนิดนี้จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำาง
การสื่อสารกัน
Data transmission

การส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนั ส (asynchronous data
transmission)
       1 start bit                  1 stop bit
                     8 data bits

การส่งข้อมูลแบบซิงโครนั ส (synchronous data
transmission)

 1 start bit                              1 stop bit

                     data packet
                                     error check bits
ทิศทางการสื่อสาร
1. แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex)
     เป็นการติดต่อทางเดียว เมื่ออุปกรณ์หนึ่งส่งข้อมูล
อุปกรณ์อกชุดจะต้องเป็นฝ่าย
          ี
รับข้อมูลเสมอ ตัวอย่างการใช้งานเช่น ในระบบสนามบิน
คอมพิวเตอร์แม่จะทำาหน้า
ที่ติดตามเวลาขึ้นและลงของเครื่องบิน และส่งผลไปให้
มอนิเตอร์ที่วางอยู่หลาย ๆ จุด
ให้ผโดยสารได้ทราบข่าวสาร คอมพิวเตอร์แม่ทำาหน้าที่เป็นผู้
      ู้
ส่งข้อมูล มอนิเตอร์ต่างๆ ทำาหน้าที่เป็นผูรับข้อมูล ไม่มีการ
                                         ้
เปลี่ยนทิศทางของข้อมูล เป็นการส่งข้อมูลแบบทางเดียว
ทิศทางการสื่อสาร
 ฮาฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex)
 รติดต่อก่งสองทาง เป็ นการเปล่ียนเส้นทางในการส่งข้อมูลได้ แต่คนล
             ึ
ข้อมูลจะไหลไปในทิศทางเดียว ณ เวลาใด ๆ ตัวอย่างการใช้งานเช่น           กา
 ทอร์มินัลกับคอมพิวเตอร์แม่ ผู้ใช้ท่เทอร์มินัลเคาะแป้ นเพ่ ือสอบถามข้อ
                                     ี
ตอร์แม่ ต้องใช้เวลาชัวขณะคอมพิวเตอร์แม่จึงจะส่งข่าวสารกลับมาท่ีเทอ
                       ่
 นเทอร์มินัลนั ้น ไม่ว่าจะเป็ นเทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์แม่ เม่ ออุปกร
                                                                ื
 น่งเป็ นผ้ส่งข้อมูล  อุปกรณ์ท่ีเหลือก็จะเป็ นผู้รบข้อมูลในเวลาขณะนั ้น
   ึ       ู                                      ั
ทิศทางการสื่อสาร
บฟลูดเพล็กซ์ (Full Duplex)
     ู
 การติดต่อสองทาง เป็ นติดต่อกันได้สองทาง กล่าวคือเป็ นผ้รับข้อมูลแ
                                                         ู
นเวลาเดียวกันได้ ตัวอย่างการใช้งานเช่น  การติดต่อระหว่างเทอร์มินัล
                                       
แม่ บางชนิ ดท่ไม่ต้องใช้เวลารอสามารถโต้ตอบได้ทันที หรือการพูดคุยท
              ี
 นต้น
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล
 ยคอมพิวเตอร์จำาเป็ นต้องใช้ช่องทางหรือส่ ือกลาง (media)
ส่งผ่านข้อมูล ซ่ ึงมีหลายรูปแบบ ส่ิงท่ต้องคำานึ งในการเลือกช่อง
                                      ี

 เร็วในการส่งข้อมูล (transmission rate) Kbps, Mbps
ทาง ของอุปกรณ์ท่ีตองการเช่ อมต่อกัน
                    ้       ื
จ่าย ในการติดตังครังแรกและค่าใช้จ่ายประจำา
                ้ ้
 สะดวกสบายในการติดตัง บางพ้ืนท่อาจจะไม่สะดวกท่ีจะเดินส
                         ้         ี
 ม่อาจจะใช้ส่ือบางประเภทได้
 ทนทานต่อสภาพแวดล้อม เช่น ส่ ือบางประเภทอาจมีข้อจำากัด
พแวดล้อมมีการเปล่ียนแปลง
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล
หลายชนิ ด ซ่ ึงอาจจำาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
ประเภทมีสาย ได้แก่ สายคู่ไขว้ (Wire pair หรือ  
Twisied pair หรือสายโทรศัพท์), สายตัวนำ าร่วมแกน
(Coaxial Cables), เส้นใยนำ าแสง  อไฟเบอร์ออฟติกส์
                                หรื
(Fiber optics)
ประเภทไม่มีสาย ได้แก่ ไมโครเวฟ (Microwave)
 และดาวเทียม, การส่ ือสารดาวเทียม (Stellite
Tranmission)
ประเภทมี
  สาย
สายเกลียวคู่ (Twisted pair
        Cable)       สายเกลียวคู่ เป็ นสายท่มีราคาถูกท่สุด 
                                            ี          ี ประก
                     ด้วยสายทองแดง  เส้น  ละเส้นมีฉนวนห
                                       2      แต่
                     พันกันเป็ นเกลียว สามารถลดการรบกวนจา
                     สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าได้ 

ลียวคู่สามารถใช้ได้ทังการส่งสัญญาณข้อมูลแบบอนาล็อกและแ
                      ้
  องจากสายเกลียวคู่จะมีการสูญเสียสัญญาณขณะส่งสัญญาณ 
 "เคร่ องขยาย" (Amplifier) สัญญาณ สำาหรับการส่งสัญญาณข้อ
       ื
นาล็อก ในระยะทางไกล ๆ หรือทุก 5-6 กม. ส่วนการส่งสัญญา
  ดิจิตอลต้องมี "เคร่ องทบทวน" (Repeater) สัญญาณทุก ๆ
                        ื
 -3 กม.
สายโคแอกเชียล (Coaxial
         Cable) สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรือเรียกสัน ๆ ว่า
                                                 ้
                           "สายโคแอก" จะเป็ นสายส่ อสารท่มีคุณภาพท
                                                       ื   ี
                           และราคาแพงกว่า สายเกลียวค่ ส่วนของสาย
                                                         ู
                           ข้อมูลจะอยู่ตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีชนขอ
                                                                 ั้
นำ าห้มอย่  ชัน  นในเป็ นฟั่ นเกลียวหรือชันแข็ง  นนอกเป็ นฟั่ นเกลีย
      ุ    ู 2 ้ ชั ้                      ้      ชั ้
นด้วยฉนวนหนา  อกชันนอกสุดเป็ นฉนวน 
                    เปลื    ้                   สายโคแอกสามารถม้วน
นำ าทำาหน้ าท่ป้องกันการสูญเสียพลังงานจากแผ่รงสี เปลือกฉนวนหนา
              ี                                 ั
ความคงทนสามารถฝั งเดินสายใต้พ้ืนดินได้       นอกจากนั ้นสายโคแอกยังช
อนกลับ" (Echo) ของเสียงได้อกด้วยและลดการรบกวนจากภายนอกได้ด
                               ี
ารใช้สายโคแอกในการส่งสัญญาณข้อมูลท่ีใช้กันมากในปั จจุบัน คือสาย
ทรศัพท์ทางไกล (อนาล็อก) สายส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายท้องถ่ิน         หร
 หรือใช้ในการเช่ อมโยงสัน ๆ ระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์
                  ื      ้
เส้นใยแก้วนำาแสง หรือ ไฟเบอร์
    ออฟติกส์
    (Fiber Optic Cable)



หลักการทัวไปของการส่ อสารในสายไฟเบอร์ออปติก
         ่             ื
คือการเปล่ียนสัญญาณ(ข้อมูล) ไฟฟ้ าให้เป็ นคล่ ืนแสง
ก่อน จากนั ้นจึงส่งออกไปเป็ นพัลส์ของแสงผ่านสาย
ไฟเบอร์ออปติสามารถส่งลำาแสง ผ่านสายได้ทีละหลายๆ
หรือพลาสติก กสายไฟเบอร์ออปติกทำาจากแก้ว
ลำาแสงด้วยมุมท่ต่างกัน  าแสงท่ส่งออกไปเป็ นพัลส์นั้น
                ี        ลำ     ี
จะสะท้อนกลับไปมาท่ีผิวของสายชันในจนถึงปลายทาง
                                  ้
ประเภทไม่มี
    สาย
ระบบไมโครเวฟ            (Microwave
       System)                 สูตร
                               d = 7.14 (1.33h)1/2 กม.

                               d = ระยะห่างระหว่างหอ
                               h = ความสูงของหอ


 ญญาณข้อมูลไปกลับคล่ ืนไมโครเวฟเป็ นการส่งสัญญาณข้อมูล
  กันจากหอ (สถานี ) ส่ง-รับสัญญาณหน่งไปยังอีกหอหน่ ึง 
                                    ึ                แต
ลุมพ้ืนท่รับสัญญาณประมาณ 30-50 กม.
         ี
การสื่อสารด้วยดาวเทียม           (Satellite
       Transmission)




 าวเทียมก็คือสถานี ไมโครเวฟลอยฟ้ านั่ นเอง  ึงทำาหน้ าท
                                          ซ่
บทวนสัญญาณข้อมูล บและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถา
                     รั
ท่ีอยู่บนพ้นโลก
           ื
   การเชือมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วย
           ่
    กันเป็นเครือข่าย
      มี 3 รูปแบบคือ
        LAN (Local Area Network)
        MAN (Metropolitan Area Network)
        WAN (Wide Area Network)
เครือข่ายท้องถิ่น : LAN (Local
    Area Network)
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กสำาหรับท้องถิ่น
 เช่นภายในตึกเดียวกัน
 ต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่
 อยู่ใกล้กัน
 ต้องการแบ่งบันทรัยากรต่างๆเพื่อใช่ร่วมกัน
 เช่นอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์บางชนิดมีราคาสูง
 มาก
เครือข่ายเมือง : MAN
      (Metropolitan Area Network)




 ยขนาดกลาง กลุมของเครือข่าย LAN ทีนำามาเช
                 ่                     ่
ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเม
ใกล้เคียงกัน เป็นต้น
เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area
        Network : WAN)
ขนาดใหญ่โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN
 เป็นเครือข่ายเดียวดังนันเครือข่ายนี้จงครอบคลุมพื้นที่กว้าง
                        ้             ึ
คลุมไปทั่วประเทศ หรือ ทั่วโลก อย่างเช่น อินเตอร์เน็ตก็จัดว่า
WAN ประเภทหนึ่ง แต่เป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มใครเป็นเ
                                                   ี
การบ้านวันนี้
   Mesh Topology คืออะไรมีการต่อแบบใด
       อธิบาย Mesh Topology
       วาดรูป Mesh Topology
    Hybrid Topology คืออะไรมีการต่อแบบ
    ใด
       อธิบาย Hybrid Topology
       วาดรูป Hybrid Topology
                           ( เขียนลงใน
อุปกรณ์ใน
ระบบเครือข่าย
HUB หรือ Repeater



อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจาย
สัญญาณ หรือข้อมูล จะต้องใช้ไฟหล่อเลี้ยง
ในการทำางาน
Network Interface Card (NIC)




บางคนอาจเรียกสัน ๆ ว่า LAN Card หมายถึง
                  ้
Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่อง PC ส่วนใหญ่จะมี
ขนาดเล็ก
Switch หรือ Bridge



เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้า
ด้วยกัน โดยจะต้อง media และโปรโตคอล
เหมือนกันเท่านั้น
Router




เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายหลายๆ
เครือข่ายเข้าด้วยกัน
โปรโตคอลเหมือนกัน แต่ media ต่างกัน
Gateway




เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆ เข้า
ด้วยกัน โดยใช้โปรโตคอลต่างกัน รวมทั้ง
การใช้ media ต่างกัน
Protocol
Protocol คืออะไร
โปรโตคอล คือระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับสื่อสารข้อมูล
ให้สามารถสื่อสารข้อมูลไปยัง
ปลายทางได้อย่างถูกต้อง สำาหรับโปรโตคอลที่มีผใช้งาน
                                                ู้
มากที่สุดในโลกคือ TCP/IP สำา
หรับโปรโตคอลอื่นๆ อีก เช่น โปรโตคอล IPX/SPX
โปรโตคอล NetBIOS และ
โปรโตคอล AppleTalk เป็นต้น

โปรโตคอล TCP/IP
Transmission Control Protocol / Internet Protocol เป็น
เครือข่ายโปรโตคอล
Protocol
 IPX/SPX
บริษท Novell ซึงเป็นผู้พัฒนาระบบปฏิบัตการเครือข่าย Netware ที่น
    ั          ่
ของโลก โปรโตคอล IPX/SPX แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ IPX
k Packet Exchange) และ SPX (Sequenced Packet Exchange)
 NetBIOS
 ic Input/Output System ความจริงแล้ว NetBIOS ไม่ใช่โปรโตคอล
น ไลบรารีของกลุ่มคำาสั่งระบบเครือข่าย หรือ API (Application
g Interfac) การใช้งาน NetBIOS จะใช้ในลักษณะของกลุ่มคอมพิว
บปฏิบัติการ Windows หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า workgroup
 AppleTalk
บริษท Apple Computer เป็นโปรโตคอลที่ใช้สำาหรับสื่อสารในระบบ
    ั
อมพิวเตอร์ Macintosh โดยเฉพาะ
Internet
Internet
อินเตอร์เน็ต (INTERNET) คืออะไร ?
การเช่ อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ Platform ต่างๆ ให้
       ื
สามารถเข้าถึง (access)กันได้
Internet
เน็ต(Internet) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเต
ดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลก
อสารถึงกันได้โดยใช้มาตรฐานในการรับส่ง
รือที่เรียกว่าโปรโตคอล(Protocol) ซึ่งโปรโตค
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีชื่อว่า
อพี (TCP/IP : Transmission Control
Internet Protocol)
Internet ทำางานอย่างไร
                              • ระบบเครือข่าย WAN ท่ีเช่ อม  ื
                              ต่อเครือข่ายขององค์กร และผู้ให
                              การอินเทอร์เน็ต (Internet Service
                              Provider - ISP) เข้าด้วยกัน และยืน
                              อยู่บนพ้ืนฐานโปรโตคอล TCP/I
                              • เครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในเป
                              แบคโบน (backbone) ท่ีเป็ น
                              ระบบรับส่งข้อมูลความเร็วสูง
หลายเส้นต่อเช่ อมโยงระหว่างกันซับซ้อน แต่ละโหนดจะมีการ
               ื
จัดการจัดสรรเส้นทางข้อมูลท่จะรับส่งระหว่างโหนด(ชุม
                            ี
ทาง)ต่างๆ
• องค์กรหรือ ISP เช่ อมต่อระบบตนเข้ากับอินเทอร์เน็ตผ่านทาง
                     ื
IP Address
 บ่งบอกว่าคอมพิวเตอร์เคร่ ืองใด องค์กรใด อยู่ท่ไหนในอินเทอ
                                               ี
สร้างของ TCP/IP ในส่วนการจัดสรรท่อยู่ท่ีเรียกว่า IP Address
                                   ี

                                     มีคาเท่ากับ 0-255
                                        ่
                     ...
                   203.168.23.1

      •แบ่งเป็ น 5 ระดับ (class)
      •หมายเลขจะไม่ซ้ากัน
Domain Name Server
มง่ายต่อการจดจำาและเรียกช่ อเคร่ อง(หรือองค์กร) ต่างๆ จึงม
                             ื    ื
ตัวย่อภาษาอังกฤษผสมกับการใช้เคร่ ืองหมายจุด ในการอ้างถ
ทนการอ้างด้วยไอพีแอดเดรส
n name ช่ อท่ีใช้เรียกแทนองค์กรหรือเคร่ ืองต่างๆ ในโลก
          ื
n name server (DNS) เคร่ ืองเซอร์เวอร์ท่ให้บริการ
                                        ี
                   202.28.32.3
        www.informatics.msu.ac.th
Domain

ระบบโดเมนในประเทศไทย

DOMAIN      ความหมาย       ตัวอย่าง
  .ac   academic       msu.ac.th
 .or    organization   nectec.or.th
 .co    commercial     ksc.co.th
 .go    government     moph.go.th
 .net   network        msuradio.net
Service
    E-mail
 ลระหว่างผู้ใช้ภายในอินเทอร์เน็ต โดยอ้างช่ ือผู้ใช้เป็ น e-mai
 ame@[ช่ ือเคร่ ือง.]ช่ ือองค์กร.รหัสองค์กร.รหัสประเทศ
                 jenchoke.t@msu.ac.th
ส่งอีเมล์จะอาศัยเมล์เซอร์เวอร์ทำาหน้ าท่ส่งถ่ายข้อมูลจากต้นทา
                                          ี
 าง (มีหลายเมล์เซอร์ทำาหน้ าท่ีต่อเน่ ืองถึงกันไป หรืออาจจะจัด
กต้นทางไปยังปลายทาง)
Service
ห้บริการจดหมายข่าว (Newsgroup)
จดหมายข่าว (news) เป็ นบริการท่ีมีพ้ืนฐานมาจากระบบอีเมล
ซอร์เวอร์จะไม่ได้ส่งอีเมล์ไปยังผู้ใช้ เป็ นหน้ าท่ของผู้ใช้ท่จะเข้า
                                                  ี          ี
วสารในเซอร์เวอร์เอง (และส่งข้อความตอบโต้กลับ Newsgro
นหลายกลุ่ม ซ่ ึงแต่ละกล่มจะเจาะจงจุดสนใจไปยังเร่ ืองใดเร่ ือง
                          ุ
ห้การบริการเข้าใช้ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ และ/หรือ
รอ่ ืนๆบนโฮสต์(เซอร์เวอร์)
t เป็ นบริการติดต่อเข้าใช้เคร่ ืองโฮสต์ใดๆ บนอินเทอร์เน็ต
ท่ีเป็ นพ้ืนฐานของระบบปฏิบัตการยูนิกซ์ท่ต่อเช่ ือมกันเป็ นเคร
                             ิ            ี
CP/IP (remote login)
Service
ห้บริการรับส่งไฟล์ระหว่างเคร่ องผู้ใช้กับเคร่ ืองโฮสต์
                              ื
นการบริการรับส่งไฟล์บนอินเทอร์เน็ต ซ่งเป็ นบริการพ้ืนฐาน
                                     ึ
ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
 ftp server เป็ นเซอร์เวอร์ท่ยอมรับการล็อกอินของผู้ใช้ท
                              ี
าม (anonymous user) และไฟล์เซอร์เวอร์ดังกล่าวตามป
จกจ่ายไฟล์ต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
ให้บริการข้อมูลข่าวสารในรูปของตัวอักษร
   เป็ นการให้บริการข้อมูลข่าวสารในรูปของตัวอักษร และ   w
ปั จจุบัน
จงตอบคำาถามต่อไปนี้
 สายสัญญาณทีเป็นตัวกลางของการ
                 ่
 สือสารมีชนิดอะไรบ้าง
   ่
 (บอก ชื่อและลักษะโดยคร่าวๆ)
 จงวาดรูป Topology แบบ Bus, Ring,
 Star
 บอกข้อดีข้อเสียของ Bus, Ring, Star
 ชือ Domain .ac, .or, .og, .co หมาย
     ่
 ถึงหน่วยงานประเภทใด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)Worawut Thongchan
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
Network
NetworkNetwork
Networksa
 

Mais procurados (16)

พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Datacommunication
DatacommunicationDatacommunication
Datacommunication
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
Network
NetworkNetwork
Network
 

Destaque (8)

Book
BookBook
Book
 
Developing a Content Strategy
Developing a Content StrategyDeveloping a Content Strategy
Developing a Content Strategy
 
Case Study of Digital Communication Planning
Case Study of Digital Communication PlanningCase Study of Digital Communication Planning
Case Study of Digital Communication Planning
 
Classic Marketing vs Digital Marketing
Classic Marketing vs Digital MarketingClassic Marketing vs Digital Marketing
Classic Marketing vs Digital Marketing
 
Email Marketing
Email MarketingEmail Marketing
Email Marketing
 
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
7 steps for Digital Marketing Plan & Strategy
 
Digital Content and Digital Marketing (Thai language)
Digital Content and Digital Marketing (Thai language)Digital Content and Digital Marketing (Thai language)
Digital Content and Digital Marketing (Thai language)
 
Facebook Page Analysis : KFC Thailand
Facebook Page Analysis : KFC ThailandFacebook Page Analysis : KFC Thailand
Facebook Page Analysis : KFC Thailand
 

Semelhante a Communication Concept 3

2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4sawitri555
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลMrpopovic Popovic
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 

Semelhante a Communication Concept 3 (20)

2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4งานนำเสนอบทที่ 4
งานนำเสนอบทที่ 4
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Mais de Jenchoke Tachagomain

Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt  Lect05 Web ProcessIntroduction to On-line Documemt  Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web ProcessJenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E CommerceJenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Jenchoke Tachagomain
 
Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05Jenchoke Tachagomain
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04Jenchoke Tachagomain
 

Mais de Jenchoke Tachagomain (20)

Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
Android programming
Android programmingAndroid programming
Android programming
 
Android architecture
Android architectureAndroid architecture
Android architecture
 
Lect 08 Css
Lect 08 CssLect 08 Css
Lect 08 Css
 
Lect07 Page Design
Lect07 Page DesignLect07 Page Design
Lect07 Page Design
 
Lect06 Web Design
Lect06 Web DesignLect06 Web Design
Lect06 Web Design
 
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt  Lect05 Web ProcessIntroduction to On-line Documemt  Lect05 Web Process
Introduction to On-line Documemt Lect05 Web Process
 
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt  Lect03 E CommerceIntroduction to On-line Documemt  Lect03 E Commerce
Introduction to On-line Documemt Lect03 E Commerce
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 
Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4Introduction to On-line Documemt Lab 4
Introduction to On-line Documemt Lab 4
 
Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3Introduction to On-line Documemt Lab 3
Introduction to On-line Documemt Lab 3
 
Lab 2 For Css
Lab 2 For CssLab 2 For Css
Lab 2 For Css
 
Rss
RssRss
Rss
 
Digital Content Business
Digital Content BusinessDigital Content Business
Digital Content Business
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 09
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 08
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 07
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 06
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 04
 

Communication Concept 3

  • 2. Network-Internet เชือว่าทุก ๆ คนคงเคยได้ยินเกี่ยวกับระบบ เครือข่าย หรือ Network มาบ้างแล้ว เพราะจริง ๆ ในชีวตประจำาวันของ ิ เรา ก็มีการติดต่อสือสารถึงกัน โดยใช้ระบบ ่ เครือข่าย เช่น การโทรศัพท์พดคุยกัน, การดู ู หนัง ฟังเพลง หรือแม้แต่การเบิก ถอนเงิน กับ ธนาคารด้วยเครื่องถอนเงินอัตโนมติ ATM และที่คุณกำาลังอ่านข้อมูลผ่านทาง internet อยู่นี้ นั่นคือ คุณกำาลังใช้งานในระบบเครือข่าย อยู่เหมือนกัน เราถือว่า internet เป็นระบบ เครือข่ายที่ใหญ่มากที่สดในโลก... สิ่งเหล่านี้ ุ
  • 5. Communication องค์ประกอบพื้นฐาน 1.หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit) 2.ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmission Channel) 3.หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)
  • 6. Communication • ผู้สงข่าวสารหรือแหล่งกำาเนิดข่าวสาร (source) ่ อาจจะ เป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือ ท่าทางต่าง ๆ ก็นบว่าเป็นแหล่งกำาเนิดข่าวสาร จัดอยู่ในหมวดหมู่ ั นีเช่นกัน ้ 2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผส่งข่าวสาร ู้ หรือแหล่งกำาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใดที่ การติดต่อสื่อสาร บรรลุวัตถุประสงค์ ผูรับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็ ้ 3. จะได้องสัวสารนัน ๆ ถ้า(channel) อ จุด่นอาจจะหมายถึงสื่อ ด้รับ ช่ รับข่า ญญาณ ผูรับสารหรื ในที หมายปลายทางไม่ไ ้ ้ ี้ กลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดิสารนั้นไม่ประสบความสำาเร็จ กล่าวคือ ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อ น ไม่ทางผ่า่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง สายนำาสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้ มีการสื น อาจจะเป็นอากาศ กระทั่งของเหลว เช่น นำ้า นำ้า มัน เป็นต้น เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจาก
  • 7. Communication 4. การเข้ารหัส (encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและ ผูรับข่าวสารมีความ ้ เข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย จึงมีความจำาเป็นต้องแปลง ความหมายนี้ การเข้ารหัสจึง หมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไป ในสื่อกลาง ทางผูส่งมีความ ้ เข้าใจต้องตรงกันระหว่างผูส่งและผูรับ หรือมีรหัสเดียวกัน การ ้ ้ สื่อสารจึงเกิดขึ้นได้ 5. การถอดรหัส (decoding) หมายถึงการที่ผรับข่าวสาร ู้ แปลงพลังงานจากสื่อกลาง ให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผูส่งข่าวสาร โดยมีความ ้ เข้าในหรือรหัสตรงกัน 6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็นสิ่งทีมีอยู่ในธรรมชาติ มัก ่
  • 8. สัญญาณ • สัญญาณแบบ Analog จะเป็นสัญญาณแบบต เนื่อง ที่ทุกๆ ค่าที่เปลี่ยนไปของระดับสัญญาณจะมีความหม การถูกรบกวนให้มการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เช่น ี ญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น 2) สัญญาณแบบ Digital จะประกอบขึนจากระ ้ สัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสูงและสัญญาณระด ประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือจึงมีมากกว่าสัญญาแบบ a สัญญาณชนิดนี้จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำาง การสื่อสารกัน
  • 9. Data transmission การส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนั ส (asynchronous data transmission) 1 start bit 1 stop bit 8 data bits การส่งข้อมูลแบบซิงโครนั ส (synchronous data transmission) 1 start bit 1 stop bit data packet error check bits
  • 10. ทิศทางการสื่อสาร 1. แบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) เป็นการติดต่อทางเดียว เมื่ออุปกรณ์หนึ่งส่งข้อมูล อุปกรณ์อกชุดจะต้องเป็นฝ่าย ี รับข้อมูลเสมอ ตัวอย่างการใช้งานเช่น ในระบบสนามบิน คอมพิวเตอร์แม่จะทำาหน้า ที่ติดตามเวลาขึ้นและลงของเครื่องบิน และส่งผลไปให้ มอนิเตอร์ที่วางอยู่หลาย ๆ จุด ให้ผโดยสารได้ทราบข่าวสาร คอมพิวเตอร์แม่ทำาหน้าที่เป็นผู้ ู้ ส่งข้อมูล มอนิเตอร์ต่างๆ ทำาหน้าที่เป็นผูรับข้อมูล ไม่มีการ ้ เปลี่ยนทิศทางของข้อมูล เป็นการส่งข้อมูลแบบทางเดียว
  • 11. ทิศทางการสื่อสาร ฮาฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex) รติดต่อก่งสองทาง เป็ นการเปล่ียนเส้นทางในการส่งข้อมูลได้ แต่คนล ึ ข้อมูลจะไหลไปในทิศทางเดียว ณ เวลาใด ๆ ตัวอย่างการใช้งานเช่น  กา ทอร์มินัลกับคอมพิวเตอร์แม่ ผู้ใช้ท่เทอร์มินัลเคาะแป้ นเพ่ ือสอบถามข้อ ี ตอร์แม่ ต้องใช้เวลาชัวขณะคอมพิวเตอร์แม่จึงจะส่งข่าวสารกลับมาท่ีเทอ ่ นเทอร์มินัลนั ้น ไม่ว่าจะเป็ นเทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์แม่ เม่ ออุปกร ื น่งเป็ นผ้ส่งข้อมูล  อุปกรณ์ท่ีเหลือก็จะเป็ นผู้รบข้อมูลในเวลาขณะนั ้น ึ ู ั
  • 12. ทิศทางการสื่อสาร บฟลูดเพล็กซ์ (Full Duplex) ู การติดต่อสองทาง เป็ นติดต่อกันได้สองทาง กล่าวคือเป็ นผ้รับข้อมูลแ ู นเวลาเดียวกันได้ ตัวอย่างการใช้งานเช่น  การติดต่อระหว่างเทอร์มินัล   แม่ บางชนิ ดท่ไม่ต้องใช้เวลารอสามารถโต้ตอบได้ทันที หรือการพูดคุยท ี นต้น
  • 13. ช่องทางการสื่อสารข้อมูล ยคอมพิวเตอร์จำาเป็ นต้องใช้ช่องทางหรือส่ ือกลาง (media) ส่งผ่านข้อมูล ซ่ ึงมีหลายรูปแบบ ส่ิงท่ต้องคำานึ งในการเลือกช่อง ี เร็วในการส่งข้อมูล (transmission rate) Kbps, Mbps ทาง ของอุปกรณ์ท่ีตองการเช่ อมต่อกัน ้ ื จ่าย ในการติดตังครังแรกและค่าใช้จ่ายประจำา ้ ้ สะดวกสบายในการติดตัง บางพ้ืนท่อาจจะไม่สะดวกท่ีจะเดินส ้ ี ม่อาจจะใช้ส่ือบางประเภทได้ ทนทานต่อสภาพแวดล้อม เช่น ส่ ือบางประเภทอาจมีข้อจำากัด พแวดล้อมมีการเปล่ียนแปลง
  • 14. ช่องทางการสื่อสารข้อมูล หลายชนิ ด ซ่ ึงอาจจำาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ประเภทมีสาย ได้แก่ สายคู่ไขว้ (Wire pair หรือ   Twisied pair หรือสายโทรศัพท์), สายตัวนำ าร่วมแกน (Coaxial Cables), เส้นใยนำ าแสง  อไฟเบอร์ออฟติกส์ หรื (Fiber optics) ประเภทไม่มีสาย ได้แก่ ไมโครเวฟ (Microwave) และดาวเทียม, การส่ ือสารดาวเทียม (Stellite Tranmission)
  • 16. สายเกลียวคู่ (Twisted pair Cable) สายเกลียวคู่ เป็ นสายท่มีราคาถูกท่สุด  ี ี ประก ด้วยสายทองแดง  เส้น  ละเส้นมีฉนวนห 2 แต่ พันกันเป็ นเกลียว สามารถลดการรบกวนจา สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าได้  ลียวคู่สามารถใช้ได้ทังการส่งสัญญาณข้อมูลแบบอนาล็อกและแ ้ องจากสายเกลียวคู่จะมีการสูญเสียสัญญาณขณะส่งสัญญาณ  "เคร่ องขยาย" (Amplifier) สัญญาณ สำาหรับการส่งสัญญาณข้อ ื นาล็อก ในระยะทางไกล ๆ หรือทุก 5-6 กม. ส่วนการส่งสัญญา ดิจิตอลต้องมี "เคร่ องทบทวน" (Repeater) สัญญาณทุก ๆ ื -3 กม.
  • 17. สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรือเรียกสัน ๆ ว่า ้ "สายโคแอก" จะเป็ นสายส่ อสารท่มีคุณภาพท ื ี และราคาแพงกว่า สายเกลียวค่ ส่วนของสาย ู ข้อมูลจะอยู่ตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีชนขอ ั้ นำ าห้มอย่  ชัน  นในเป็ นฟั่ นเกลียวหรือชันแข็ง  นนอกเป็ นฟั่ นเกลีย ุ ู 2 ้ ชั ้ ้ ชั ้ นด้วยฉนวนหนา  อกชันนอกสุดเป็ นฉนวน  เปลื ้ สายโคแอกสามารถม้วน นำ าทำาหน้ าท่ป้องกันการสูญเสียพลังงานจากแผ่รงสี เปลือกฉนวนหนา ี ั ความคงทนสามารถฝั งเดินสายใต้พ้ืนดินได้  นอกจากนั ้นสายโคแอกยังช อนกลับ" (Echo) ของเสียงได้อกด้วยและลดการรบกวนจากภายนอกได้ด ี ารใช้สายโคแอกในการส่งสัญญาณข้อมูลท่ีใช้กันมากในปั จจุบัน คือสาย ทรศัพท์ทางไกล (อนาล็อก) สายส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายท้องถ่ิน  หร หรือใช้ในการเช่ อมโยงสัน ๆ ระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ื ้
  • 18. เส้นใยแก้วนำาแสง หรือ ไฟเบอร์ ออฟติกส์ (Fiber Optic Cable) หลักการทัวไปของการส่ อสารในสายไฟเบอร์ออปติก ่ ื คือการเปล่ียนสัญญาณ(ข้อมูล) ไฟฟ้ าให้เป็ นคล่ ืนแสง ก่อน จากนั ้นจึงส่งออกไปเป็ นพัลส์ของแสงผ่านสาย ไฟเบอร์ออปติสามารถส่งลำาแสง ผ่านสายได้ทีละหลายๆ หรือพลาสติก กสายไฟเบอร์ออปติกทำาจากแก้ว ลำาแสงด้วยมุมท่ต่างกัน  าแสงท่ส่งออกไปเป็ นพัลส์นั้น ี ลำ ี จะสะท้อนกลับไปมาท่ีผิวของสายชันในจนถึงปลายทาง ้
  • 20. ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) สูตร d = 7.14 (1.33h)1/2 กม. d = ระยะห่างระหว่างหอ h = ความสูงของหอ ญญาณข้อมูลไปกลับคล่ ืนไมโครเวฟเป็ นการส่งสัญญาณข้อมูล กันจากหอ (สถานี ) ส่ง-รับสัญญาณหน่งไปยังอีกหอหน่ ึง  ึ แต ลุมพ้ืนท่รับสัญญาณประมาณ 30-50 กม. ี
  • 21. การสื่อสารด้วยดาวเทียม (Satellite Transmission) าวเทียมก็คือสถานี ไมโครเวฟลอยฟ้ านั่ นเอง  ึงทำาหน้ าท ซ่ บทวนสัญญาณข้อมูล บและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถา รั ท่ีอยู่บนพ้นโลก ื
  • 22. การเชือมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วย ่ กันเป็นเครือข่าย มี 3 รูปแบบคือ  LAN (Local Area Network)  MAN (Metropolitan Area Network)  WAN (Wide Area Network)
  • 23. เครือข่ายท้องถิ่น : LAN (Local Area Network)  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กสำาหรับท้องถิ่น เช่นภายในตึกเดียวกัน  ต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่ อยู่ใกล้กัน  ต้องการแบ่งบันทรัยากรต่างๆเพื่อใช่ร่วมกัน เช่นอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์บางชนิดมีราคาสูง มาก
  • 24. เครือข่ายเมือง : MAN (Metropolitan Area Network) ยขนาดกลาง กลุมของเครือข่าย LAN ทีนำามาเช ่ ่ ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่น ในเม ใกล้เคียงกัน เป็นต้น
  • 25. เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN) ขนาดใหญ่โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAN เป็นเครือข่ายเดียวดังนันเครือข่ายนี้จงครอบคลุมพื้นที่กว้าง ้ ึ คลุมไปทั่วประเทศ หรือ ทั่วโลก อย่างเช่น อินเตอร์เน็ตก็จัดว่า WAN ประเภทหนึ่ง แต่เป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มใครเป็นเ ี
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43. การบ้านวันนี้  Mesh Topology คืออะไรมีการต่อแบบใด  อธิบาย Mesh Topology  วาดรูป Mesh Topology  Hybrid Topology คืออะไรมีการต่อแบบ ใด  อธิบาย Hybrid Topology  วาดรูป Hybrid Topology ( เขียนลงใน
  • 45. HUB หรือ Repeater อุปกรณ์ทีใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจาย สัญญาณ หรือข้อมูล จะต้องใช้ไฟหล่อเลี้ยง ในการทำางาน
  • 46. Network Interface Card (NIC) บางคนอาจเรียกสัน ๆ ว่า LAN Card หมายถึง ้ Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่อง PC ส่วนใหญ่จะมี ขนาดเล็ก
  • 47. Switch หรือ Bridge เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้า ด้วยกัน โดยจะต้อง media และโปรโตคอล เหมือนกันเท่านั้น
  • 50. Protocol Protocol คืออะไร โปรโตคอล คือระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับสื่อสารข้อมูล ให้สามารถสื่อสารข้อมูลไปยัง ปลายทางได้อย่างถูกต้อง สำาหรับโปรโตคอลที่มีผใช้งาน ู้ มากที่สุดในโลกคือ TCP/IP สำา หรับโปรโตคอลอื่นๆ อีก เช่น โปรโตคอล IPX/SPX โปรโตคอล NetBIOS และ โปรโตคอล AppleTalk เป็นต้น โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol / Internet Protocol เป็น เครือข่ายโปรโตคอล
  • 51. Protocol IPX/SPX บริษท Novell ซึงเป็นผู้พัฒนาระบบปฏิบัตการเครือข่าย Netware ที่น ั ่ ของโลก โปรโตคอล IPX/SPX แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ IPX k Packet Exchange) และ SPX (Sequenced Packet Exchange) NetBIOS ic Input/Output System ความจริงแล้ว NetBIOS ไม่ใช่โปรโตคอล น ไลบรารีของกลุ่มคำาสั่งระบบเครือข่าย หรือ API (Application g Interfac) การใช้งาน NetBIOS จะใช้ในลักษณะของกลุ่มคอมพิว บปฏิบัติการ Windows หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า workgroup AppleTalk บริษท Apple Computer เป็นโปรโตคอลที่ใช้สำาหรับสื่อสารในระบบ ั อมพิวเตอร์ Macintosh โดยเฉพาะ
  • 53. Internet อินเตอร์เน็ต (INTERNET) คืออะไร ? การเช่ อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ Platform ต่างๆ ให้ ื สามารถเข้าถึง (access)กันได้
  • 55. Internet ทำางานอย่างไร • ระบบเครือข่าย WAN ท่ีเช่ อม ื ต่อเครือข่ายขององค์กร และผู้ให การอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider - ISP) เข้าด้วยกัน และยืน อยู่บนพ้ืนฐานโปรโตคอล TCP/I • เครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในเป แบคโบน (backbone) ท่ีเป็ น ระบบรับส่งข้อมูลความเร็วสูง หลายเส้นต่อเช่ อมโยงระหว่างกันซับซ้อน แต่ละโหนดจะมีการ ื จัดการจัดสรรเส้นทางข้อมูลท่จะรับส่งระหว่างโหนด(ชุม ี ทาง)ต่างๆ • องค์กรหรือ ISP เช่ อมต่อระบบตนเข้ากับอินเทอร์เน็ตผ่านทาง ื
  • 56. IP Address บ่งบอกว่าคอมพิวเตอร์เคร่ ืองใด องค์กรใด อยู่ท่ไหนในอินเทอ ี สร้างของ TCP/IP ในส่วนการจัดสรรท่อยู่ท่ีเรียกว่า IP Address ี มีคาเท่ากับ 0-255 ่ ... 203.168.23.1 •แบ่งเป็ น 5 ระดับ (class) •หมายเลขจะไม่ซ้ากัน
  • 57. Domain Name Server มง่ายต่อการจดจำาและเรียกช่ อเคร่ อง(หรือองค์กร) ต่างๆ จึงม ื ื ตัวย่อภาษาอังกฤษผสมกับการใช้เคร่ ืองหมายจุด ในการอ้างถ ทนการอ้างด้วยไอพีแอดเดรส n name ช่ อท่ีใช้เรียกแทนองค์กรหรือเคร่ ืองต่างๆ ในโลก ื n name server (DNS) เคร่ ืองเซอร์เวอร์ท่ให้บริการ ี 202.28.32.3 www.informatics.msu.ac.th
  • 58. Domain ระบบโดเมนในประเทศไทย DOMAIN ความหมาย ตัวอย่าง .ac academic msu.ac.th .or organization nectec.or.th .co commercial ksc.co.th .go government moph.go.th .net network msuradio.net
  • 59. Service E-mail ลระหว่างผู้ใช้ภายในอินเทอร์เน็ต โดยอ้างช่ ือผู้ใช้เป็ น e-mai ame@[ช่ ือเคร่ ือง.]ช่ ือองค์กร.รหัสองค์กร.รหัสประเทศ jenchoke.t@msu.ac.th ส่งอีเมล์จะอาศัยเมล์เซอร์เวอร์ทำาหน้ าท่ส่งถ่ายข้อมูลจากต้นทา ี าง (มีหลายเมล์เซอร์ทำาหน้ าท่ีต่อเน่ ืองถึงกันไป หรืออาจจะจัด กต้นทางไปยังปลายทาง)
  • 60. Service ห้บริการจดหมายข่าว (Newsgroup) จดหมายข่าว (news) เป็ นบริการท่ีมีพ้ืนฐานมาจากระบบอีเมล ซอร์เวอร์จะไม่ได้ส่งอีเมล์ไปยังผู้ใช้ เป็ นหน้ าท่ของผู้ใช้ท่จะเข้า ี ี วสารในเซอร์เวอร์เอง (และส่งข้อความตอบโต้กลับ Newsgro นหลายกลุ่ม ซ่ ึงแต่ละกล่มจะเจาะจงจุดสนใจไปยังเร่ ืองใดเร่ ือง ุ ห้การบริการเข้าใช้ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์ และ/หรือ รอ่ ืนๆบนโฮสต์(เซอร์เวอร์) t เป็ นบริการติดต่อเข้าใช้เคร่ ืองโฮสต์ใดๆ บนอินเทอร์เน็ต ท่ีเป็ นพ้ืนฐานของระบบปฏิบัตการยูนิกซ์ท่ต่อเช่ ือมกันเป็ นเคร ิ ี CP/IP (remote login)
  • 61. Service ห้บริการรับส่งไฟล์ระหว่างเคร่ องผู้ใช้กับเคร่ ืองโฮสต์ ื นการบริการรับส่งไฟล์บนอินเทอร์เน็ต ซ่งเป็ นบริการพ้ืนฐาน ึ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ftp server เป็ นเซอร์เวอร์ท่ยอมรับการล็อกอินของผู้ใช้ท ี าม (anonymous user) และไฟล์เซอร์เวอร์ดังกล่าวตามป จกจ่ายไฟล์ต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต ให้บริการข้อมูลข่าวสารในรูปของตัวอักษร เป็ นการให้บริการข้อมูลข่าวสารในรูปของตัวอักษร และ w ปั จจุบัน
  • 62. จงตอบคำาถามต่อไปนี้  สายสัญญาณทีเป็นตัวกลางของการ ่ สือสารมีชนิดอะไรบ้าง ่ (บอก ชื่อและลักษะโดยคร่าวๆ)  จงวาดรูป Topology แบบ Bus, Ring, Star  บอกข้อดีข้อเสียของ Bus, Ring, Star  ชือ Domain .ac, .or, .og, .co หมาย ่ ถึงหน่วยงานประเภทใด