SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
1
ชื่อโครงงาน สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน เด็กหญิงนณิชานันณ์ แซ่หน่า
เด็กหญิงเปรมยุดา ไชยชนะ
เด็กหญิง
ชื่อครูที่ปรึกษา นาวสาวจารุณี ศรีสวัสดิ์
อีเมล์ครูที่ปรึกษา Tjarunee@2013@gmail.com โทร 0619988669
โรงเรียนบ้านป่ายาง อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
ปีการศึกษา 2565
บทคัดย่อ
การนาเปลืกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ซึ่งเป็นพืชทีมีอยู่ในท้องถิ่นมาผลิตเป็นสี
ย้อมผ้าจากธรรมชาติเพื่อเพิ่มอาชีพเพิ่มรายได้และกระตุ้นการท่องเที่ยวให้กับท้องถิ่น ลดปริมาณการ
ใช้สารเคมีหันกลับมาเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติ สู่ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ.ศ.2561-2580) “ ประเทศ
ไทยมีความมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญชาของเศษฐกิจ
พอเพียง “ เพื่อให้ประเทศชาติมั่งคง ประชาชนมีความสุข เศษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็น
ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จาก
เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง และเพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจาก
ธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง
ซึ่งจากการศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ เปลือกต้นแสมให้สีน้าตามส้มเข้มมากที่สุด เปลือกต้น
ตะบูนให้สีน้าตาลเทาเข้ม เปลือกต้นโกงกางให้สีน้าตาลเทาอ่อน และจาการศึกษาความคงทนในการ
ติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ในการซักล้างครั้งแรกสี
ผ้าจะดูซีดออกมามากที่สุดเนื่องสีที่ออกมาเป็นสีเกินในเส้นใยผ้าและเมื่อซักล้างครั้งหลังสีแทบจะไม่มี
การเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถนามาทาเป็นสีย้อมผ้าจากธรรมชาติได้ทั้ง 3 ชนิด โดยให้สีที่แตกต่างกัน
คาสาคัญ
สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ สีย้อมผ้าจากต้นโกงกาง สีย้อมผ้าจากต้นแสม สีย้อมผ้าจากตะบูน
Tropical Eco Fashion
2
บทที่ 1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน
เสื้อผ้าที่เราสวมใส่กันอยู่เป็นประจาสวยเด่นนาแฟชั่นเพียงใดหลายคนทราบดี แต่สาหรับขั้น
ตอนการผลิตนั้นคงยากที่ใครจะสนใจว่าปลอดภัย จากสารพิษหรือไม่และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
อย่างไร เพราะถือเป็นเรื่องไกลตัว แต่ความจริงแล้วมันใกล้ปากเราเพียงนิดเดียว เนื่องจากมีการใช้
สารพิษในกระบวนการผลิตที่มีผลกระทบต่อแหล่งน้าและอาหารของมนุษย์ ซึ่งในอนาคตหากไม่มีการ
ป้องกันจะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและมนุษย์ทั่วโลก
ในการใช้ชีวิตประจาวันของกลุ่มข้าพเจ้า ได้สังเกตเห็นว่าผู้ปกครองและบุคคลในหมู่บ้านได้ใช้
เปลือกของต้นกระบูรในการย้อมแหซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการทาประมง ที่ตั้งของชุมชนบ้านป่างยางมีภูมิ
ประเทศเป็นป่าชายเลนมีพืชพรรณหลากหลาย เช่น ต้นตะบูน ต้นแสม ต้นโกงกาง ต้นจาก และสืบ
เนื่องจากโรงเรียนของข้าพเจ้ามีโครงการ ภาพพิมพ์บนผืนผ้า กลุ่มของข้าพเจ้าเริ่มจะศึกษาเกี่ยวกับสี
ย้อมผ้าจากธรรมชาติโดยใช้พืชในท้องถิ่น
จากข้อมูลข้างต้นทาให้คณะผู้จัดทาโครงงานเกิดความสนใจที่จะนาเปลืกต้นตะบูน เปลือกต้น
แสม เปลือกโกงกาง ซึ่งเป็นพืชทีมีอยู่ในท้องถิ่นมาผลิตเป็นสีย้อมผ้าจากธรรมชาติเพื่อเพิ่มอาชีพเพิ่ม
รายได้และกระตุ้นการท่องเที่ยวให้กับท้องถิ่น ลดปริมาณการใช้สารเคมีหันกลับมาเรียนรู้ที่จะอยู่กับ
ธรรมชาติ สู่ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ.ศ.2561-2580) “ ประเทศไทยมีความมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น
ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญชาของเศษฐกิจพอเพียง “ เพื่อให้ประเทศชาติมั่ง
คง ประชาชนมีความสุข เศษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูนเปลือกต้นแสมและเปลือกต้นโกงกาง
2. เพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม
และเปลือกต้นโกงกาง
ขอบเขตของกำรศึกษำ
1. การทดลองทาในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านป่ายาง จังหวัดพังงา
2. เปลือกของต้นตะบูน เปลือกของต้นแสม เปลือกของต้นโกงกาง และใบไม้ในท้องถิ่น
3
ตัวแปรของกำรศึกษำ
ตอนที่ 1 ศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง
ตัวแปรต้น ชนิดของพืช เปลือกตะบูน เปลือกแสม เปลือกโกงกาง
ตัวแปรตาม สีที่ได้
ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้า เวลาที่ใช้ในการต้ม เวลาในการย้อมผ้า ชนิดของผ้า
ตอนที่ 2 ศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม
เปลือกโกงกาง
ตัวแปรต้น ชนิดของสีจากสีธรรมชาติ
ตัวแปรตาม ความคงทนของสีหรือประสิทธิภาพของสี
ตัวแปรควบคุม ปริมาณและชนิดของผงซักฟอก ปริมาณน้า เวลาที่ใช้ในซักล้าง ชนิดของผ้า
สมมติฐำน
ตอนที่ 1 เปลือกของต้นตะบูน เปลือกแสม และเปลือกต้นโกงกาง สามารถนามาทาเป็นสีย้อมผ้า
จากธรรมชาติได้
ตอนที่ 2 สีย้อมผ้าที่ได้จาก เปลือกของต้นตะบูน เปลือกแสม และเปลือกต้นโกงกาง มีความคงทน
การซักล้าง
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ครัวเรือนและสังคมปลอดภัยจากสารเคมีจากสีย้อมผ้าตามท้องตลาดอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
2. สามารถส่งเสริมเป็นรายเสริมให้กับนักเรียนและชุมชนได้สู่ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์
3. ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์สู่การเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21
นิยำมเชิงปฏิบัติกำร
ความคงทนของสีย้อมหรือประสิทธิภาพของสีย้อม วัดได้จากการสังเกตสีหลังการการทา
ความสะอาดด้วย ผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าน้าเปล่า 1 ลิตร แล้วล้างด้วยน้าเปล่า และผึ่งลมจนแห้ง
จานวน 10 ครั้ง
4
บทที่ 2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
การจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion มีวัตถุ
ประสงค์เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง และ
เพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือก
โกงกาง โดยมีเอกสารที่เกี่ยวข้องในการศึกษาดังนี้
2.1 สีธรรมชำติ
วัตถุดิบที่ใช้ย้อมสีด้วยภูมิปัญญาของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้มีการเรียนรู้ที่จะใช้ประ
โยชน์จากสีซึ่งสกัดจากวัตถุดิบจากธรรมชาติมากขึ้นในปัจจุบันเช่นการใช้ย้อมเนื้อเยื่อพืชและสัตว์การ
ใช้ประโยชน์ทางอาหารยาและเครื่องสาอางการใช้ประโยชน์ทางการเกษตรกรรมรวมทั้งนามาย้อมเส้น
ใยและผืนผ้าเพื่อใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มและใช้สอยในชีวิตประจาวันสีย้อมจากธรรมชาติสามารถจาแนกได้
ตามแหล่งที่มาดังนี้
1.สีย้อมธรรมชาติจากแร่ธาตุ ( Mineral dyes ) สีย้อมธรรมชาติจากแร่ธาตุสีธรรมชาติ
ประเภทนี้เป็นสีที่เกิดจากสารประกอบของโลหะเช่น เหล็ก โครเมียม ตะกั่ว ทองแดงแมงกานีส
โคบอลต์ และนิเกิล ซึ่งในอดีตเป็นกลุ่มสีที่มีความสาคัญมากแต่ในปัจจุบันไม่ปรากฏแหล่งผลิตและการ
ใช้สีกลุ่มดังกล่าวสาหรับประเทศไทยในปัจจุบันยังมีการใช้สีธรรมชาติจากแร่ธาตุในการยอมสีสิ่งทอ คือ
สีจากโคลนและดินแดง ที่มีสารประกอบพวกอลูมิโนซิลิเกต และสารประกอบโลหะอยู่
2.สีย้อมธรรมชาติจากสัตว์ (Animal dyes) คือสารสีที่ได้จากสารที่ขับออกจากสัตว์ สาหรับ
ประเทศไทยมีการใช้สีจากแมลง คือ ครั่ง โดยตัวครั่งจะดูดกินน้าเลี้ยงของต้นไม้แล้วสารสีแดงที่เรียกว่า
ยางครั่ง ซึ่งมีกรดแลคคาอิค (laccaic acid) ออกมาหุ้มรอบตัวเป็นรัง สารสีแดงที่ถูกขับออกมาดังกล่าว
มานี้ถูกนามาใช้ประโยชน์ ทั้งในการย้อมสิ่งทอ ผสมในอาหาร และใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท
สาหรับเส้นใยที่ย้อมด้วยครั่ง คือ ไหม ขนสัตว์ และฝ้าย สารละลายกรดแลคคาอิคให้หลายสี ได้แก่ สี
ส้ม สีแดง หรือแดงอมม่วง โดยขึ้นกับค่าความเป็นกรดด่าง (pH)
3.สีย้อมธรรมชาติจากพืช ( Vegetable dyes ) เป็นสีที่ได้จากพืชเป็นกลุ่มสารสีหลักของ
การย้อมจากธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้งราก เปลือก ลาต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก
ผล และเมล็ด ในการย้อมผ้าและเส้นยจากธรรมชาติ ในปัจจุปันแหล่งวัตถุดิบสีจากรรมชาติยัง
สามารถหาได้จากต้นไม้ ใบไม้ที่ให้สีสันสวยงามและหลากหลายตามที่ต้องการ สามารถสร้างเฉดสีได้
หลากหลายด้วยการใช้ตัวช่วยติดสี ( Mordant )
5
แสม
หรือเล็บมือนาง เล็บนาง ชื่อวิทยาศาสตร์: Aegiceras corniculatum เป็นไม้พุ่มในวงศ์
Myrsinaceae โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เปลือกเรียบสีเทาเข้มถึงน้าตาลแดง ใบเดี่ยว แผ่นใบหนาคล้าย
แผ่นหนัง ด้านบนเป็นมัน ท้องใบสีเขียวอมแดง ดอกช่อ ออกตามซอกใบเป็นช่อแบบซี่ร่ม มีกลิ่นหอม
กลีบดอกสีขาว ผลเป็นทรงกระบอก เรียวโค้ง ยาว 5-8 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียวอม
น้าตาล งอกตั้งแต่อยู่บนต้น เนื้อไม้ใช้ทาอุปกรณ์ประมง สารสดัดของกิ่งแสมแดงมีฤทธิ์เป็นยาแก้ปวด
ในหนู
รูปที่ 1-2 แสม https://guru.sanook.com/6011/
ตะบูน
ตะบูน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Xylocarpus moluccensis) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Meliaceae
เปลือกลาต้นสีดาหรือน้าตาล แตกเป็นร่องตามยาว โคนต้นมีพูพอนและมีรากหายใจ ใบเป็นใบ
ประกอบแบบขนนก ผิวใบมัน สีเขียวเข้ม หลังใบเขียวอ่อนกว่า ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ง่ามใบ ดอกย่อย
สีขาว มีจานวนมาก ผลเป็นลูกกลมขนาดใหญ่ ผิวเกลี้ยง ข้างในมีเมล็ดสีน้าตาลอมแดงขนาดใหญ่หลาย
อันตะบูนดาเป็นพืชสมุนไพร เปลือกและผลใช้รักษาอหิวาตกโรค หรือใช้ต้มล้างแผล เปลือกและเมล็ด
แก้โรคบิดและท้องร่วง เปลือกให้น้าฝาด สาหรับย้อมผ้า
สรรพคุณของตะบูนดำ
ใช้เป็นยาบารุงร่างกาย (ผล, เมล็ด) เปลือกไม้ใช้เป็นยาลดไข้ (เปลือกไม้)ช่วยแก้อาการไอ (ผล
, เมล็ด) เปลือกและผลช่วยแก้อหิวาตกโรค (ผล, เปลือก) เปลือกและผลใช้ต้มกับน้าดื่ม ช่วยรักษาแผล
ภายในได้ (เปลือก, ผล) ผลใช้ต้มกับน้าดื่มช่วยแก้อาการท้องเสีย (ผล, เปลือกไม้) ตะบูนดาช่วยแก้บิด
6
ด้วยการใช้ผลนามาต้มกับน้าดื่ม (ผล) เมล็ดใช้รับประทานแก้อาการท้องร่วง (ผล, เมล็ด) ช่วยแก้อาการ
อักเสบในลาไส้และอาการผิดปกติในช่องท้อง (เปลือกไม้)
รูปที่ 3-4 ตะบูน https://th.wikipedia.org/wiki/
สรรพคุณของตะบูนดำ
ใช้เป็นยาบารุงร่างกาย (ผล, เมล็ด) เปลือกไม้ใช้เป็นยาลดไข้ (เปลือกไม้)ช่วยแก้อาการไอ (ผล,
เมล็ด) เปลือกและผลช่วยแก้อหิวาตกโรค (ผล, เปลือก) เปลือกและผลใช้ต้มกับน้าดื่ม ช่วยรักษาแผล
ภายในได้ (เปลือก, ผล) ผลใช้ต้มกับน้าดื่มช่วยแก้อาการท้องเสีย (ผล, เปลือกไม้) ตะบูนดาช่วยแก้บิด
ด้วยการใช้ผลนามาต้มกับน้าดื่ม (ผล) เมล็ดใช้รับประทานแก้อาการท้องร่วง (ผล, เมล็ด) ช่วยแก้อาการ
อักเสบในลาไส้และอาการผิดปกติในช่องท้อง (เปลือกไม้)
โกงกำง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhizophora, Red Mangrove
ชื่อท้องถิ่นอื่นๆที่เรียกกัน เช่น กงเกง (นครปฐม), กง
กางนอกโกงกางนอก (เพชรบุรี), กงกอน (เพชรบุรี,
ชุมพร), ลาน (กระบี่), โกงกางใบใหญ่ (ภาคกลาง),
กางเกงพังกาพังกาใบใหญ่ (ภาคใต้) โกงกาง (ระนอง),
พังกาทราย (กระบี่) เป็นต้น
รูปที่ 5 โกงกาง https://th.wikipedia.org/wiki/
ลาต้น มีลักษณะเปลาตรง ด้านรับแสงจะมีกิ่งก้านมาก เปลือกลาต้นเป็นสีน้าตาลเทา เปลือก
ต้นค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นๆในแนวตั้งหรือแนวนอนรอบลาต้น ส่วนเปลือกในเป็นสีส้ม สี
เทาดา ในกระพี้เป็นสีเหลืองอ่อน และเนื้อไม้เป็นสีน้าตาลอมแดง เป็นมันวาว บริเวณของโคนจะมีราก
ค้าจุน
7
ใบ พบว่าเป็นใบชนิดเดี่ยว ซึ่งใบแต่ล่ะคู่จะออกสลับทิศทางหรือตรงกันข้าม รูบใบมีความรี
คล้ายรูปหอก ปลายแหลม และฐานของใบจะเข้าหากันคล้ายรูปลิ่ม หูใบเป็นสีชมพูถึงสีแดงเข้ม ทา
หน้าที่หุ้มใบอ่อนไว้ บริเวณหน้าใบสีเขียวอ่อนมีความมันแวว ส่วนหลังใบเรียบเกลี้ยงสีเขียวอมเหลือง
หรืออมดา และมีจุดสีน้าตาลเห็นชัดเจนดอก จะเป็นช่อคู่ และมีกลีบเลี้ยงกลีบดอกแตกต่างกันตาม
สายพันธุ์
ผล เจริญเติมโตมาจากฐานรองดอก มีลักษณะคล้ายระฆัง ผิวเปลือกของผลมีสีน้าตาล ค่อนข้าง
หยาบ และฝักจะแทงออกมาจากส่วนปลายของผล แต่ถ้าฝักเริ่มแก่ฝักจะเจริญเติมโตออกมานอกผล
โดยจะถูกเชื่อมกับขั้วฝักและใบเลี้ยง ฝักจะมีสีเป็นน้าตาลอมแดงแล้วหลุดร่วงไปเองโดยธรรมชาติก็จะ
งอกและเติมโตขึ้นมาใหม่เรื่อยๆตามสภาพความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
สำรช่วยกำรติดสี ( Mordant )
สารช่วยติดสี (Mordant) มีหน้าที่ช่วยให้ติดสีอยู่บนเส้นกก โดยสารช่วยติดสีที่นิยมใช้ใน
กระบวนการย้อมสีธรรมชาติส่วนใหญ่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. สารช่วยติดสีเคมีเป็นเกลือของโลหะอลูมิเนียม (สารส้ม) เหล็ก (เฟอรัสซัลเฟต) ทองแดง
(จุนสี) เป็นต้น
2. สารช่วยติดสีธรรมชาติเป็นสารประกอบธรรมชาติได้แก่ แทนนิน สารส้ม น้าปูนใส กรด
ธรรมชาติ น้าบาดาล น้าโคลน เป็นต้น
กำรใช้สำรช่วยติดสีในกำรย้อมสีธรรมชำติมี 3 วิธีคือ
1.การใช้สารช่วยติดสีก่อนการย้อมสี (Pre -mordant) เป็นการนาเส้นใยไปย้อมกับสารช่วยติด
สีก่อนนาไปย้อมสีธรรมชาติ
2.การใช้สารช่วยติดสีพร้อมการย้อมสี (Meta-mordant) เป็นการเติมสารช่วยติดสีลงในน้าสี
แล้วจึงนาเส้นใยลงย้อม
3.การใช้สารช่วยติดสีหลังการย้อมสี (Post -mordant) นาเส้นใยลงย้อมในน้าสีก่อนแล้วจึง
นาไปย้อมกับสารช่วยติดสี
สำรส้ม
 เป็นของแข็ง ไม่มีสี มีลักษณะคล้ายผลึก
 สามารถละลายน้าและทาให้สารละลายมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนๆ
 มีความหนาแน่นมากกว่าน้า
 มีคุณสมบัติจับกลุ่มหรือเข้ารวมตัวกับสารแขวนลอยในของเหลวแขวนตะกอน และทาให้
ตกตะกอน คนไทยจะคุ้นเคยการใช้สารส้มแกว่งกวนในน้าเพื่อทาให้น้าที่ขุ่นนั้นใสขึ้น
8
ประโยชน์ของสำรส้ม ได้แก่
ก. โปแตสเซียม อะลั่ม (Potassium alum): ประโยชน์ เช่น
1. เป็นสารประกอบที่มีฤทธิ์ฝาดสมาน/ยาสมาน/ยาสมานแผล/ยาช่วยทาให้แผลหาย(Astringent) จึง
นามาใช้เป็นสารห้ามเลือด (Styptic pencil) ช่วยลดอาการเลือดออกจากบาดแผลที่เกิดจากของมีคม
ใช้ห้ามเลือดที่ซึมจากจมูก และช่วยบรรเทาอาการเลือดออกจากริดสีดวงทวาร
2. ใช้ฝาดสมานหัวสิว และแผลร้อนในที่เกิดในปาก
3. ใช้ดับกลิ่นตัว/สารระงับกลิ่นกาย (Deodorant) ด้วยโปแตสเซียม อะลั่มสามารถยับยั้งการ
เจริญเติบโตขอแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุหนึ่งของกลิ่นกาย
4. ใช้เป็นส่วนประกอบเพื่อช่วยสนับสนุนการทางานของวัคซีนให้ดียิ่งขึ้น หรือที่เรียกว่า Adjuvant
5. ใช้เป็นองค์ประกอบใน ผงฟู(Baking powder)
6. ใช้เป็นสารชะลอการติดไฟในผลิตภัณฑ์จาพวกเสื้อผ้า ไม้และกระดาษ
7. ใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง
8. ใช้ในกระบวนการทาน้าดื่ม โดยโปแตสเซียม อะลั่มจะทาให้สารแขวนตะกอน ในน้าที่ใช้เป็นวัตถุดิบ
ผ้ำฝ้ำย
ผ้ำคอตตอน (cotton) ชื่อวิทยาศาสตร์ Gossypium hirsutum L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE)
ใยเซลลูโลสที่ได้มาจากได้จากดอกของฝ้าย เมื่อนามาทอเป็นผ้า จะได้ผ้าคอตตอนที่แข็งแรง
ยิ่งทอเนื้อหนา-แน่นจะยิ่งแข็งแรง ทนทาน ดูดความชื้นได้ดี เส้นใยฝ้ายจะมีขนาดความกว้างเท่าๆ กัน
มีคุณสมบัติโดดเด่นเรื่องของความโปร่งสบาย เมื่อเปียกจะตากแห้งได้เร็ว การใช้ฝ้ายมาใช้งานทาได้
โดยนาฝ้ายมาปั่นเป็นเส้นด้าย แล้วนามาทอเป็นผืนผ้า ต้นฝ้ายปลูกขึ้นได้ดีในแถบที่มีอากาศอุ่นชื้นและ
มีแดดจัด เมื่อผลฝ้ายแก่จัดแล้ว ผลจะแตกมีใยเป็นปุยขาว จึงเก็บมาแยกเอาเปลือกและเมล็ดออก แล้ว
นาไปปั่นเป็นเส้นใยและเส้นด้าย ต่อจากนั้นจะนาไปทอเป็นผืนผ้าและนามาตัดและเย็บเป็นเสื้อผ้า
เครื่องแต่งกาย อย่างเช่นเสื้อยืด Indy T-Shirt
รูปที่ 6-7 ผ้ำฝ้ำย https://www.ruedee.com/th/fabric/cotton/
คุณสมบัติของผ้ำฝ้ำย มีดังนี้
1.ความมันเงา ใยฝ้ายโดยทั่วๆ ไปจะมีความมันน้อย ต้องเพิ่มความมันด้วยการตกแต่ง เช่น ผ้า
9
ฝ้ายเมอร์เซอร์ไรซ์
2.ความเหนียว ฝ้ายจะมีความเหนียวปานกลาง คือจะเหนียวประมาณ 3.0-5.0 กรัมต่อเดน
เยอร์ ความเหนียวจะเพิ่มขึ้นเมื่อเปียก ความเหนียวเมื่อเส้นใยเปียกจะมากกว่าความเหนียวเมื่อแห้ง
ประมาณ 25-40 เปอร์เซ็นต์ ความยืดหยุ่นและการยืดได้ ในฝ้ายจะยืดหยุ่นได้ค่อนข้างต่า คือจะยืดได้
ประมาณ 3-7 เปอร์เซ็นต์ บางครั้งอาจถึง 10 เปอร์เซ็นต์ก่อนถึงจุดขาด การหดตัวกลับที่เดิม หากจับ
ยืดออกเพียง 2 เปอร์เซ็นต์จะหดตัวกลับเข้าที่เดิมได้ 74 เปอร์เซ็นต์ และถ้าจับยืดออก 5 เปอร์ เซ็นต์
จะหดกลับที่เดิมได้เพียง 50 เปอร์เซ็นต์
3.ความคืนตัว ใยฝ้ายและผ้าฝ้ายคืนตัวได้ต่า และยับง่ายมาก ความถ่วงจาเพาะ ใยฝ้ายมีความ
หนาแน่นและความท่วงจาเพาะ 1.54 กรัมลูกบาศก์เซนติเมตร
4.การดูดความชื้น ฝ้ายดูดความชื้นในบรรยากาศได้ 8.5 เปอร์เซ็นต์ ถ้าความชื้นสัมพันธ์ใน
อากาศ 95 เปอร์เซ็นต์และ 100 เปอร์เซ็นต์ ฝ้ายจะดูดความชื้นไว้ได้ 15 เปอร์เซ็นต์ และ 25-27
เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ผ้าฝ้าย สามารถดูดซับความชื้นจากเหงื่อและน้าได้ดีและสามารถระบายความ
ชื้นได้เร็ว
5.ความคงรูป โดยปกติผ้าฝ้ายจะคงรูป ไม่ยืด และหดตัวมากนัก ความยืดและหดจะมากหรือ
น้อยขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิตเป็นผืนผ้าด้วย ถ้าต้องการไม่ให้หด จะต้องทาการตกแต่งให้ทนหด เช่น
ผ้าซันฟอไรซ์
กำรทำควำมสะอำดผ้ำก่อนกำรย้อม
ก่อนที่จะนาเส้นไหม/ เส้นฝ้าย/ ผ้า ไปย้อมสีนั้น ต้องกาจัดไขมัน สิ่งสกปรก รวมทั้งสารที่เคลือบ
ติดเส้นด้ายออกไป เพราะสิ่งเหลานี้ทาให้สีย้อมติดเส้นด้ายไม่ดี
ฝ้ายเป็นเส้นใยที่รู้จักและใช้กันมาตั้งแต่สมัยโบราณจนกระทั่งถึงปัจจุบัน แม้จะมีเส้นใยชนิด
ใหม่ๆ เกิดขี้นมาก แต่ฝ้ายก็ยังคงเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และจัดเป็นเส้นใยธรรมชาติที่ได้จากพืช เป็น
เส้นใยของเซลลูโลส ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ของกลูโคส ฝ้านมีความคงทนต่อสารฟอกขาวทุกชนิด ทั้งชนิดที่
เป็นสารฟอกขาวประเภทคลอรีน เช่น โซเดียมไฮโปคลอไรท์ และสารฟอกขาวประเภทออกซิเจน เช่น
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีความทนต่อด่างได้ดี แต่ไม่ทนต่อกรดแก่ ทนต่อความร้อนแสงแดดได้ดี
แสงแดดไม่ทาอันตรายต่อผ้าที่ตากแดดจนแห้ง แต่ถ้าปล่อยให้ถูกแสงสว่างเป็นระยะเวลานานและ
ตลอดเวลา จะทาให้เซลลูโลสถูกออกซิไดซ์ ส่งผลให้ผ้าลดความเหนียวได้ และเปลี่ยนเป็นสีเหลือง การ
ซักตากผ้าฝ้ายควรให้แห้งสนิท การรีดควรรีดใช้อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส การทาความสะอาด
เส้นด้ายฝ้ายเพื่อกาจัดแว็กซ์ ไขมัน หรือสิ่งสกปรก ที่เคลือบอยู่บนเส้นด้าย มี 2 วิธี คือ
(1) วิธีปกติ
10
(1.1) นาเส้นฝ้าย/ ผ้าฝ้าย มาซักกับน้าและผงซักฟอก โดยใช้ผงซักฟอก 100 กรัม
ต่อฝ้ายดิบ 1 กิโลกรัม ต่อน้า 30 ลิตร
(1.2) แช่ทิ้งไว้ 30-60 นาที
(1.3) นามาซักน้าเพื่อล้างเอาผงซักฟอกออก
(2) วิธีเพิ่มด่าง
(2.1) ละลายผงซักฟอก (หรือใช้สบู่ซักผ้า) 50 กรัม เติมโซดาไฟ 1 ช้อนโต๊ะ และโซดา
แอช 20 ช้อนโต๊ะ ในน้า 20 ลิตร ต่อฝ้าย 1 กิโลกรัม
(2.2) นาฝ้ายดิบลงซักในน้าเย็น ให้เส้นฝ้ายเปียกน้าให้ทั่ว
(2.3) ค่อยๆ เพิ่มความร้อนจนเดือนเบาๆ ต้มต่อไปอีกครึ่งชั่วโมง
(2.4) นาเส้นฝ้ายขึ้นมาวางทิ้งไว้ เพื่อให้เย็นตัวลง ก่อนนาไปล้างโดยล้างจากน้าอุ่น
ไปหาน้าเย็น (ล้างด้วยน้าอุ่น 60 องศาเซลเซียส ประมาณ 2-3 ครั้ง ก่อนนาไปล้างด้วยน้าเย็น
อุณหภูมิห้อง) บิดหมาดๆ และกระตุกเส้นฝ้าย 2-3 ครั้ง เพื่อให้เส้นฝ้ายเรียงตัว นาไปตากแห้ง หากยัง
ไม่ย้อมให้เก็บไว้อย่าให้โดนฝุ่น
ทั้งนี้ สามารถทดสอบเส้นด้ายฝ้ายก่อนย้อมว่าล้างไขมันออกหมดหรือไม่ โดยเส้นด้ายที่ล้างไขมัน
ออกหมดแล้วจะจมน้าทั้งหมด และเส้นด้ายฝ้ายที่ผึ่งแห้งแล้วควรจมน้าภายใน 10 นาที ปัจจัยที่มีผลต่อ
การล้างไขมันคือ อุณหภูมิ เวลา ความเข้มข้น (ของสบู่ ผงซักฟอก ด่าง) การเพิ่มปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง
สามารถลดปัจจัยอื่นๆ ได้ เช่น การใช้เวลาในการแช่เส้นด้ายฝ้ายนานขึ้น ทาให้สามารถใช้สบู่น้อยลง
และใช้อุณหภูมิต่าลงได้ ซึ่งต้องทาความสะอาดเส้นด้ายฝ้ายทุกครั้งไม่ว่าจะย้อมสีประเภทใดก็ตาม
กำรเตรียมน้ำย้อม
2.1 อุปกรณ์ที่ใช้ในการย้อม
(1) หม้อย้อมควรใช้หม้อสแตนเลส หม้อเคลือบ หรือกระทะใบบัว ไม่ควรใช้หม้ออะลูมิเนียม
และควรเลือกขนาดหม้อให้เหมาะสมกับการย้อมผ้า หรือเส้นด้าย
(2) ไม้กวนผ้า โดยไม้ควรมีขนาดใหญ่พอที่จะรับน้าหนักเส้นด้ายเส้นเปียกในหม้อย้อมได้
(3) ห่วงที่ทาจากสแตนเลส หรือท่อพลาสติกอ่อน ไว้สาหรับแขวน หรือคล้อง
(4) ถุงมือยาง เทอร์โมมิเตอร์ เขียง มีด ครก (สาหรับตาครั่ง) ราว (สาหรับตาก)
(5) กะละมัง หรือถังพลาสติก สาหรับล้างผ้า หรือเส้นด้ายก่อนย้อมและหลังย้อม
(6) เตาไฟจะเป็นเตาฟืน หรือเตาแก๊สก็ได้
พืชที่ให้สีและสามารถนามาผลิตสีเพื่อการย้อมนี้ มีได้ตั้งแต่ต้นหญ้าไปจนถึงต้นไม้ขนาดใหญ่และ
ทุกส่วนของพืช ได้แก่ ใบ ดอก ผล ลาต้น เปลือก แก่น ราก หัวหรือเหง้าในดิน ซึ่งแต่ละชนิด แต่ละส่วน
ของพืชจะให้สีสันที่แตกต่างกัน อีกทั้งยังขึ้นอยู่กับความอ่อน แก่ สด แห้ง ช่วงเวลา เดือน และฤดูกาล
ที่เก็บด้วย พืชที่ให้สีติดเส้นฝ้ายดีนั้นมักเป็นพืชที่ให้รสฝาด เพราะความฝาดจะมีฤทธิ์เป็นด่าง ข้อสังเกต
11
ง่ายๆ ของพืชที่ให้รสฝาด คือ ใบหรือดอกที่ถูกขยี้จะมียางติดมือ ถ้าเป็นผลหรือเปลือก หากใช้มีดขูดจะ
มียางออกมา ซึ่งเมื่อถูกกับอากาศจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล
ปริมาณของวัตถุดิบที่ต้องการสกัดสี
2.2 ปริมาณของวัตถุดิบที่ต้องการสกัดสี
- กรณีที่ใช้วัตถุดิบให้สีเป็นใบไม้ จะใช้ใบไม้จานวน 5 กิโลกรัมต่อฝ้าย 1 กิโลกรัม
- กรณีที่ใช้วัตถุดิบให้สีเป็นเปลือกไม้ จะใช้เปลือกไม้จานวน 3 กิโลกรัมต่อฝ้าย 1 กิโลกรัม
2.3 การเตรียมน้าย้อม
(1) หากวัตถุดิบที่ให้เป็นสีจากเปลือกไม้ แก่นไม้ กิ่งไม้ เช่น แก่นฝางแดง แก่นขนุน เปลือก
ต้นประดู่ เป็นต้น ให้ทาการสับหรือผ่าให้เป็นชิ้นเล็กๆ
(2) ชั่งเปลือก/ ชิ้นไม้ที่สับเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 3 กิโลกรัม ใส่ลงในกะละมัง/ หม้อสแตน
เลส เติมน้าปริมาณ 20 ลิตร แล้วแช่ค้างคืนไว้
(3) นากะละมัง/ หม้อสแตนเลส ที่แช่เปลือกไม้ ไปต้มให้เดือด ประมาณ 2 ชั่วโมง เพื่อให้สีที่
อยู่ในเปลือก/ ชิ้นไม้ละลายออกมาให้มากที่สุด (ระหว่างต้ม หากน้าลดลงให้เติมน้าลงไปให้อยู่ใน
ปริมาณเท่าเดิม) เมื่อครบเวลาใช้กระชอนตักเปลือก/ ชิ้นไม้ออก แล้วกรองน้าสีด้วยผ้าขาวบาง
3. การเตรียมสารช่วยย้อม หรือสารช่วยติดสี
พืชแต่ละชนิดที่นามาใช้ย้อมเส้นด้ายมีความสามารถในการติดสี ความคงทนต่อการขัดถูหรือ
ความคงทนต่อแสงได้ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางชีวเคมีภายในของพืชและเส้นด้ายที่นามาใช้
ย้อม จึงต้องใช้สารช่วยย้อมมาเป็นตัวช่วยในการทาให้เส้นด้ายดูดซับสีได้ดี มีความคงทนต่อแสงและ
การขัดถูเพิ่มขึ้น ซึ่งคุณสมบัติสารช่วยย้อมนอกจากจะเป็นสารที่ช่วยในการยึดและจับสีแล้ว บางครั้ง
สารช่วยย้อมยังทาให้ได้เฉดสีใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม การใช้สารช่วยย้อมในการย้อมสี มี 3 วิธี คือ
วิธีที่ 1 การใช้สารช่วยย้อมก่อนการย้อมสี เพื่อให้สีติดยึดแน่นกับเส้นด้ายและช่วยเพิ่มความ
คงทนของสี ทาได้โดยการนาเส้นด้ายที่ผ่านการทาความสะอาด แล้วไปชุบหรือต้มย้อมกับสารช่วยย้อม
ก่อนนาไปย้อมด้วยน้าย้อมสีธรรมชาติ
สารช่วยย้อมก่อนการย้อมสี ที่นิยมใช้มักเป็นพืชที่ให้สารฝาดหรือสารแทนนิน น้าถั่วเหลือง
เกลือแกง
(1) สารแทนนิน ได้จากพืชที่ให้รสฝาดและขม เช่น ใบฝรั่ง ใบยูคาลิปตัส เปลือกสีเสียด
เปลือกผลทับทิม เปลือกประดู่ ใบเหมือดแอ เป็นต้น ซึ่งสารดังกล่าวมีคุณสมบัติช่วยให้สีติดกับเส้นด้าย
ได้ดีขึ้น โดยการต้มสกัดน้าฝาด หรือแทนนินจากพืชดังกล่าว แล้วนาเส้นด้ายลงไปต้มย้อมกับน้าฝาด
ก่อน จากนั้นจึงนาเส้นด้ายไปย้อมกับน้าสีย้อมอีกครั้ง
12
(2) โปรตีนจากถั่วเหลือง ใช้ต้มกับเส้นด้ายก่อนการย้อมสี เพื่อช่วยในการเพิ่มโปรตีนบน
เส้นด้าย ทาให้สามารถย้อมสีติดได้ดีมากขึ้น ทางญี่ปุ่นจะชุบฝ้ายไหมด้วยน้าถั่วเหลืองก่อนเสมอ โดยแช่
ไว้ 1 คืน ยิ่งทาให้สีติดมาก
(3) เกลือแกง จะใช้ผสมกับน้าสีย้อมเพื่อช่วยให้สีติดเส้นด้ายได้ง่ายขึ้น มักจะใช้ในกรณีที่
ต้องการย้อมสีด้วยครั่ง
วิธีที่ 2 การใช้สารช่วยย้อมพร้อมกับการย้อมสี วิธีนี้เป็นการใส่สารช่วยย้อมลงไปในน้าสี ทา
ให้เกิดเม็ดสีขึ้น จากนั้นจึงนาเส้นด้ายลงไปย้อม
วิธีที่ 3 การใช้สารช่วยย้อมหลังการย้อมสี เป็นการนาเส้นด้ายลงไปย้อมสีก่อนแล้วจึงนาไป
ชุบหรือย้อมด้วยสารช่วยย้อมในการภายหลัง วิธีการนี้จะช่วยทาให้เกิดเฉดสีใหม่ขึ้น
ตัวอย่างสารช่วยย้อม หรือสารช่วยติดสี ได้แก่
(1) สารส้ม มีคุณสมบัติช่วยจับยึดกับเส้นด้าย และช่วยให้สีสดสว่างขึ้น มักใช้กับการย้อมด้วย
พืชที่ให้เฉดสีน้าตาล-เหลือง-เขียว เช่น แก่นแข ใบหูกวาง เปลือกประดู่ เปลือกมะพร้าว เป็นต้น
(2) เกลือเหล็ก ช่วยให้สีติดเส้นด้ายและช่วยเปลี่ยนเฉดสีธรรมชาติเดิมเป็นสีโทน เทา-ดา แต่
มีข้อควรระวังคือ ไม่ควรใช้ในปริมาณที่กินไป เพราะเหล็กจะทาให้เส้นด้ายเปื่อยง่าย
โดยสารส้ม และเกลือเหล็ก ต้องละลายด้วยน้าอุ่นเท่านั้น ห้ามละลายด้วยน้าเย็น
(3) น้าปูนใส ได้จากปูนขาวที่ใช้กินกับหมาก หรือทาจากการเผาเปลือกหอย โดยการละลาย
ปูนขาวหรือเปลือกหอยที่ผ่านการเผาในน้าสะอาด ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน จะได้น้าปูนใสมาใช้เป็นสารช่วย
ย้อมต่อไป ถ้ามใช้ปูนแดงมาทาน้าปูน ต้องเป็นปูนที่ผสมด้วยขมิ้นเท่านั้น (สีปูนจะเป็นสีแดงอิฐ) ห้าม
เป็นปูนแดงที่ได้จากการนาปูนขาวผสมด้วยสีแดงผสมอาหาร
(4) น้าด่าง หรือน้าขี้เถ้า ได้จากขี้เถ้าพืชเนื้ออ่อน เช่น ส่วนต่างๆ ของกล้วย เปลือกของผลนุ่น
กากมะพร้าว เป็นต้น ทาได้โดยเลือกพืชชนิดใดชนิดหนึ่งที่ยังสดๆ นามาผึ่งแดดให้หมาด แล้วเผาให้เป็น
ขี้เถ้าสีขาว นาขี้เถ้าที่ได้ไปใส่ในอ่างที่มีน้าอยู่ กวนให้ทั่วทิ้งไว้ 4-5 ชั่วโมง ขี้เถ้าจะตกตะกอน นาน้าที่ได้
ไปกรองให้สะอาดแล้วจึงนาไปใช้งาน
(5) น้าบาดาล หรือน้าสนิมเหล็ก จะใช้น้าบ่อบาดาลที่เป็นสนิม หรือนาเหล็กไปเผาไฟให้แดง
แล้วนาไปแช่ในน้าทิ้งไว้ 3 วัน จึงนาน้าสนิมมาใช้ได้ น้าสนิมจะช้วยให้สีเข้นขึ้น ให้เฉดมี เทา-ดา เหมือน
เกลือเหล็ก
(6) น้าโคลน ใช้ดินโคลนจากก้นสระที่มีน้าขังตลอดปีมาละลายในน้าเปล่า สัดส่วนน้า 1 ส่วน
ต่อดินโคลน 1 ส่วน จะช่วยให้สีเข้มหรือโทนสีเทา-ดา เช่นเดียวกับน้าสนิม (กรองเอาสิ่งแปลกปลอม
ออกให้เหลือแต่ดินโคลนเหลวๆ)
4. การย้อมสี
การย้อมสีมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
13
(1) นาน้าย้อมที่ผ่านการกรองแล้ว มาตั้งไฟปานกลาง พอร้อนมีควันไม่ถึงกับเดือด ใส่สาร
ช่วยย้อมสีอย่างใดอย่างหนึ่งที่ต้องการ
(2) นาเส้นด้ายที่จะย้อม ที่เตรียมไว้ (ทาความสะอาดแล้ว) ลงย้อมในน้าสีนานประมาณ 1
ชั่วโมง ต้องหมั่นพลิกเส้นด้ายให้ถูกน้าย้อมเสมอกันทุกๆ 10 นาที
(3) นาเส้นด้ายขึ้นผึ่งให้เย็น
- ถ้าเป็นเส้นฝ้าย/ผ้าฝ้าย ให้นาใส่ถุงพลาสติกปิดให้แน่นหมักไว้ 1 คืนก่อนแล้วค่อยเอา
ออกมาซักด้วยน้าเปล่าจนน้าที่ล้างนั้นใส
- ถ้าเป็นเส้นไหม เมื่อผึ่งให้แห้งแล้วซักด้วยน้าเปล่าจนน้าที่ล้างนั้นใส
(4) บิดเส้นด้ายที่ล้างสะอาดแล้วให้หมาด กระตุกให้ตึง 2-3 ครั้ว แล้วนาไปผึ่งในที่ร่มจนแห้ง
ถ้ายังไม่ทอควรนาไปเก็บไว้ในถุงเพื่อไม่ให้ฝุ่นเกาะและป้องกันสีซีด (บัญชีตารางสีย้อม)
การใช้สารช่วยย้อมหลังการย้อมสี โดยนาเส้นด้ายไปย้อมสีก่อน แล้วจึงนาไปย้อมกับสารช่วย
ย้อมภายหลัง วิธีการนี้จะช่วยทาให้เกิดเฉดสีใหม่ขึ้น โดยมีขั้นตอน คือ
- นาเส้นด้าย/ผ้า ที่ผ่านการย้อมสีที่บิดให้หมาดแล้วกระตุก 2-3 ครั้ง จึงนามาขยาในน้าสาร
ช่วยย้อม เวลาใช้ขึ้นอยู่กับว่าต้องการสีเข้มหรือสีจาง โดยทั่วไปประมาณ 15-30 นาที แต่ถ้าเป็นแทน
นินจากพืชจะใช้เวลาน้อย เช่น การย้อมฝางแล้วนามาย้อมต่อในน้าผลมะเกลือจะใช้เวลาประมาณ 1
นาที จะเปลี่ยนจากสีชมพูเป็นสหีบานเย็นนานกว่านี้จะเป็นสีมืด
- บิด เส้นด้าย/ผ้า ให้หมาดกระตุก 2-3 ครั้ง แล้วผึ่งให้แห้ง
- นา เส้นด้าย/ผ้า ที่ผึ่งแห้งแล้วมาซักในน้าสะอาดจนน้าใส แล้วนาไปสะบัดโดยใช้แขนสอง
ข้างดึงเส้นด้ายแล้วกระตุก 2-3 ครั้ง นาไปตากในที่ร่ม (เส้นไหม) หรือกลางแดด (เส้นฝ้าย)
การย้อมซ้า ถ้าสีที่ย้อมเสร็จแล้วยังได้สีที่จางหรือมีรอยด่างเนื่องจากสีติดไม่เสมอกัน สามารถ
แก้ไขได้โดยนาไปย้อมซ้าสีเดิม ก็จะได้สีที่เข้มและมีความคงทนมากขึ้น หรือจะเปลี่ยนเป็นสีอื่นย้อมทับ
กันก็ได้จะให้สีใหม่ที่แปลกตา ซึ่งการย้อมสีธรรมชาติให้สวยงามในแต่ละสีนั้น บางครั้งจะต้องผ่านการ
ทดลองย้อมนับครั้งไม่ถ้วน และผู้ย้อมต้องเป็นคนช่างสังเกต ควรจดบันทึกข้อมูล และเก็บตัวอย่างการ
ย้อมไว้ทุกครั้ง เพื่อนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ในครั้งต่อไป เมื่อได้ผ้าที่ย้อมสีตามความต้องการแล้ว
สามารถนาไปทดสอบหาความทนต่อแสงอย่างง่ายๆ ด้วยการตัดตัวอย่างผ้าชิ้นเล็กๆ นาวัสดุทึบแสงมา
ปิดผ้าตัวอย่างครึ่งหนึ่งแล้วนาไปวางแตกแดด 7 วัน นาผ้าที่โดนแสงมาเปรียบเทียบกับผ้าที่ไม่โดนแสง
ถ้าผ้าที่โดนแดดสีซีดน้อยมากหรือแทบสังเกตไม่ออก แสดงว่า สีที่ได้จากต้นไม้ชนิดนี้และวิธีการย้อม
ใช้ได้ แต่ถ้าสีซีดมากแสดงว่า ต้นไม้หรือวิธีการย้อมไม่เหมาะสม ต้องทดลองและปรับปรุงให้มีคุณภาพ
ตามความต้องการต่อไป
งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
14
1. รังสรรค์ จรอนันต์ การย้อมผ้าไหมด้วยสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกกล้วยน้าว้าดิบ
สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสีย้อม คือ การใช้สัดส่วนเปลือกกล้วยน้าว้าดิบต่อน้าที่ 1:3 ใน
ระยะเวลาการสกัด 60 นาที 2) สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการย้อมสีผ้าไหม คือ การใช้อุณหภูมิ 90ºซ
ในระยะเวลาการย้อม 60 นาที และ 3) สภาวะและระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมในการใช้สารช่วยติด
คือ สารส้มทุกสภาวะเหมาะสมกับการใช้ในความเข้มข้นร้อยละ 6 จุนสีใช้เป็นสารช่วยติดก่อนย้อมใน
ความเข้มข้นร้อยละ 4 จุนสีใช้เป็นสารช่วยติดย้อมพร้อมละหลังย้อมในความเข้มข้นร้อยละ 2 และ
เหล็กใช้เป็นสารช่วยติดก่อนย้อมและหลังย้อมในความเข้มข้นร้อยละ 2 และเหล็กใช้เป็นสารช่วยติด
ย้อมพร้อมในความเข้มข้นร้อยละ 4 ผลการทดสอบความคงทนของสีพบว่า การใช้สารส้มมีความคงทน
ของสีต่อการซักอยู่ในระดับดีถึงดีมาก การใช้จุนสีเป็นสารช่วยติดหลังย้อมมีความคงทนของสีต่อแสง
อยู่ในระดับดี และการใช้สารช่วยติดทั้ง 3 ชนิดทุกสภาวะมีความคงทนของสีต่อการขัดถูอยู่ในระดับดี
ถึงดีมาก
2. ผ่องศรี ลอดโพธิ์ทอง การศึกษาวิธีการย้อมสีผ้าฝ้ายด้วยเปลือกต้นโปร
ความคงทนของสีต่อการซักพบว่าผ้าที่แช่นมถั่วเหลืองก่อนย้อมจะมีความคงทนของสีต่อการ
ซักดีกว่าผ้าที่ไม่แช่น้าถั่วเหลืองผลการวิเคราะห์ความคงทนของสีต่อแสงพบว่าผ้าที่ไม่แช่และแช่ถั่ว
เหลืองโดยใช้น้าปูนขาวและน้าสนิมเป็นสารช่วยติดสีมีความคงทนต่อแสงดีกว่าผ้าที่ไม่ช่วยสารติดสี
ยกเว้นผ้าที่ไม่แช่และแช่ถั่วเหลืองโดยธรรมชาติจะเป็นสารช่วยติดสีจะมีความคงทนของสีแสงต่าสุดทั้ง
สองกรณี
15
บทที่ 3
วิธีดำเนินงำน
โครงงานเรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion ได้ดาเนินการทดลองโดยใช้
อุปกรณ์และขั้นตอนการทดลองดังต่อไปนี้
3.1 สำรเคมี และวัสดุอุปกรณ์ในกำรทดลอง
- เปลือกต้นตะบูน จานวน 3 กิโลกรัม
- เปลือกต้นแสม จานวน 3 กิโลกรัม
- เปลือกต้นโกงกาง จานวน 3 กิโลกรัม
- สารส้ม จานวน 2 กิโลกรัม
- ผ้าสาลู ( ผ้าฝ้าย ) จานวน 10 หลา
- เครื่องชั่ง จานวน 1 เครื่อง
- บีกเกอร์ ขนาด 250 มิลลิลิตร จานวน 9 ใบ
- แท่งแก้วคนสาร จานวน 9 แท่ง
- มีด จานวน 1 ด้าม
- กะละมัง จานวน 2 ใบ
- แก๊สปิกนิก จานวน 1 ถัง
- ผงซักฟอก จานวน 1000 กรัม
3.2 วิธีดำเนินกำรทดลอง
3.2.1 กำรศึกษำสีที่ได้จำกสีธรรมชำติจำกเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกำง
- นาเปลือกของต้นตะบูน เปลือกของต้นแสม เปลือกโกงกาง มาต้มกับน้าเปล่า จานวน 1000
ml เป็นเวาลา 1 ชั่วโมง ดังตาราง
ชนิดของพืช
น้าเปล่า 1000 ml +
พืช จานวน 100 กรัม
น้าเปล่า 1000 ml +
พืช จานวน 200 กรัม
น้าเปล่า 1000 ml+
พืชจานวน 300 กรัม
เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นตะบูน 100 เปลือกต้นตะบูน 200 เปลือกต้นตะบูน 300
เปลือกต้นแสม เปลือกต้นแสม 100 เปลือกต้นแสม 200 เปลือกต้นแสม 300
เปลือกโกงกาง เปลือกโกงกาง 100 เปลือกโกงกาง 200 เปลือกโกงกาง 300
รูปที่ 8 การเตรียมสีจากเปลือกไม้ รูปที่ 9 น้าสีที่ได้จากเปลือกไม้
16
- ตั้งให้เย็นและกรองเอาเศษเปลือกไม้ออก
- นาน้าสีจากสีธรรมชาติที่ได้ ชนิดละ 200 ml ใส่บีกเกอร์ ตั้งไฟให้เดือด
- นาผ้าขนาด 30 * 30 cm (ที่แช่ในน้าสารส้ม สารส้ม 5 กรัม ต่อน้า 1000 ml เป็นเวลา 12
ชั่วโมง และตากแห้งสนิท) แช่ลงไปในบีกเกอร์เพื่อย้อมสีเป็นเวลา 30 นาที
- นาผ้าผึ่งลมให้แห้งสนิทเป็นเวลาอย่างน้อย 2 วัน
- บันทึกสีที่ได้
3.2.2 กำรศึกษำควำมคงทนในกำรติดสีของสีจำกธรรมชำติจำกเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้น
แสม เปลือกโกงกำง
- ใช้ผงซักฟอกน้าจานวน 10 g ต่อ น้าเปล่า 1000 ml ผสมให้เข้ากัน
- นาผ้าจากการทดลองที่ 1 มาแช่ เป็นเวลา 30 นาที แล้วล้างน้า 2 ครั้ง
- ผ้าไปผึ่งลม 1 วัน
- บันสีหลังการจากที่ผ้าแห้งสนิทแล้ว
- ทาการลองซ้า 10 ครั้ง
รูปที่ 10 การนาผ้าไปแช่ก่อนย้อมสี รูปที่ 11 สีผ้าที่ได้จากการย้อมจากเปลือกตะบูน
17
บทที่ 4
ผลกำรดำเนินกำร
โครงงานเรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion ได้ผลการทดสอบดังต่อไปนี้
4.2.1 กำรศึกษำสีที่ได้จำกสีธรรมชำติ โดยใช้พืชทั้ง 3 ชนิด
ตารางที่ 1 แสดงสีที่ได้จากสีธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง
โดยใช้จาวนวน 100 กรัม 200 กรัม และ 300 กรัม ตามลาดับ ต่อ น้าเปล่า 1000 มิลิลิตร
ชนิดของพืช น้าเปล่า 1000 ml +
พืช จานวน 100 กรัม
น้าเปล่า 1000 ml +
พืช จานวน 200 กรัม
น้าเปล่า 1000ml +
พืชจานวน 300 กรัม
เปลือกต้นตะบูน
เปลือกต้นแสม
เปลือกโกงกาง
18
4.2.2 กำรศึกษำควำมคงทนในกำรติดสีของสีจำกสีธรรมชำติจำกพืชทั้ง 3
ตารางที่ 2 แสดงความคงทนของสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกตะบูน เมื่อผ่านการซักล้างด้วย
ผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าเปล่า 1000 มิลิลิตร
ครั้งที่ซักล้าง เปลือกต้นตะบูน 100g เปลือกต้นตะบูน 200g เปลือกต้นตะบูน 300g
ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 5
ครั้งที่ 10
19
ตารางที่ 3 แสดงความคงทนของสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกต้นแสม เมื่อผ่านการซักล้างด้วย
ผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าเปล่า 1000 มิลิลิตร
ครั้งที่ซักล้าง เปลือกต้นแสม 100g เปลือกต้นแสม 200g เปลือกต้นแสม 300g
ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 5
ครั้งที่ 10
20
ตารางที่ 4 แสดงความคงทนของสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกต้นโกงกาง เมื่อผ่านการซักล้าง
ด้วยผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าเปล่า 1000 มิลิลิตร
ครั้งที่ซักล้าง เปลือกโกงกาง 100g เปลือกโกงกาง 200g เปลือกโกงกาง 300g
ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 5
ครั้งที่ 10
21
บทที่ 5
อภิปรำยผล สรุป และข้อเสนอแนะ
อภิปรำยผลกำรทดลอง
การทดลองในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือก
ต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง และเพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้น
ตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง โดย พืชที่ใช้คือ เปลือกตะบูน เปลือกแสม และเปลือก
โกงกางซึ่งเป็นพืชในท้องถิ่น
1. การเพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง
โดยใช้เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ในอัตราส่วนที่ต่างกันได้แก่ 100 กรัม
200 กรัม และ 300 กรัม ต่อน้า 1000 ml ผลการทดสอบประสิทธิภาพ พบว่าเปลือกต้นแสมให้สี
ชมพู-ม่วง เปลือกต้นตะบูนให้สีน้าตาล-เหลืองเข้ม เปลือกต้นโกงกางให้สีน้าตาล-เหลืองอ่อน
2. การเพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้น
แสม เปลือกโกงกาง เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง สีย้อมจาธรรมชาติซีดลงเล็กน้อย
ในการซักครั้งแรกแต่หลังจากนั้นสีแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงอีกเลย
สรุปผลกำรทดลอง
จากผลการศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ เปลือกต้นแสมให้สีชมพู-ม่วง เปลือกต้นตะบูนให้สี
น้าตาล-เหลืองเข้ม เปลือกต้นโกงกางให้สีน้าตาล-เหลืองอ่อน และจาการศึกษาความคงทนในการติดสี
ของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ในการซักล้างครั้งแรกสีผ้าจะ
ดูซีดออกมากที่สุดเนื่องสีที่ออกมาเป็นสีเกินในเส้นใยผ้าและเมื่อซักล้างครั้งหลังสีแทบจะไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถนามาทาเป็นสีย้อมผ้าจากธรรมชาติได้ทั้ง 3 ชนิด โดยให้สีที่แตกต่างกัน
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ครัวเรือนและสังคมปลอดภัยจากสารเคมีจากสีย้อมผ้าตามท้องตลาดอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
2. สามารถส่งเสริมเป็นรายเสริมให้กับนักเรียนและชุมชนได้สู่ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์
3. ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ สู่การเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21
ข้อเสนอแนะ
1. ศึกษาพืชชนิดอื่นๆในท้องถิ่นที่อาจจะสามารถนามาทาสีย้อมผ้าเพื่อให้ได้สีหลากหลาย
2. ศึกษาสาร Mordant ชนิดอื่นเนื่องจากการศึกษาสาร Mordant ต่างชนิดกันสามารถให้สีต่าง
ในขณะที่ใช้พืชชนิดเดียวกัน
3. ศึกษาหลักผสมสีเพื่อให้เกิดสีที่แตกต่างกัน
22
บรรณำนุกรม
ดร.ทิพาพร พิมพิสุทธิ์ (2563). ผ้ำพิมพ์สีธรรมชำติ บ้ำนไร่ร่มไม้. กรุงเทพ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์,
2563.
ผศ.ภูริณัฐ ปลัดสงคราม .เอกสำรประกอบกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำร Eco –print . วันที่ 23-
24 กรกฏาคม 2565 ศูนย์การเรียนรู้เทศบาลเมืองภูเก็ต
วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ( 2542)” วิทยาศาสตร์เส้นใย “ โรงพิมพ์จุฬาหาวิทยาลัย กรุงทพมหทานคร,
พิมพ์ครั้งที่ 2
https://sites.google.com/site/ngamsaenngamsaenhlwng/hnwy-thi-5-kar-yxm-si-
thrrmchati?tmpl สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565
https:/www.facebook.com/messenger_file?attachment_id=1076049636616406&messa
eid=mid.%24cAAAADDMYTsyJhU6CvmDVad_id=100024529149059 พันธ์ไม้และสี
ย้อมจากธรรมชาติ ดร.จันทร์เพ็ญ PDF
https://www.indafix.com/ สืบค้นวันที่ : 11 กรกฏาคม 2565
http://u2tbcg.bru.ac.th/uncategorized/9-kanlaya/ สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565
https://th.wikipedia.org/wiki สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565
https://www.ruedee.com/th/fabric/cotton/ สืบค้นวันที่ : 19กรกฏาคม 2565
https://www.mythaicotton.com/blog/color-fabric-from-nature/ สืบค้นวันที่: 19 กรกฏาคม
2565
https://th.wikipedia.org/wiki ต้นตะบูน สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565
https://haamor.com/ สารส้ม สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม2565
https://guru.sanook.com/6011/ สืบค้นวันที่ : 19 กันยายน 2565
https://th.wikipedia.org/wiki/ 19 กรกฏาคม 2565
https://th.wikipedia.org/wiki/19กรกฏาคม 2565
https://www.ruedee.com/th/fabric/cotton/ 19 กรกฏาคม 2565
https://marumothai.com/article/ น้าส้มสายชู สืบค้นวันที่ 20 กรกฏาคม 2565
23
ภำคผนวก
24
ภำคผนวก ก
รูปอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรทดลอง
บีกเกอร์
เครื่องชั่งจดิจิตอล
เปลือกแสม ผ้าฝ้ายสาลู
สารส้ม
แท่งแก้วคนสาร
25
เปลือกตะบูน
บีกเกอร์ กะละมัง
26
ภำคผนวก ข
วิธีขั้นตอนกำรทดลองและผลกำรทดลอง
การเตรียมผ้า การเตรียมเปลือกไม้
ที่มาของโครงการ
การชั่งเปลือกไม้
ที่มาของโครงการ
การต้มเปลิอกไม้
27
น้าที่ได้จากการต้ม นาผ้าใส่บีกเกอร์เตรียมนาในต้ม
การต้ม 30 นาที การตากผ้า
การตรวจสอบสีและการติดสี ทดสอบความคงทนของสี ( ซัก )
28
สีที่ได้จากสีธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง โดยใช้จาวนวน 100 กรัม
200 กรัม และ 300 กรัม ตามลาดับ ต่อ น้าเปล่า 1000 มิลิลิตร ( ใช้อย่างละ 200 ml )
25 พ.ค. 2565
29
30
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลjellyjel
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 

Mais procurados (20)

โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 

Semelhante a โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion

โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อWisan Butsaman
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติpanida428
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมjirapatte
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมteerasak ch.
 

Semelhante a โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion (20)

Comproject
ComprojectComproject
Comproject
 
File
FileFile
File
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
 
Sicience project
Sicience projectSicience project
Sicience project
 
br001
br001br001
br001
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
34355599
3435559934355599
34355599
 
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วยกระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
TALADKEELEK SCHOOL
TALADKEELEK SCHOOLTALADKEELEK SCHOOL
TALADKEELEK SCHOOL
 
โครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรมโครงงานคุณธรรม
โครงงานคุณธรรม
 

โครงงานทดลอง สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion

  • 1. 1 ชื่อโครงงาน สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion ชื่อผู้จัดทาโครงงาน เด็กหญิงนณิชานันณ์ แซ่หน่า เด็กหญิงเปรมยุดา ไชยชนะ เด็กหญิง ชื่อครูที่ปรึกษา นาวสาวจารุณี ศรีสวัสดิ์ อีเมล์ครูที่ปรึกษา Tjarunee@2013@gmail.com โทร 0619988669 โรงเรียนบ้านป่ายาง อาเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การนาเปลืกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ซึ่งเป็นพืชทีมีอยู่ในท้องถิ่นมาผลิตเป็นสี ย้อมผ้าจากธรรมชาติเพื่อเพิ่มอาชีพเพิ่มรายได้และกระตุ้นการท่องเที่ยวให้กับท้องถิ่น ลดปริมาณการ ใช้สารเคมีหันกลับมาเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติ สู่ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ.ศ.2561-2580) “ ประเทศ ไทยมีความมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญชาของเศษฐกิจ พอเพียง “ เพื่อให้ประเทศชาติมั่งคง ประชาชนมีความสุข เศษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็น ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จาก เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง และเพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจาก ธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง ซึ่งจากการศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ เปลือกต้นแสมให้สีน้าตามส้มเข้มมากที่สุด เปลือกต้น ตะบูนให้สีน้าตาลเทาเข้ม เปลือกต้นโกงกางให้สีน้าตาลเทาอ่อน และจาการศึกษาความคงทนในการ ติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ในการซักล้างครั้งแรกสี ผ้าจะดูซีดออกมามากที่สุดเนื่องสีที่ออกมาเป็นสีเกินในเส้นใยผ้าและเมื่อซักล้างครั้งหลังสีแทบจะไม่มี การเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถนามาทาเป็นสีย้อมผ้าจากธรรมชาติได้ทั้ง 3 ชนิด โดยให้สีที่แตกต่างกัน คาสาคัญ สีย้อมผ้าจากธรรมชาติ สีย้อมผ้าจากต้นโกงกาง สีย้อมผ้าจากต้นแสม สีย้อมผ้าจากตะบูน Tropical Eco Fashion
  • 2. 2 บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน เสื้อผ้าที่เราสวมใส่กันอยู่เป็นประจาสวยเด่นนาแฟชั่นเพียงใดหลายคนทราบดี แต่สาหรับขั้น ตอนการผลิตนั้นคงยากที่ใครจะสนใจว่าปลอดภัย จากสารพิษหรือไม่และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อย่างไร เพราะถือเป็นเรื่องไกลตัว แต่ความจริงแล้วมันใกล้ปากเราเพียงนิดเดียว เนื่องจากมีการใช้ สารพิษในกระบวนการผลิตที่มีผลกระทบต่อแหล่งน้าและอาหารของมนุษย์ ซึ่งในอนาคตหากไม่มีการ ป้องกันจะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและมนุษย์ทั่วโลก ในการใช้ชีวิตประจาวันของกลุ่มข้าพเจ้า ได้สังเกตเห็นว่าผู้ปกครองและบุคคลในหมู่บ้านได้ใช้ เปลือกของต้นกระบูรในการย้อมแหซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการทาประมง ที่ตั้งของชุมชนบ้านป่างยางมีภูมิ ประเทศเป็นป่าชายเลนมีพืชพรรณหลากหลาย เช่น ต้นตะบูน ต้นแสม ต้นโกงกาง ต้นจาก และสืบ เนื่องจากโรงเรียนของข้าพเจ้ามีโครงการ ภาพพิมพ์บนผืนผ้า กลุ่มของข้าพเจ้าเริ่มจะศึกษาเกี่ยวกับสี ย้อมผ้าจากธรรมชาติโดยใช้พืชในท้องถิ่น จากข้อมูลข้างต้นทาให้คณะผู้จัดทาโครงงานเกิดความสนใจที่จะนาเปลืกต้นตะบูน เปลือกต้น แสม เปลือกโกงกาง ซึ่งเป็นพืชทีมีอยู่ในท้องถิ่นมาผลิตเป็นสีย้อมผ้าจากธรรมชาติเพื่อเพิ่มอาชีพเพิ่ม รายได้และกระตุ้นการท่องเที่ยวให้กับท้องถิ่น ลดปริมาณการใช้สารเคมีหันกลับมาเรียนรู้ที่จะอยู่กับ ธรรมชาติ สู่ยุทธศาสตร์ชาติ ( พ.ศ.2561-2580) “ ประเทศไทยมีความมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญชาของเศษฐกิจพอเพียง “ เพื่อให้ประเทศชาติมั่ง คง ประชาชนมีความสุข เศษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูนเปลือกต้นแสมและเปลือกต้นโกงกาง 2. เพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม และเปลือกต้นโกงกาง ขอบเขตของกำรศึกษำ 1. การทดลองทาในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านป่ายาง จังหวัดพังงา 2. เปลือกของต้นตะบูน เปลือกของต้นแสม เปลือกของต้นโกงกาง และใบไม้ในท้องถิ่น
  • 3. 3 ตัวแปรของกำรศึกษำ ตอนที่ 1 ศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง ตัวแปรต้น ชนิดของพืช เปลือกตะบูน เปลือกแสม เปลือกโกงกาง ตัวแปรตาม สีที่ได้ ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้า เวลาที่ใช้ในการต้ม เวลาในการย้อมผ้า ชนิดของผ้า ตอนที่ 2 ศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ตัวแปรต้น ชนิดของสีจากสีธรรมชาติ ตัวแปรตาม ความคงทนของสีหรือประสิทธิภาพของสี ตัวแปรควบคุม ปริมาณและชนิดของผงซักฟอก ปริมาณน้า เวลาที่ใช้ในซักล้าง ชนิดของผ้า สมมติฐำน ตอนที่ 1 เปลือกของต้นตะบูน เปลือกแสม และเปลือกต้นโกงกาง สามารถนามาทาเป็นสีย้อมผ้า จากธรรมชาติได้ ตอนที่ 2 สีย้อมผ้าที่ได้จาก เปลือกของต้นตะบูน เปลือกแสม และเปลือกต้นโกงกาง มีความคงทน การซักล้าง ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ครัวเรือนและสังคมปลอดภัยจากสารเคมีจากสีย้อมผ้าตามท้องตลาดอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2. สามารถส่งเสริมเป็นรายเสริมให้กับนักเรียนและชุมชนได้สู่ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ 3. ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์สู่การเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21 นิยำมเชิงปฏิบัติกำร ความคงทนของสีย้อมหรือประสิทธิภาพของสีย้อม วัดได้จากการสังเกตสีหลังการการทา ความสะอาดด้วย ผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าน้าเปล่า 1 ลิตร แล้วล้างด้วยน้าเปล่า และผึ่งลมจนแห้ง จานวน 10 ครั้ง
  • 4. 4 บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง การจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion มีวัตถุ ประสงค์เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง และ เพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือก โกงกาง โดยมีเอกสารที่เกี่ยวข้องในการศึกษาดังนี้ 2.1 สีธรรมชำติ วัตถุดิบที่ใช้ย้อมสีด้วยภูมิปัญญาของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้มีการเรียนรู้ที่จะใช้ประ โยชน์จากสีซึ่งสกัดจากวัตถุดิบจากธรรมชาติมากขึ้นในปัจจุบันเช่นการใช้ย้อมเนื้อเยื่อพืชและสัตว์การ ใช้ประโยชน์ทางอาหารยาและเครื่องสาอางการใช้ประโยชน์ทางการเกษตรกรรมรวมทั้งนามาย้อมเส้น ใยและผืนผ้าเพื่อใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มและใช้สอยในชีวิตประจาวันสีย้อมจากธรรมชาติสามารถจาแนกได้ ตามแหล่งที่มาดังนี้ 1.สีย้อมธรรมชาติจากแร่ธาตุ ( Mineral dyes ) สีย้อมธรรมชาติจากแร่ธาตุสีธรรมชาติ ประเภทนี้เป็นสีที่เกิดจากสารประกอบของโลหะเช่น เหล็ก โครเมียม ตะกั่ว ทองแดงแมงกานีส โคบอลต์ และนิเกิล ซึ่งในอดีตเป็นกลุ่มสีที่มีความสาคัญมากแต่ในปัจจุบันไม่ปรากฏแหล่งผลิตและการ ใช้สีกลุ่มดังกล่าวสาหรับประเทศไทยในปัจจุบันยังมีการใช้สีธรรมชาติจากแร่ธาตุในการยอมสีสิ่งทอ คือ สีจากโคลนและดินแดง ที่มีสารประกอบพวกอลูมิโนซิลิเกต และสารประกอบโลหะอยู่ 2.สีย้อมธรรมชาติจากสัตว์ (Animal dyes) คือสารสีที่ได้จากสารที่ขับออกจากสัตว์ สาหรับ ประเทศไทยมีการใช้สีจากแมลง คือ ครั่ง โดยตัวครั่งจะดูดกินน้าเลี้ยงของต้นไม้แล้วสารสีแดงที่เรียกว่า ยางครั่ง ซึ่งมีกรดแลคคาอิค (laccaic acid) ออกมาหุ้มรอบตัวเป็นรัง สารสีแดงที่ถูกขับออกมาดังกล่าว มานี้ถูกนามาใช้ประโยชน์ ทั้งในการย้อมสิ่งทอ ผสมในอาหาร และใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท สาหรับเส้นใยที่ย้อมด้วยครั่ง คือ ไหม ขนสัตว์ และฝ้าย สารละลายกรดแลคคาอิคให้หลายสี ได้แก่ สี ส้ม สีแดง หรือแดงอมม่วง โดยขึ้นกับค่าความเป็นกรดด่าง (pH) 3.สีย้อมธรรมชาติจากพืช ( Vegetable dyes ) เป็นสีที่ได้จากพืชเป็นกลุ่มสารสีหลักของ การย้อมจากธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้งราก เปลือก ลาต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ในการย้อมผ้าและเส้นยจากธรรมชาติ ในปัจจุปันแหล่งวัตถุดิบสีจากรรมชาติยัง สามารถหาได้จากต้นไม้ ใบไม้ที่ให้สีสันสวยงามและหลากหลายตามที่ต้องการ สามารถสร้างเฉดสีได้ หลากหลายด้วยการใช้ตัวช่วยติดสี ( Mordant )
  • 5. 5 แสม หรือเล็บมือนาง เล็บนาง ชื่อวิทยาศาสตร์: Aegiceras corniculatum เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Myrsinaceae โคนต้นมีพูพอนเล็กน้อย เปลือกเรียบสีเทาเข้มถึงน้าตาลแดง ใบเดี่ยว แผ่นใบหนาคล้าย แผ่นหนัง ด้านบนเป็นมัน ท้องใบสีเขียวอมแดง ดอกช่อ ออกตามซอกใบเป็นช่อแบบซี่ร่ม มีกลิ่นหอม กลีบดอกสีขาว ผลเป็นทรงกระบอก เรียวโค้ง ยาว 5-8 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียวอม น้าตาล งอกตั้งแต่อยู่บนต้น เนื้อไม้ใช้ทาอุปกรณ์ประมง สารสดัดของกิ่งแสมแดงมีฤทธิ์เป็นยาแก้ปวด ในหนู รูปที่ 1-2 แสม https://guru.sanook.com/6011/ ตะบูน ตะบูน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Xylocarpus moluccensis) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Meliaceae เปลือกลาต้นสีดาหรือน้าตาล แตกเป็นร่องตามยาว โคนต้นมีพูพอนและมีรากหายใจ ใบเป็นใบ ประกอบแบบขนนก ผิวใบมัน สีเขียวเข้ม หลังใบเขียวอ่อนกว่า ดอกเป็นดอกช่อ ออกที่ง่ามใบ ดอกย่อย สีขาว มีจานวนมาก ผลเป็นลูกกลมขนาดใหญ่ ผิวเกลี้ยง ข้างในมีเมล็ดสีน้าตาลอมแดงขนาดใหญ่หลาย อันตะบูนดาเป็นพืชสมุนไพร เปลือกและผลใช้รักษาอหิวาตกโรค หรือใช้ต้มล้างแผล เปลือกและเมล็ด แก้โรคบิดและท้องร่วง เปลือกให้น้าฝาด สาหรับย้อมผ้า สรรพคุณของตะบูนดำ ใช้เป็นยาบารุงร่างกาย (ผล, เมล็ด) เปลือกไม้ใช้เป็นยาลดไข้ (เปลือกไม้)ช่วยแก้อาการไอ (ผล , เมล็ด) เปลือกและผลช่วยแก้อหิวาตกโรค (ผล, เปลือก) เปลือกและผลใช้ต้มกับน้าดื่ม ช่วยรักษาแผล ภายในได้ (เปลือก, ผล) ผลใช้ต้มกับน้าดื่มช่วยแก้อาการท้องเสีย (ผล, เปลือกไม้) ตะบูนดาช่วยแก้บิด
  • 6. 6 ด้วยการใช้ผลนามาต้มกับน้าดื่ม (ผล) เมล็ดใช้รับประทานแก้อาการท้องร่วง (ผล, เมล็ด) ช่วยแก้อาการ อักเสบในลาไส้และอาการผิดปกติในช่องท้อง (เปลือกไม้) รูปที่ 3-4 ตะบูน https://th.wikipedia.org/wiki/ สรรพคุณของตะบูนดำ ใช้เป็นยาบารุงร่างกาย (ผล, เมล็ด) เปลือกไม้ใช้เป็นยาลดไข้ (เปลือกไม้)ช่วยแก้อาการไอ (ผล, เมล็ด) เปลือกและผลช่วยแก้อหิวาตกโรค (ผล, เปลือก) เปลือกและผลใช้ต้มกับน้าดื่ม ช่วยรักษาแผล ภายในได้ (เปลือก, ผล) ผลใช้ต้มกับน้าดื่มช่วยแก้อาการท้องเสีย (ผล, เปลือกไม้) ตะบูนดาช่วยแก้บิด ด้วยการใช้ผลนามาต้มกับน้าดื่ม (ผล) เมล็ดใช้รับประทานแก้อาการท้องร่วง (ผล, เมล็ด) ช่วยแก้อาการ อักเสบในลาไส้และอาการผิดปกติในช่องท้อง (เปลือกไม้) โกงกำง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhizophora, Red Mangrove ชื่อท้องถิ่นอื่นๆที่เรียกกัน เช่น กงเกง (นครปฐม), กง กางนอกโกงกางนอก (เพชรบุรี), กงกอน (เพชรบุรี, ชุมพร), ลาน (กระบี่), โกงกางใบใหญ่ (ภาคกลาง), กางเกงพังกาพังกาใบใหญ่ (ภาคใต้) โกงกาง (ระนอง), พังกาทราย (กระบี่) เป็นต้น รูปที่ 5 โกงกาง https://th.wikipedia.org/wiki/ ลาต้น มีลักษณะเปลาตรง ด้านรับแสงจะมีกิ่งก้านมาก เปลือกลาต้นเป็นสีน้าตาลเทา เปลือก ต้นค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นๆในแนวตั้งหรือแนวนอนรอบลาต้น ส่วนเปลือกในเป็นสีส้ม สี เทาดา ในกระพี้เป็นสีเหลืองอ่อน และเนื้อไม้เป็นสีน้าตาลอมแดง เป็นมันวาว บริเวณของโคนจะมีราก ค้าจุน
  • 7. 7 ใบ พบว่าเป็นใบชนิดเดี่ยว ซึ่งใบแต่ล่ะคู่จะออกสลับทิศทางหรือตรงกันข้าม รูบใบมีความรี คล้ายรูปหอก ปลายแหลม และฐานของใบจะเข้าหากันคล้ายรูปลิ่ม หูใบเป็นสีชมพูถึงสีแดงเข้ม ทา หน้าที่หุ้มใบอ่อนไว้ บริเวณหน้าใบสีเขียวอ่อนมีความมันแวว ส่วนหลังใบเรียบเกลี้ยงสีเขียวอมเหลือง หรืออมดา และมีจุดสีน้าตาลเห็นชัดเจนดอก จะเป็นช่อคู่ และมีกลีบเลี้ยงกลีบดอกแตกต่างกันตาม สายพันธุ์ ผล เจริญเติมโตมาจากฐานรองดอก มีลักษณะคล้ายระฆัง ผิวเปลือกของผลมีสีน้าตาล ค่อนข้าง หยาบ และฝักจะแทงออกมาจากส่วนปลายของผล แต่ถ้าฝักเริ่มแก่ฝักจะเจริญเติมโตออกมานอกผล โดยจะถูกเชื่อมกับขั้วฝักและใบเลี้ยง ฝักจะมีสีเป็นน้าตาลอมแดงแล้วหลุดร่วงไปเองโดยธรรมชาติก็จะ งอกและเติมโตขึ้นมาใหม่เรื่อยๆตามสภาพความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม สำรช่วยกำรติดสี ( Mordant ) สารช่วยติดสี (Mordant) มีหน้าที่ช่วยให้ติดสีอยู่บนเส้นกก โดยสารช่วยติดสีที่นิยมใช้ใน กระบวนการย้อมสีธรรมชาติส่วนใหญ่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. สารช่วยติดสีเคมีเป็นเกลือของโลหะอลูมิเนียม (สารส้ม) เหล็ก (เฟอรัสซัลเฟต) ทองแดง (จุนสี) เป็นต้น 2. สารช่วยติดสีธรรมชาติเป็นสารประกอบธรรมชาติได้แก่ แทนนิน สารส้ม น้าปูนใส กรด ธรรมชาติ น้าบาดาล น้าโคลน เป็นต้น กำรใช้สำรช่วยติดสีในกำรย้อมสีธรรมชำติมี 3 วิธีคือ 1.การใช้สารช่วยติดสีก่อนการย้อมสี (Pre -mordant) เป็นการนาเส้นใยไปย้อมกับสารช่วยติด สีก่อนนาไปย้อมสีธรรมชาติ 2.การใช้สารช่วยติดสีพร้อมการย้อมสี (Meta-mordant) เป็นการเติมสารช่วยติดสีลงในน้าสี แล้วจึงนาเส้นใยลงย้อม 3.การใช้สารช่วยติดสีหลังการย้อมสี (Post -mordant) นาเส้นใยลงย้อมในน้าสีก่อนแล้วจึง นาไปย้อมกับสารช่วยติดสี สำรส้ม  เป็นของแข็ง ไม่มีสี มีลักษณะคล้ายผลึก  สามารถละลายน้าและทาให้สารละลายมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนๆ  มีความหนาแน่นมากกว่าน้า  มีคุณสมบัติจับกลุ่มหรือเข้ารวมตัวกับสารแขวนลอยในของเหลวแขวนตะกอน และทาให้ ตกตะกอน คนไทยจะคุ้นเคยการใช้สารส้มแกว่งกวนในน้าเพื่อทาให้น้าที่ขุ่นนั้นใสขึ้น
  • 8. 8 ประโยชน์ของสำรส้ม ได้แก่ ก. โปแตสเซียม อะลั่ม (Potassium alum): ประโยชน์ เช่น 1. เป็นสารประกอบที่มีฤทธิ์ฝาดสมาน/ยาสมาน/ยาสมานแผล/ยาช่วยทาให้แผลหาย(Astringent) จึง นามาใช้เป็นสารห้ามเลือด (Styptic pencil) ช่วยลดอาการเลือดออกจากบาดแผลที่เกิดจากของมีคม ใช้ห้ามเลือดที่ซึมจากจมูก และช่วยบรรเทาอาการเลือดออกจากริดสีดวงทวาร 2. ใช้ฝาดสมานหัวสิว และแผลร้อนในที่เกิดในปาก 3. ใช้ดับกลิ่นตัว/สารระงับกลิ่นกาย (Deodorant) ด้วยโปแตสเซียม อะลั่มสามารถยับยั้งการ เจริญเติบโตขอแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุหนึ่งของกลิ่นกาย 4. ใช้เป็นส่วนประกอบเพื่อช่วยสนับสนุนการทางานของวัคซีนให้ดียิ่งขึ้น หรือที่เรียกว่า Adjuvant 5. ใช้เป็นองค์ประกอบใน ผงฟู(Baking powder) 6. ใช้เป็นสารชะลอการติดไฟในผลิตภัณฑ์จาพวกเสื้อผ้า ไม้และกระดาษ 7. ใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง 8. ใช้ในกระบวนการทาน้าดื่ม โดยโปแตสเซียม อะลั่มจะทาให้สารแขวนตะกอน ในน้าที่ใช้เป็นวัตถุดิบ ผ้ำฝ้ำย ผ้ำคอตตอน (cotton) ชื่อวิทยาศาสตร์ Gossypium hirsutum L. จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACEAE) ใยเซลลูโลสที่ได้มาจากได้จากดอกของฝ้าย เมื่อนามาทอเป็นผ้า จะได้ผ้าคอตตอนที่แข็งแรง ยิ่งทอเนื้อหนา-แน่นจะยิ่งแข็งแรง ทนทาน ดูดความชื้นได้ดี เส้นใยฝ้ายจะมีขนาดความกว้างเท่าๆ กัน มีคุณสมบัติโดดเด่นเรื่องของความโปร่งสบาย เมื่อเปียกจะตากแห้งได้เร็ว การใช้ฝ้ายมาใช้งานทาได้ โดยนาฝ้ายมาปั่นเป็นเส้นด้าย แล้วนามาทอเป็นผืนผ้า ต้นฝ้ายปลูกขึ้นได้ดีในแถบที่มีอากาศอุ่นชื้นและ มีแดดจัด เมื่อผลฝ้ายแก่จัดแล้ว ผลจะแตกมีใยเป็นปุยขาว จึงเก็บมาแยกเอาเปลือกและเมล็ดออก แล้ว นาไปปั่นเป็นเส้นใยและเส้นด้าย ต่อจากนั้นจะนาไปทอเป็นผืนผ้าและนามาตัดและเย็บเป็นเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย อย่างเช่นเสื้อยืด Indy T-Shirt รูปที่ 6-7 ผ้ำฝ้ำย https://www.ruedee.com/th/fabric/cotton/ คุณสมบัติของผ้ำฝ้ำย มีดังนี้ 1.ความมันเงา ใยฝ้ายโดยทั่วๆ ไปจะมีความมันน้อย ต้องเพิ่มความมันด้วยการตกแต่ง เช่น ผ้า
  • 9. 9 ฝ้ายเมอร์เซอร์ไรซ์ 2.ความเหนียว ฝ้ายจะมีความเหนียวปานกลาง คือจะเหนียวประมาณ 3.0-5.0 กรัมต่อเดน เยอร์ ความเหนียวจะเพิ่มขึ้นเมื่อเปียก ความเหนียวเมื่อเส้นใยเปียกจะมากกว่าความเหนียวเมื่อแห้ง ประมาณ 25-40 เปอร์เซ็นต์ ความยืดหยุ่นและการยืดได้ ในฝ้ายจะยืดหยุ่นได้ค่อนข้างต่า คือจะยืดได้ ประมาณ 3-7 เปอร์เซ็นต์ บางครั้งอาจถึง 10 เปอร์เซ็นต์ก่อนถึงจุดขาด การหดตัวกลับที่เดิม หากจับ ยืดออกเพียง 2 เปอร์เซ็นต์จะหดตัวกลับเข้าที่เดิมได้ 74 เปอร์เซ็นต์ และถ้าจับยืดออก 5 เปอร์ เซ็นต์ จะหดกลับที่เดิมได้เพียง 50 เปอร์เซ็นต์ 3.ความคืนตัว ใยฝ้ายและผ้าฝ้ายคืนตัวได้ต่า และยับง่ายมาก ความถ่วงจาเพาะ ใยฝ้ายมีความ หนาแน่นและความท่วงจาเพาะ 1.54 กรัมลูกบาศก์เซนติเมตร 4.การดูดความชื้น ฝ้ายดูดความชื้นในบรรยากาศได้ 8.5 เปอร์เซ็นต์ ถ้าความชื้นสัมพันธ์ใน อากาศ 95 เปอร์เซ็นต์และ 100 เปอร์เซ็นต์ ฝ้ายจะดูดความชื้นไว้ได้ 15 เปอร์เซ็นต์ และ 25-27 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ผ้าฝ้าย สามารถดูดซับความชื้นจากเหงื่อและน้าได้ดีและสามารถระบายความ ชื้นได้เร็ว 5.ความคงรูป โดยปกติผ้าฝ้ายจะคงรูป ไม่ยืด และหดตัวมากนัก ความยืดและหดจะมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิตเป็นผืนผ้าด้วย ถ้าต้องการไม่ให้หด จะต้องทาการตกแต่งให้ทนหด เช่น ผ้าซันฟอไรซ์ กำรทำควำมสะอำดผ้ำก่อนกำรย้อม ก่อนที่จะนาเส้นไหม/ เส้นฝ้าย/ ผ้า ไปย้อมสีนั้น ต้องกาจัดไขมัน สิ่งสกปรก รวมทั้งสารที่เคลือบ ติดเส้นด้ายออกไป เพราะสิ่งเหลานี้ทาให้สีย้อมติดเส้นด้ายไม่ดี ฝ้ายเป็นเส้นใยที่รู้จักและใช้กันมาตั้งแต่สมัยโบราณจนกระทั่งถึงปัจจุบัน แม้จะมีเส้นใยชนิด ใหม่ๆ เกิดขี้นมาก แต่ฝ้ายก็ยังคงเป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด และจัดเป็นเส้นใยธรรมชาติที่ได้จากพืช เป็น เส้นใยของเซลลูโลส ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ของกลูโคส ฝ้านมีความคงทนต่อสารฟอกขาวทุกชนิด ทั้งชนิดที่ เป็นสารฟอกขาวประเภทคลอรีน เช่น โซเดียมไฮโปคลอไรท์ และสารฟอกขาวประเภทออกซิเจน เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีความทนต่อด่างได้ดี แต่ไม่ทนต่อกรดแก่ ทนต่อความร้อนแสงแดดได้ดี แสงแดดไม่ทาอันตรายต่อผ้าที่ตากแดดจนแห้ง แต่ถ้าปล่อยให้ถูกแสงสว่างเป็นระยะเวลานานและ ตลอดเวลา จะทาให้เซลลูโลสถูกออกซิไดซ์ ส่งผลให้ผ้าลดความเหนียวได้ และเปลี่ยนเป็นสีเหลือง การ ซักตากผ้าฝ้ายควรให้แห้งสนิท การรีดควรรีดใช้อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส การทาความสะอาด เส้นด้ายฝ้ายเพื่อกาจัดแว็กซ์ ไขมัน หรือสิ่งสกปรก ที่เคลือบอยู่บนเส้นด้าย มี 2 วิธี คือ (1) วิธีปกติ
  • 10. 10 (1.1) นาเส้นฝ้าย/ ผ้าฝ้าย มาซักกับน้าและผงซักฟอก โดยใช้ผงซักฟอก 100 กรัม ต่อฝ้ายดิบ 1 กิโลกรัม ต่อน้า 30 ลิตร (1.2) แช่ทิ้งไว้ 30-60 นาที (1.3) นามาซักน้าเพื่อล้างเอาผงซักฟอกออก (2) วิธีเพิ่มด่าง (2.1) ละลายผงซักฟอก (หรือใช้สบู่ซักผ้า) 50 กรัม เติมโซดาไฟ 1 ช้อนโต๊ะ และโซดา แอช 20 ช้อนโต๊ะ ในน้า 20 ลิตร ต่อฝ้าย 1 กิโลกรัม (2.2) นาฝ้ายดิบลงซักในน้าเย็น ให้เส้นฝ้ายเปียกน้าให้ทั่ว (2.3) ค่อยๆ เพิ่มความร้อนจนเดือนเบาๆ ต้มต่อไปอีกครึ่งชั่วโมง (2.4) นาเส้นฝ้ายขึ้นมาวางทิ้งไว้ เพื่อให้เย็นตัวลง ก่อนนาไปล้างโดยล้างจากน้าอุ่น ไปหาน้าเย็น (ล้างด้วยน้าอุ่น 60 องศาเซลเซียส ประมาณ 2-3 ครั้ง ก่อนนาไปล้างด้วยน้าเย็น อุณหภูมิห้อง) บิดหมาดๆ และกระตุกเส้นฝ้าย 2-3 ครั้ง เพื่อให้เส้นฝ้ายเรียงตัว นาไปตากแห้ง หากยัง ไม่ย้อมให้เก็บไว้อย่าให้โดนฝุ่น ทั้งนี้ สามารถทดสอบเส้นด้ายฝ้ายก่อนย้อมว่าล้างไขมันออกหมดหรือไม่ โดยเส้นด้ายที่ล้างไขมัน ออกหมดแล้วจะจมน้าทั้งหมด และเส้นด้ายฝ้ายที่ผึ่งแห้งแล้วควรจมน้าภายใน 10 นาที ปัจจัยที่มีผลต่อ การล้างไขมันคือ อุณหภูมิ เวลา ความเข้มข้น (ของสบู่ ผงซักฟอก ด่าง) การเพิ่มปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง สามารถลดปัจจัยอื่นๆ ได้ เช่น การใช้เวลาในการแช่เส้นด้ายฝ้ายนานขึ้น ทาให้สามารถใช้สบู่น้อยลง และใช้อุณหภูมิต่าลงได้ ซึ่งต้องทาความสะอาดเส้นด้ายฝ้ายทุกครั้งไม่ว่าจะย้อมสีประเภทใดก็ตาม กำรเตรียมน้ำย้อม 2.1 อุปกรณ์ที่ใช้ในการย้อม (1) หม้อย้อมควรใช้หม้อสแตนเลส หม้อเคลือบ หรือกระทะใบบัว ไม่ควรใช้หม้ออะลูมิเนียม และควรเลือกขนาดหม้อให้เหมาะสมกับการย้อมผ้า หรือเส้นด้าย (2) ไม้กวนผ้า โดยไม้ควรมีขนาดใหญ่พอที่จะรับน้าหนักเส้นด้ายเส้นเปียกในหม้อย้อมได้ (3) ห่วงที่ทาจากสแตนเลส หรือท่อพลาสติกอ่อน ไว้สาหรับแขวน หรือคล้อง (4) ถุงมือยาง เทอร์โมมิเตอร์ เขียง มีด ครก (สาหรับตาครั่ง) ราว (สาหรับตาก) (5) กะละมัง หรือถังพลาสติก สาหรับล้างผ้า หรือเส้นด้ายก่อนย้อมและหลังย้อม (6) เตาไฟจะเป็นเตาฟืน หรือเตาแก๊สก็ได้ พืชที่ให้สีและสามารถนามาผลิตสีเพื่อการย้อมนี้ มีได้ตั้งแต่ต้นหญ้าไปจนถึงต้นไม้ขนาดใหญ่และ ทุกส่วนของพืช ได้แก่ ใบ ดอก ผล ลาต้น เปลือก แก่น ราก หัวหรือเหง้าในดิน ซึ่งแต่ละชนิด แต่ละส่วน ของพืชจะให้สีสันที่แตกต่างกัน อีกทั้งยังขึ้นอยู่กับความอ่อน แก่ สด แห้ง ช่วงเวลา เดือน และฤดูกาล ที่เก็บด้วย พืชที่ให้สีติดเส้นฝ้ายดีนั้นมักเป็นพืชที่ให้รสฝาด เพราะความฝาดจะมีฤทธิ์เป็นด่าง ข้อสังเกต
  • 11. 11 ง่ายๆ ของพืชที่ให้รสฝาด คือ ใบหรือดอกที่ถูกขยี้จะมียางติดมือ ถ้าเป็นผลหรือเปลือก หากใช้มีดขูดจะ มียางออกมา ซึ่งเมื่อถูกกับอากาศจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ปริมาณของวัตถุดิบที่ต้องการสกัดสี 2.2 ปริมาณของวัตถุดิบที่ต้องการสกัดสี - กรณีที่ใช้วัตถุดิบให้สีเป็นใบไม้ จะใช้ใบไม้จานวน 5 กิโลกรัมต่อฝ้าย 1 กิโลกรัม - กรณีที่ใช้วัตถุดิบให้สีเป็นเปลือกไม้ จะใช้เปลือกไม้จานวน 3 กิโลกรัมต่อฝ้าย 1 กิโลกรัม 2.3 การเตรียมน้าย้อม (1) หากวัตถุดิบที่ให้เป็นสีจากเปลือกไม้ แก่นไม้ กิ่งไม้ เช่น แก่นฝางแดง แก่นขนุน เปลือก ต้นประดู่ เป็นต้น ให้ทาการสับหรือผ่าให้เป็นชิ้นเล็กๆ (2) ชั่งเปลือก/ ชิ้นไม้ที่สับเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 3 กิโลกรัม ใส่ลงในกะละมัง/ หม้อสแตน เลส เติมน้าปริมาณ 20 ลิตร แล้วแช่ค้างคืนไว้ (3) นากะละมัง/ หม้อสแตนเลส ที่แช่เปลือกไม้ ไปต้มให้เดือด ประมาณ 2 ชั่วโมง เพื่อให้สีที่ อยู่ในเปลือก/ ชิ้นไม้ละลายออกมาให้มากที่สุด (ระหว่างต้ม หากน้าลดลงให้เติมน้าลงไปให้อยู่ใน ปริมาณเท่าเดิม) เมื่อครบเวลาใช้กระชอนตักเปลือก/ ชิ้นไม้ออก แล้วกรองน้าสีด้วยผ้าขาวบาง 3. การเตรียมสารช่วยย้อม หรือสารช่วยติดสี พืชแต่ละชนิดที่นามาใช้ย้อมเส้นด้ายมีความสามารถในการติดสี ความคงทนต่อการขัดถูหรือ ความคงทนต่อแสงได้ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางชีวเคมีภายในของพืชและเส้นด้ายที่นามาใช้ ย้อม จึงต้องใช้สารช่วยย้อมมาเป็นตัวช่วยในการทาให้เส้นด้ายดูดซับสีได้ดี มีความคงทนต่อแสงและ การขัดถูเพิ่มขึ้น ซึ่งคุณสมบัติสารช่วยย้อมนอกจากจะเป็นสารที่ช่วยในการยึดและจับสีแล้ว บางครั้ง สารช่วยย้อมยังทาให้ได้เฉดสีใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม การใช้สารช่วยย้อมในการย้อมสี มี 3 วิธี คือ วิธีที่ 1 การใช้สารช่วยย้อมก่อนการย้อมสี เพื่อให้สีติดยึดแน่นกับเส้นด้ายและช่วยเพิ่มความ คงทนของสี ทาได้โดยการนาเส้นด้ายที่ผ่านการทาความสะอาด แล้วไปชุบหรือต้มย้อมกับสารช่วยย้อม ก่อนนาไปย้อมด้วยน้าย้อมสีธรรมชาติ สารช่วยย้อมก่อนการย้อมสี ที่นิยมใช้มักเป็นพืชที่ให้สารฝาดหรือสารแทนนิน น้าถั่วเหลือง เกลือแกง (1) สารแทนนิน ได้จากพืชที่ให้รสฝาดและขม เช่น ใบฝรั่ง ใบยูคาลิปตัส เปลือกสีเสียด เปลือกผลทับทิม เปลือกประดู่ ใบเหมือดแอ เป็นต้น ซึ่งสารดังกล่าวมีคุณสมบัติช่วยให้สีติดกับเส้นด้าย ได้ดีขึ้น โดยการต้มสกัดน้าฝาด หรือแทนนินจากพืชดังกล่าว แล้วนาเส้นด้ายลงไปต้มย้อมกับน้าฝาด ก่อน จากนั้นจึงนาเส้นด้ายไปย้อมกับน้าสีย้อมอีกครั้ง
  • 12. 12 (2) โปรตีนจากถั่วเหลือง ใช้ต้มกับเส้นด้ายก่อนการย้อมสี เพื่อช่วยในการเพิ่มโปรตีนบน เส้นด้าย ทาให้สามารถย้อมสีติดได้ดีมากขึ้น ทางญี่ปุ่นจะชุบฝ้ายไหมด้วยน้าถั่วเหลืองก่อนเสมอ โดยแช่ ไว้ 1 คืน ยิ่งทาให้สีติดมาก (3) เกลือแกง จะใช้ผสมกับน้าสีย้อมเพื่อช่วยให้สีติดเส้นด้ายได้ง่ายขึ้น มักจะใช้ในกรณีที่ ต้องการย้อมสีด้วยครั่ง วิธีที่ 2 การใช้สารช่วยย้อมพร้อมกับการย้อมสี วิธีนี้เป็นการใส่สารช่วยย้อมลงไปในน้าสี ทา ให้เกิดเม็ดสีขึ้น จากนั้นจึงนาเส้นด้ายลงไปย้อม วิธีที่ 3 การใช้สารช่วยย้อมหลังการย้อมสี เป็นการนาเส้นด้ายลงไปย้อมสีก่อนแล้วจึงนาไป ชุบหรือย้อมด้วยสารช่วยย้อมในการภายหลัง วิธีการนี้จะช่วยทาให้เกิดเฉดสีใหม่ขึ้น ตัวอย่างสารช่วยย้อม หรือสารช่วยติดสี ได้แก่ (1) สารส้ม มีคุณสมบัติช่วยจับยึดกับเส้นด้าย และช่วยให้สีสดสว่างขึ้น มักใช้กับการย้อมด้วย พืชที่ให้เฉดสีน้าตาล-เหลือง-เขียว เช่น แก่นแข ใบหูกวาง เปลือกประดู่ เปลือกมะพร้าว เป็นต้น (2) เกลือเหล็ก ช่วยให้สีติดเส้นด้ายและช่วยเปลี่ยนเฉดสีธรรมชาติเดิมเป็นสีโทน เทา-ดา แต่ มีข้อควรระวังคือ ไม่ควรใช้ในปริมาณที่กินไป เพราะเหล็กจะทาให้เส้นด้ายเปื่อยง่าย โดยสารส้ม และเกลือเหล็ก ต้องละลายด้วยน้าอุ่นเท่านั้น ห้ามละลายด้วยน้าเย็น (3) น้าปูนใส ได้จากปูนขาวที่ใช้กินกับหมาก หรือทาจากการเผาเปลือกหอย โดยการละลาย ปูนขาวหรือเปลือกหอยที่ผ่านการเผาในน้าสะอาด ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน จะได้น้าปูนใสมาใช้เป็นสารช่วย ย้อมต่อไป ถ้ามใช้ปูนแดงมาทาน้าปูน ต้องเป็นปูนที่ผสมด้วยขมิ้นเท่านั้น (สีปูนจะเป็นสีแดงอิฐ) ห้าม เป็นปูนแดงที่ได้จากการนาปูนขาวผสมด้วยสีแดงผสมอาหาร (4) น้าด่าง หรือน้าขี้เถ้า ได้จากขี้เถ้าพืชเนื้ออ่อน เช่น ส่วนต่างๆ ของกล้วย เปลือกของผลนุ่น กากมะพร้าว เป็นต้น ทาได้โดยเลือกพืชชนิดใดชนิดหนึ่งที่ยังสดๆ นามาผึ่งแดดให้หมาด แล้วเผาให้เป็น ขี้เถ้าสีขาว นาขี้เถ้าที่ได้ไปใส่ในอ่างที่มีน้าอยู่ กวนให้ทั่วทิ้งไว้ 4-5 ชั่วโมง ขี้เถ้าจะตกตะกอน นาน้าที่ได้ ไปกรองให้สะอาดแล้วจึงนาไปใช้งาน (5) น้าบาดาล หรือน้าสนิมเหล็ก จะใช้น้าบ่อบาดาลที่เป็นสนิม หรือนาเหล็กไปเผาไฟให้แดง แล้วนาไปแช่ในน้าทิ้งไว้ 3 วัน จึงนาน้าสนิมมาใช้ได้ น้าสนิมจะช้วยให้สีเข้นขึ้น ให้เฉดมี เทา-ดา เหมือน เกลือเหล็ก (6) น้าโคลน ใช้ดินโคลนจากก้นสระที่มีน้าขังตลอดปีมาละลายในน้าเปล่า สัดส่วนน้า 1 ส่วน ต่อดินโคลน 1 ส่วน จะช่วยให้สีเข้มหรือโทนสีเทา-ดา เช่นเดียวกับน้าสนิม (กรองเอาสิ่งแปลกปลอม ออกให้เหลือแต่ดินโคลนเหลวๆ) 4. การย้อมสี การย้อมสีมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
  • 13. 13 (1) นาน้าย้อมที่ผ่านการกรองแล้ว มาตั้งไฟปานกลาง พอร้อนมีควันไม่ถึงกับเดือด ใส่สาร ช่วยย้อมสีอย่างใดอย่างหนึ่งที่ต้องการ (2) นาเส้นด้ายที่จะย้อม ที่เตรียมไว้ (ทาความสะอาดแล้ว) ลงย้อมในน้าสีนานประมาณ 1 ชั่วโมง ต้องหมั่นพลิกเส้นด้ายให้ถูกน้าย้อมเสมอกันทุกๆ 10 นาที (3) นาเส้นด้ายขึ้นผึ่งให้เย็น - ถ้าเป็นเส้นฝ้าย/ผ้าฝ้าย ให้นาใส่ถุงพลาสติกปิดให้แน่นหมักไว้ 1 คืนก่อนแล้วค่อยเอา ออกมาซักด้วยน้าเปล่าจนน้าที่ล้างนั้นใส - ถ้าเป็นเส้นไหม เมื่อผึ่งให้แห้งแล้วซักด้วยน้าเปล่าจนน้าที่ล้างนั้นใส (4) บิดเส้นด้ายที่ล้างสะอาดแล้วให้หมาด กระตุกให้ตึง 2-3 ครั้ว แล้วนาไปผึ่งในที่ร่มจนแห้ง ถ้ายังไม่ทอควรนาไปเก็บไว้ในถุงเพื่อไม่ให้ฝุ่นเกาะและป้องกันสีซีด (บัญชีตารางสีย้อม) การใช้สารช่วยย้อมหลังการย้อมสี โดยนาเส้นด้ายไปย้อมสีก่อน แล้วจึงนาไปย้อมกับสารช่วย ย้อมภายหลัง วิธีการนี้จะช่วยทาให้เกิดเฉดสีใหม่ขึ้น โดยมีขั้นตอน คือ - นาเส้นด้าย/ผ้า ที่ผ่านการย้อมสีที่บิดให้หมาดแล้วกระตุก 2-3 ครั้ง จึงนามาขยาในน้าสาร ช่วยย้อม เวลาใช้ขึ้นอยู่กับว่าต้องการสีเข้มหรือสีจาง โดยทั่วไปประมาณ 15-30 นาที แต่ถ้าเป็นแทน นินจากพืชจะใช้เวลาน้อย เช่น การย้อมฝางแล้วนามาย้อมต่อในน้าผลมะเกลือจะใช้เวลาประมาณ 1 นาที จะเปลี่ยนจากสีชมพูเป็นสหีบานเย็นนานกว่านี้จะเป็นสีมืด - บิด เส้นด้าย/ผ้า ให้หมาดกระตุก 2-3 ครั้ง แล้วผึ่งให้แห้ง - นา เส้นด้าย/ผ้า ที่ผึ่งแห้งแล้วมาซักในน้าสะอาดจนน้าใส แล้วนาไปสะบัดโดยใช้แขนสอง ข้างดึงเส้นด้ายแล้วกระตุก 2-3 ครั้ง นาไปตากในที่ร่ม (เส้นไหม) หรือกลางแดด (เส้นฝ้าย) การย้อมซ้า ถ้าสีที่ย้อมเสร็จแล้วยังได้สีที่จางหรือมีรอยด่างเนื่องจากสีติดไม่เสมอกัน สามารถ แก้ไขได้โดยนาไปย้อมซ้าสีเดิม ก็จะได้สีที่เข้มและมีความคงทนมากขึ้น หรือจะเปลี่ยนเป็นสีอื่นย้อมทับ กันก็ได้จะให้สีใหม่ที่แปลกตา ซึ่งการย้อมสีธรรมชาติให้สวยงามในแต่ละสีนั้น บางครั้งจะต้องผ่านการ ทดลองย้อมนับครั้งไม่ถ้วน และผู้ย้อมต้องเป็นคนช่างสังเกต ควรจดบันทึกข้อมูล และเก็บตัวอย่างการ ย้อมไว้ทุกครั้ง เพื่อนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ในครั้งต่อไป เมื่อได้ผ้าที่ย้อมสีตามความต้องการแล้ว สามารถนาไปทดสอบหาความทนต่อแสงอย่างง่ายๆ ด้วยการตัดตัวอย่างผ้าชิ้นเล็กๆ นาวัสดุทึบแสงมา ปิดผ้าตัวอย่างครึ่งหนึ่งแล้วนาไปวางแตกแดด 7 วัน นาผ้าที่โดนแสงมาเปรียบเทียบกับผ้าที่ไม่โดนแสง ถ้าผ้าที่โดนแดดสีซีดน้อยมากหรือแทบสังเกตไม่ออก แสดงว่า สีที่ได้จากต้นไม้ชนิดนี้และวิธีการย้อม ใช้ได้ แต่ถ้าสีซีดมากแสดงว่า ต้นไม้หรือวิธีการย้อมไม่เหมาะสม ต้องทดลองและปรับปรุงให้มีคุณภาพ ตามความต้องการต่อไป งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 14. 14 1. รังสรรค์ จรอนันต์ การย้อมผ้าไหมด้วยสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกกล้วยน้าว้าดิบ สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสีย้อม คือ การใช้สัดส่วนเปลือกกล้วยน้าว้าดิบต่อน้าที่ 1:3 ใน ระยะเวลาการสกัด 60 นาที 2) สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการย้อมสีผ้าไหม คือ การใช้อุณหภูมิ 90ºซ ในระยะเวลาการย้อม 60 นาที และ 3) สภาวะและระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมในการใช้สารช่วยติด คือ สารส้มทุกสภาวะเหมาะสมกับการใช้ในความเข้มข้นร้อยละ 6 จุนสีใช้เป็นสารช่วยติดก่อนย้อมใน ความเข้มข้นร้อยละ 4 จุนสีใช้เป็นสารช่วยติดย้อมพร้อมละหลังย้อมในความเข้มข้นร้อยละ 2 และ เหล็กใช้เป็นสารช่วยติดก่อนย้อมและหลังย้อมในความเข้มข้นร้อยละ 2 และเหล็กใช้เป็นสารช่วยติด ย้อมพร้อมในความเข้มข้นร้อยละ 4 ผลการทดสอบความคงทนของสีพบว่า การใช้สารส้มมีความคงทน ของสีต่อการซักอยู่ในระดับดีถึงดีมาก การใช้จุนสีเป็นสารช่วยติดหลังย้อมมีความคงทนของสีต่อแสง อยู่ในระดับดี และการใช้สารช่วยติดทั้ง 3 ชนิดทุกสภาวะมีความคงทนของสีต่อการขัดถูอยู่ในระดับดี ถึงดีมาก 2. ผ่องศรี ลอดโพธิ์ทอง การศึกษาวิธีการย้อมสีผ้าฝ้ายด้วยเปลือกต้นโปร ความคงทนของสีต่อการซักพบว่าผ้าที่แช่นมถั่วเหลืองก่อนย้อมจะมีความคงทนของสีต่อการ ซักดีกว่าผ้าที่ไม่แช่น้าถั่วเหลืองผลการวิเคราะห์ความคงทนของสีต่อแสงพบว่าผ้าที่ไม่แช่และแช่ถั่ว เหลืองโดยใช้น้าปูนขาวและน้าสนิมเป็นสารช่วยติดสีมีความคงทนต่อแสงดีกว่าผ้าที่ไม่ช่วยสารติดสี ยกเว้นผ้าที่ไม่แช่และแช่ถั่วเหลืองโดยธรรมชาติจะเป็นสารช่วยติดสีจะมีความคงทนของสีแสงต่าสุดทั้ง สองกรณี
  • 15. 15 บทที่ 3 วิธีดำเนินงำน โครงงานเรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion ได้ดาเนินการทดลองโดยใช้ อุปกรณ์และขั้นตอนการทดลองดังต่อไปนี้ 3.1 สำรเคมี และวัสดุอุปกรณ์ในกำรทดลอง - เปลือกต้นตะบูน จานวน 3 กิโลกรัม - เปลือกต้นแสม จานวน 3 กิโลกรัม - เปลือกต้นโกงกาง จานวน 3 กิโลกรัม - สารส้ม จานวน 2 กิโลกรัม - ผ้าสาลู ( ผ้าฝ้าย ) จานวน 10 หลา - เครื่องชั่ง จานวน 1 เครื่อง - บีกเกอร์ ขนาด 250 มิลลิลิตร จานวน 9 ใบ - แท่งแก้วคนสาร จานวน 9 แท่ง - มีด จานวน 1 ด้าม - กะละมัง จานวน 2 ใบ - แก๊สปิกนิก จานวน 1 ถัง - ผงซักฟอก จานวน 1000 กรัม 3.2 วิธีดำเนินกำรทดลอง 3.2.1 กำรศึกษำสีที่ได้จำกสีธรรมชำติจำกเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกำง - นาเปลือกของต้นตะบูน เปลือกของต้นแสม เปลือกโกงกาง มาต้มกับน้าเปล่า จานวน 1000 ml เป็นเวาลา 1 ชั่วโมง ดังตาราง ชนิดของพืช น้าเปล่า 1000 ml + พืช จานวน 100 กรัม น้าเปล่า 1000 ml + พืช จานวน 200 กรัม น้าเปล่า 1000 ml+ พืชจานวน 300 กรัม เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นตะบูน 100 เปลือกต้นตะบูน 200 เปลือกต้นตะบูน 300 เปลือกต้นแสม เปลือกต้นแสม 100 เปลือกต้นแสม 200 เปลือกต้นแสม 300 เปลือกโกงกาง เปลือกโกงกาง 100 เปลือกโกงกาง 200 เปลือกโกงกาง 300 รูปที่ 8 การเตรียมสีจากเปลือกไม้ รูปที่ 9 น้าสีที่ได้จากเปลือกไม้
  • 16. 16 - ตั้งให้เย็นและกรองเอาเศษเปลือกไม้ออก - นาน้าสีจากสีธรรมชาติที่ได้ ชนิดละ 200 ml ใส่บีกเกอร์ ตั้งไฟให้เดือด - นาผ้าขนาด 30 * 30 cm (ที่แช่ในน้าสารส้ม สารส้ม 5 กรัม ต่อน้า 1000 ml เป็นเวลา 12 ชั่วโมง และตากแห้งสนิท) แช่ลงไปในบีกเกอร์เพื่อย้อมสีเป็นเวลา 30 นาที - นาผ้าผึ่งลมให้แห้งสนิทเป็นเวลาอย่างน้อย 2 วัน - บันทึกสีที่ได้ 3.2.2 กำรศึกษำควำมคงทนในกำรติดสีของสีจำกธรรมชำติจำกเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้น แสม เปลือกโกงกำง - ใช้ผงซักฟอกน้าจานวน 10 g ต่อ น้าเปล่า 1000 ml ผสมให้เข้ากัน - นาผ้าจากการทดลองที่ 1 มาแช่ เป็นเวลา 30 นาที แล้วล้างน้า 2 ครั้ง - ผ้าไปผึ่งลม 1 วัน - บันสีหลังการจากที่ผ้าแห้งสนิทแล้ว - ทาการลองซ้า 10 ครั้ง รูปที่ 10 การนาผ้าไปแช่ก่อนย้อมสี รูปที่ 11 สีผ้าที่ได้จากการย้อมจากเปลือกตะบูน
  • 17. 17 บทที่ 4 ผลกำรดำเนินกำร โครงงานเรื่องสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ Tropical Eco Fashion ได้ผลการทดสอบดังต่อไปนี้ 4.2.1 กำรศึกษำสีที่ได้จำกสีธรรมชำติ โดยใช้พืชทั้ง 3 ชนิด ตารางที่ 1 แสดงสีที่ได้จากสีธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง โดยใช้จาวนวน 100 กรัม 200 กรัม และ 300 กรัม ตามลาดับ ต่อ น้าเปล่า 1000 มิลิลิตร ชนิดของพืช น้าเปล่า 1000 ml + พืช จานวน 100 กรัม น้าเปล่า 1000 ml + พืช จานวน 200 กรัม น้าเปล่า 1000ml + พืชจานวน 300 กรัม เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง
  • 18. 18 4.2.2 กำรศึกษำควำมคงทนในกำรติดสีของสีจำกสีธรรมชำติจำกพืชทั้ง 3 ตารางที่ 2 แสดงความคงทนของสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกตะบูน เมื่อผ่านการซักล้างด้วย ผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าเปล่า 1000 มิลิลิตร ครั้งที่ซักล้าง เปลือกต้นตะบูน 100g เปลือกต้นตะบูน 200g เปลือกต้นตะบูน 300g ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 10
  • 19. 19 ตารางที่ 3 แสดงความคงทนของสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกต้นแสม เมื่อผ่านการซักล้างด้วย ผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าเปล่า 1000 มิลิลิตร ครั้งที่ซักล้าง เปลือกต้นแสม 100g เปลือกต้นแสม 200g เปลือกต้นแสม 300g ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 10
  • 20. 20 ตารางที่ 4 แสดงความคงทนของสีย้อมธรรมชาติจากเปลือกต้นโกงกาง เมื่อผ่านการซักล้าง ด้วยผงซักฟอก 10 กรัม ต่อน้าเปล่า 1000 มิลิลิตร ครั้งที่ซักล้าง เปลือกโกงกาง 100g เปลือกโกงกาง 200g เปลือกโกงกาง 300g ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 10
  • 21. 21 บทที่ 5 อภิปรำยผล สรุป และข้อเสนอแนะ อภิปรำยผลกำรทดลอง การทดลองในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือก ต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง และเพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้น ตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกต้นโกงกาง โดย พืชที่ใช้คือ เปลือกตะบูน เปลือกแสม และเปลือก โกงกางซึ่งเป็นพืชในท้องถิ่น 1. การเพื่อศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ จากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง โดยใช้เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ในอัตราส่วนที่ต่างกันได้แก่ 100 กรัม 200 กรัม และ 300 กรัม ต่อน้า 1000 ml ผลการทดสอบประสิทธิภาพ พบว่าเปลือกต้นแสมให้สี ชมพู-ม่วง เปลือกต้นตะบูนให้สีน้าตาล-เหลืองเข้ม เปลือกต้นโกงกางให้สีน้าตาล-เหลืองอ่อน 2. การเพื่อศึกษาความคงทนในการติดสีของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้น แสม เปลือกโกงกาง เปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง สีย้อมจาธรรมชาติซีดลงเล็กน้อย ในการซักครั้งแรกแต่หลังจากนั้นสีแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงอีกเลย สรุปผลกำรทดลอง จากผลการศึกษาสีที่ได้จากสีธรรมชาติ เปลือกต้นแสมให้สีชมพู-ม่วง เปลือกต้นตะบูนให้สี น้าตาล-เหลืองเข้ม เปลือกต้นโกงกางให้สีน้าตาล-เหลืองอ่อน และจาการศึกษาความคงทนในการติดสี ของสีจากธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง ในการซักล้างครั้งแรกสีผ้าจะ ดูซีดออกมากที่สุดเนื่องสีที่ออกมาเป็นสีเกินในเส้นใยผ้าและเมื่อซักล้างครั้งหลังสีแทบจะไม่มีการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถนามาทาเป็นสีย้อมผ้าจากธรรมชาติได้ทั้ง 3 ชนิด โดยให้สีที่แตกต่างกัน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ครัวเรือนและสังคมปลอดภัยจากสารเคมีจากสีย้อมผ้าตามท้องตลาดอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2. สามารถส่งเสริมเป็นรายเสริมให้กับนักเรียนและชุมชนได้สู่ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ 3. ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ สู่การเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ข้อเสนอแนะ 1. ศึกษาพืชชนิดอื่นๆในท้องถิ่นที่อาจจะสามารถนามาทาสีย้อมผ้าเพื่อให้ได้สีหลากหลาย 2. ศึกษาสาร Mordant ชนิดอื่นเนื่องจากการศึกษาสาร Mordant ต่างชนิดกันสามารถให้สีต่าง ในขณะที่ใช้พืชชนิดเดียวกัน 3. ศึกษาหลักผสมสีเพื่อให้เกิดสีที่แตกต่างกัน
  • 22. 22 บรรณำนุกรม ดร.ทิพาพร พิมพิสุทธิ์ (2563). ผ้ำพิมพ์สีธรรมชำติ บ้ำนไร่ร่มไม้. กรุงเทพ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2563. ผศ.ภูริณัฐ ปลัดสงคราม .เอกสำรประกอบกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำร Eco –print . วันที่ 23- 24 กรกฏาคม 2565 ศูนย์การเรียนรู้เทศบาลเมืองภูเก็ต วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ( 2542)” วิทยาศาสตร์เส้นใย “ โรงพิมพ์จุฬาหาวิทยาลัย กรุงทพมหทานคร, พิมพ์ครั้งที่ 2 https://sites.google.com/site/ngamsaenngamsaenhlwng/hnwy-thi-5-kar-yxm-si- thrrmchati?tmpl สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565 https:/www.facebook.com/messenger_file?attachment_id=1076049636616406&messa eid=mid.%24cAAAADDMYTsyJhU6CvmDVad_id=100024529149059 พันธ์ไม้และสี ย้อมจากธรรมชาติ ดร.จันทร์เพ็ญ PDF https://www.indafix.com/ สืบค้นวันที่ : 11 กรกฏาคม 2565 http://u2tbcg.bru.ac.th/uncategorized/9-kanlaya/ สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565 https://th.wikipedia.org/wiki สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565 https://www.ruedee.com/th/fabric/cotton/ สืบค้นวันที่ : 19กรกฏาคม 2565 https://www.mythaicotton.com/blog/color-fabric-from-nature/ สืบค้นวันที่: 19 กรกฏาคม 2565 https://th.wikipedia.org/wiki ต้นตะบูน สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม 2565 https://haamor.com/ สารส้ม สืบค้นวันที่ : 19 กรกฏาคม2565 https://guru.sanook.com/6011/ สืบค้นวันที่ : 19 กันยายน 2565 https://th.wikipedia.org/wiki/ 19 กรกฏาคม 2565 https://th.wikipedia.org/wiki/19กรกฏาคม 2565 https://www.ruedee.com/th/fabric/cotton/ 19 กรกฏาคม 2565 https://marumothai.com/article/ น้าส้มสายชู สืบค้นวันที่ 20 กรกฏาคม 2565
  • 27. 27 น้าที่ได้จากการต้ม นาผ้าใส่บีกเกอร์เตรียมนาในต้ม การต้ม 30 นาที การตากผ้า การตรวจสอบสีและการติดสี ทดสอบความคงทนของสี ( ซัก )
  • 28. 28 สีที่ได้จากสีธรรมชาติจากเปลือกต้นตะบูน เปลือกต้นแสม เปลือกโกงกาง โดยใช้จาวนวน 100 กรัม 200 กรัม และ 300 กรัม ตามลาดับ ต่อ น้าเปล่า 1000 มิลิลิตร ( ใช้อย่างละ 200 ml ) 25 พ.ค. 2565
  • 29. 29