SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 289
Baixar para ler offline
การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC
โดย
นางธิดา ทิพยสุข
วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ
ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปการศึกษา 2552
ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC
โดย
นางธิดา ทิพยสุข
วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ
ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปการศึกษา 2552
ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
THE DEVELOPMENT OF LEARNING OUTCOMES ON ENGLISH READING AND
WRITING COMMUNICATION OF THE NINTH GRADE STUDENTS                     
USING THE CIRC TECHNIQUE
By
Thida Tipsuk
A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
MASTER OF EDUCATION
Department of Curriculum and Instruction
Graduate School
SILPAKORN UNIVERSITY
2009
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “ การพัฒนาผลการ
เรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการ
เรียนรูดวยเทคนิค CIRC ” เสนอโดย นางธิดา ทิพยสุข เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ
……...........................................................
(รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
วันที่..........เดือน....................... พ.ศ............
อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ
2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี
3. อาจารย ดร.ประเสริฐ มงคล
คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ
.................................................... ประธานกรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ)
............/......................../..............
.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ
(รองศาสตราจารย ดร.วิสาข จัติวัตร)                        (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ)
  ............/......................../..............                               ............/......................../.............
.................................................... กรรมการ ...................................................... กรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี)                       (อาจารย ดร.ประเสริฐ มงคล)
............/......................../.............. ............/......................../..............
ง
49253302 : สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ
คําสําคัญ : การอาน / การเขียน / ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร / การจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC
ธิดา ทิพยสุข : การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ดร.สุเทพ
อวมเจริญ, ผศ.ดร.วัชรา เลาเรียนดี และ อ.ดร.ประเสริฐ มงคล. 275 หนา.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC 2) ศึกษา
พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค
CIRC กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/2 โรงเรียนหนองโพวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ราชบุรี เขต 2 จํานวน 24 คน ที่ไดมาจากการสุมตัวอยางโดยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก
แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ33101) ดานการอานและการเขียนดวยการจัดการเรียนรูดวย
เทคนิค CIRC จํานวน 5 แผน รวม 15 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษดานการอานและ
การเขียนเพื่อการสื่อสาร แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของ
นักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC การวิเคราะหขอมูลและสถิติ ใชสถิติคาเฉลี่ย (Χ ) คาเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) และคา t-test แบบ dependent
ผลการวิจัยพบวา
1. ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC กอนและหลังการจัดการเรียนรูแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 โดยมีคาเฉลี่ยผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษหลังการจัดการเรียนรูสูงกวากอน
การจัดการเรียนรู
2. พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC
จากการประเมินโดยครูผูสอนโดยภาพรวมพฤติกรรมในการทํางานกลุมของนักเรียนมีคาเฉลี่ยการปฏิบัติอยูใน
ระดับมาก เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการทํางานรายดาน พบวาพฤติกรรมที่ปฏิบัติในระดับมากเปนลําดับที่ 1 คือ
การสรางความคุนเคยไววางใจยอมรับซึ่งกันและกัน
3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC โดยภาพรวมเห็นดวยมาก
ที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวานักเรียนมีความคิดเห็นดานประโยชนที่ไดรับจากการจัดการเรียนรูดวย
เทคนิค CIRC อยูในระดับมากที่สุดเปนลําดับที่ 1 โดยวิธีสอนแบบรวมมือกันเทคนิค CIRC เหมาะสําหรับ
การสอนอานและเขียนภาษาอังกฤษ ชวยพัฒนาผลการเรียนรูและทักษะการทํางานกลุมไดดี นักเรียนไดพัฒนา
ทักษะการอานและการเขียนและนําไปใชในชีวิตประจําวันได
ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552
ลายมือชื่อนักศึกษา................................................................
ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ........................... 2. .......................... 3. .......................
จ
49253302 : MAJOR : CURRICULUM AND SUPERVISION
KEY WORD : ENGLISH READING AND WRITING / ENGLISH FOR COMMUNICATION /
CIRC TECHNIQUE
THIDA TIPSUK : THE DEVELOPMENT OF LEARNING OUTCOMES ON ENGLISH
READING AND WRITING COMMUNICATION OF THE NINTH GRADE STUDENTS USING THE CIRC
TECHNIQUE. THESIS ADVISORS : ASST.PROF.SUTEP UAMCHAROEN, Ed.D., ASST.PROF.
WATCHARA LOWRIENDEE, Ph.D., AND PRASERT MONGKOL, Ed.D. 275 pp.
The purposes of this experimental research were 1) to compare reading and writing learning
outcomes of the ninth grade students before and after using the CIRC Technique 2) to study the students’ group
working behaviors and 3) to study the students’ opinions toward the CIRC Technique after using the technique.
The sample consisted of one randomly selected class of 24 students in the ninth grade during the academic year
2009 of Nongphowittaya School, Photaram District, the Office of Ratchaburi Educational Region 2. The
research design was one group pretest posttest design. The research instruments were the lesson plans based on
the CIRC Technique which was composed of 5 units for 15 hours, the learning outcomes test, students’ group
working behaviors evaluation form, and questionnaire used for asking the students’ opinions toward the CIRC
Technique. The percentage, mean (Χ ), standard deviation (S.D.) and t-test dependent were employed to
analyze the collected data.
The results of this research were as follow :
1. The students’ learning outcomes in reading and writing English for communication of the
ninth grade students before and after using the instruction with the CIRC Technique was statistically
significant different at the .01 level. The mean score of learning outcomes in reading and writing English
communication of the students after the instruction were higher than before the instruction.
2. The group working behaviors of the ninth grade students using the CIRC Technique as
evaluated by the teacher and the students themselves were at a high performance level, the students cooperated,
helped each other and accepted the others’ opinions.
3. The students’ opinions toward the CIRC Technique were at the highest level of agreement
with the CIRC Technique. They agreed with the usefulness of the CIRC Technique because it could help
them develop reading and writing skills and also could be applied for their daily life.
Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2009
Student's signature .........................................................................
Thesis Advisors' signature 1. ......................................... 2. ........................................ 3. .....................................
ฉ
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี เพราะผูวิจัยไดรับความกรุณาอยางสูงจาก
ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ อาจารยที่ปรึกษา ผูใหคําแนะนํา คําปรึกษา ตลอดจนดูแล
อยางใกลชิดจนวิทยานิพนธเสร็จสมบูรณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี และอาจารย
ดร.ประเสริฐ มงคล ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูคอยชวยเหลือและใหคําแนะนําที่เปน
ประโยชนอยางยิ่งตอผูวิจัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ ประธานกรรมการตรวจสอบ
วิทยานิพนธ และรองศาสตราจารย ดร.วิสาข จัติวัตร ผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาใหคําปรึกษา
คําแนะนํา ตรวจสอบแกไขขอบกพรอง จนทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้ถูกตองและสมบูรณยิ่งขึ้น
รวมทั้งคณาจารยทุกทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของอาจารย
ทุกทาน ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน ที่ชวยตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก
นางสุพิศ รัตนเสถียร ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี นางวันเพ็ญ
สุคนธรัตน ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี และนางธัญญพัทธ
พิชิตยศวัฒน ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคมกรุงเทพมหานคร ที่ไดกรุณา
เปนผูเชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจแกไขเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ใหมีความสมบูรณ
มากยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณ นางสาวจุฑามาศ เกิดแกวฟา ผูอํานวยการโรงเรียนหนองโพวิทยา และ
คณะครูโรงเรียนหนองโพวิทยาทุกทานที่ใหความอนุเคราะหชวยเหลือ สนับสนุน และอํานวย
ความสะดวกในการเก็บขอมูลรวมทั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2552 ที่ให
ความรวมมือในการทดลองอยางดียิ่ง
ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ นอง ๆ สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศทุกทาน รวมทั้ง
สมาชิกในครอบครัวทุกคนที่ใหความชวยเหลือ และเปนกําลังใจในการทําวิทยานิพนธตลอดมา
ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา วิทยานิพนธฉบับนี้จะเปนประโยชนตอครูผูสอน ตลอดจน
ผูที่สนใจโดยทั่วไป
ช
สารบัญ
หนา
บทคัดยอภาษาไทย.................................................................................................................. ง
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................. จ
กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... ฉ
สารบัญตาราง .......................................................................................................................... ญ
สารบัญแผนภาพ...................................................................................................................... ฐ
บทที่
1 บทนํา.............................................................................................................................. 1
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.......................................................... 1
กรอบแนวคิดในการวิจัย.................................................................................. 12
วัตถุประสงคของการวิจัย ................................................................................ 18
คําถามของการวิจัย........................................................................................... 18
สมมติฐานของการวิจัย.................................................................................... 18
ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................ 18
นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................................. 19
2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ.................................................................................................... 22
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544................................................... 22
หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ..................................................... 27
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหนองโพวิทยา อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี...... 35
การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร..................................................................... 40
การสอนอานภาษาอังกฤษ...................................................................................... 50
ทักษะการอานภาษาอังกฤษ............................................................................. 50
ความเขาใจในการอาน..................................................................................... 53
ระดับความเขาใจในการอาน............................................................................ 55
จุดมุงหมายในการอาน..................................................................................... 57
ประเภทของการอาน........................................................................................ 59
หลักการและขั้นตอนในการสอนอานจับใจความ............................................ 61
ซ
บทที่ หนา
กิจกรรมการสอนอาน...................................................................................... 68
ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการอาน........................................................................... 69
ทฤษฎีการสอนอานเชิงจิตวิทยา....................................................................... 69
การวัดและการประเมินผลการอานเพื่อความเขาใจ ......................................... 72
แบบทดสอบที่ใชในการประเมินผลการอานเพื่อความเขาใจ........................... 72
การสอนเขียนภาษาอังกฤษ..................................................................................... 75
ความหมายของการเขียน ................................................................................. 75
ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ............................................................................ 78
กระบวนการเขียนภาษาอังกฤษ ....................................................................... 80
การวัดและการประเมินผลการเขียน................................................................ 81
วิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและเทคนิค CIRC.................................................... 83
เทคนิคการเรียนรูแบบรวมมือกันแบบ CIRC.................................................. 83
องคประกอบที่สําคัญของเทคนิค CIRC.......................................................... 84
การสอนอานและวิธีจัดกลุมอานโดยใชเทคนิค CIRC..................................... 86
ทักษะการอานเพื่อความเขาใจและทักษะการเขียน.......................................... 86
พฤติกรรมการทํางานกลุม................................................................................ 88
วิธีการคิดคะแนนกลุมและคะแนนพัฒนา........................................................ 89
ระดับการพัฒนาของกลุม................................................................................. 91
ทักษะที่จําเปนในการทํางานกลุม..................................................................... 91
การประเมินผลทักษะในการทํางานกลุม......................................................... 93
งานวิจัยที่เกี่ยวของ.................................................................................................. 94
งานวิจัยในประเทศ.......................................................................................... 94
งานวิจัยตางประเทศ......................................................................................... 98
3 วิธีดําเนินการวิจัย............................................................................................................ 100
วิธีดําเนินการวิจัย.................................................................................................... 100
ประชากรและกลุมตัวอยาง..................................................................................... 100
รูปแบบการทดลอง................................................................................................. 100
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย......................................................................................... 101
ฌ
บทที่ หนา
การสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย........................................... 102
การเก็บรวบรวมขอมูล............................................................................................ 123
การวิเคราะหขอมูล................................................................................................. 126
4 การวิเคราะหขอมูล.......................................................................................................... 128
การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล......................................................................... 128
ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................ 128
5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ............................................................. 142
สรุปผลการวิจัย....................................................................................................... 143
อภิปรายผล............................................................................................................. 144
ขอเสนอแนะ........................................................................................................... 150
ขอเสนอแนะจากการวิจัย................................................................................. 150
ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป................................................................... 151
บรรณานุกรม........................................................................................................................... 152
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ................................................ 162
ภาคผนวก ข การตรวจสอบสมมติฐาน........................................................... 174
ภาคผนวก ค รายการปรับปรุงแกไขเครื่องมือ................................................ 179
ภาคผนวก ง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................ 181
ภาคผนวก จ รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือ............................................... 267
ภาคผนวก ฉ หนังสือขอเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัย.................................... 270
หนังสือขอทดลองเครื่องมือวิจัย................................................ 273
หนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล .............. 274
ประวัติผูวิจัย............................................................................................................................ 275
ญ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและสาระการเรียนรูชวงชั้น
มาตรฐาน ต1.1.................................................................................................. 30
2
3
4
5
6
7
8
การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและสาระการเรียนรูชวงชั้น
มาตรฐาน ต1.2................................................................................................
การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและสาระการเรียนรูชวงชั้น
มาตรฐาน ต1.3................................................................................................
การวิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูรายป มาตรฐาน ต1.1…
การวิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูรายป มาตรฐาน ต1.2…
การวิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูรายป มาตรฐาน ต1.3…
การวิเคราะหสาระและมาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระ
การเรียนรูที่ใชในการวิจัย...............................................................................
โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหนองโพวิทยา
31
32
32
33
33
34
ชวงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ) ................................................................ 38
9 หนวยการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3............................................ 39
10 ประเภทของบทอานที่ใชในการวิจัย......................................................................... 40
11 เกณฑการใหคะแนนพัฒนา...................................................................................... 89
12 เกณฑการประเมินระดับคะแนนพัฒนา.................................................................... 91
13 การกําหนดเนื้อหา.................................................................................................... 103
14 การวิเคราะหคุณลักษณะขอสอบ.............................................................................. 109
15 เกณฑการตรวจใหคะแนนการเขียนสรุปเรื่อง.......................................................... 111
16 การใหคะแนนการเขียน........................................................................................... 113
17 พฤติกรรมบงชี้พฤติกรรมการทํางานกลุมที่ประเมินโดยครูผูสอน........................... 118
18 สรุปวิธีดําเนินการวิจัย.............................................................................................. 127
ฎ
ตารางที่
19 ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสาร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC
กอนและหลังการทดลอง................................................................................
หนา
129
20 ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 3ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC กอนและหลัง
การทดลอง..................................................................................................... 130
21 คะแนนพัฒนาหลังเรียนแตละแผนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC....................................................................... 132
22 พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ที่ไดรับการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC ประเมินโดยครูผูสอน ................... 135
23 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC......................................................... 138
24 คาดัชนีความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูทั้ง 5 แผนการจัดการเรียนรู........ 163
25 คาดัชนีความสอดคลองของแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม
(ประเมินโดยครู) .............................................................................................. 168
26 คาดัชนีความสอดคลองของแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน
ที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC......................................................... 169
27 คาดัชนีความสอดคลองของเกณฑการตรวจใหคะแนนการเขียนสรุปความ............. 170
28 คาดัชนีความสอดคลองของแบบทดสอบการพัฒนาผลการเรียนรูดานการอาน
และการเขียนเพื่อการสื่อสาร............................................................................. 172
29 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบการพัฒนา
ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสาร.................................... 173
30 ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC............ 175
ฏ
ตารางที่
31 ผลการเรียนรูดานการอานเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
หนา
กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC………………………....... 176
32 ผลการเรียนรูดานการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC.............................................. 177
33 ผลการเปรียบเทียบความสามารถดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสาร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรู
ดวยเทคนิค CIRC โดยการทดสอบคาที (t-test) แบบ dependent....................... 178
34 รายการปรับปรุงแกไขเครื่องมือ............................................................................... 180
ฐ
สารบัญแผนภาพ
แผนภาพที่ หนา
1 กรอบแนวคิดในการวิจัย..................................................................................... 17
2 ขั้นตอนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร................................................................. 48
3 แบบจําลองของแนวการสอนอานเพื่อการสื่อสาร............................................... 62
4 ปจจัยของการอานเชิงจิตวิทยา............................................................................. 71
5 องคประกอบของการเขียน.................................................................................. 77
6 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานและการเขียน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร....................................................................... 109
7 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานและการเขียน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร....................................................................... 117
8 สรุปขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัด
การเรียนรูดวยเทคนิค CIRC....................................................................... 119
9 สรุปขั้นตอนการสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม.............................. 122
10 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC........................................................ 125
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติมุงเนนความสําคัญทั้งดาน
ความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม
เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสําคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ
พัฒนาตนเองได สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ใหความสําคัญตอ
ความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม และมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษย
ที่สมบูรณเปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีความรูอันเปนสากล รูเทาทัน
การเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ
การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกับสถานการณ
(คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542 : 1)
กระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสที่
ประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะหในพระบรมราชูปถัมภ นําคณะกรรมการ
พรอมดวยคณะเขาเฝาฯ ทูลเกลาฯ ถวายเงินเพื่อสมทบทุน มูลนิธิราชประชานุเคราะหใน
พระบรมราชูปถัมภ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันจันทรที่ 27 พฤศจิกายน 2543 ความตอนหนึ่งวา
“...การศึกษานี้สําคัญมากเพราะวาถาหากวาไมมีความรู แมจะมีความรูในขั้นพื้นฐาน คือ ความรู
ในดานวิทยาการที่เรียกวาไมใชชั้นสูงมากนัก ก็ทําอะไรไมได เชน ในดานภาษาแมแตเพียง
ภาษาไทย ถาไมเขาใจภาษาไทยก็จะสื่อกันไมได จะพูดกันไมได และจะทําอะไรไมได ยิ่งใน
สมัยปจจุบัน จะตองทราบภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศแรก ๆ ก็คือภาษาอังกฤษ แลวก็
ตองสอนภาษาฝรั่งเศสดวย ภาษาเยอรมันดวย ภาษาญี่ปุนดวย. ฉะนั้น จะตองพัฒนาการศึกษา
ใหดี. ถาพัฒนาการศึกษาใหดีแลว นักเรียน และผูที่จะเปนผูใหญในอนาคตก็จะสามารถใชวิชา
ความรูที่มีอยูในโลกมาปฏิบัติสําหรับประเทศ...” (กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา 2550 : 181)
การจัดการเรียนการสอนภาษาตางประเทศ นอกจากผูเรียนจะเรียนภาษาเพื่อความรู
เกี่ยวกับภาษาแลว การเรียนภาษาตองสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารกับผูอื่นได
ตามความตองการในสถานการณตาง ๆ ทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพ การที่ผูเรียนจะใช
ภาษาไดถูกตองคลองแคลวและเหมาะสมนั้นขึ้นอยูกับทักษะการใชภาษา ดังนั้นการเรียนภาษาที่ดี
ผูเรียนจะตองมีโอกาสไดฝกทักษะการใชภาษาใหมากที่สุด ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน
1
2
การจัดกระบวนการเรียนการสอนใหสอดคลองกับธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของการเรียนภาษา
จึงควรประกอบไปดวยกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมการฝกทักษะทางภาษาและกิจกรรม
การฝกผูเรียนใหรูวิธีการเรียนภาษาดวยตนเองควบคูไปดวยกันจะนําไปสูการเปนผูเรียนที่พึ่งตนเอง
ได (Learner-independence) และสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ทั้งดาน
ภาษาตางประเทศและใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือในการคนควาหาความรูในการเรียนวิชา
อื่น ๆ ในการศึกษาตอ รวมทั้งในการประกอบอาชีพ ซึ่งเปนจุดหมายสําคัญอีกประการหนึ่งของ
การปฏิรูปการเรียนรู (กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 1-2)
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ไดกําหนดใหสาระภาษา
ตางประเทศเปนสาระการเรียนรูพื้นฐานหนึ่งใน 8 กลุมสาระ และไดกําหนดสาระการเรียนรูไว
4 สาระ ประกอบดวย สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร หมายถึง การใชภาษาตางประเทศเพื่อทํา
ความเขาใจแลกเปลี่ยน นําเสนอขอมูลขาวสาร แสดงความคิดเห็น เจตคติ อารมณและความรูสึก
ในเรื่องตาง ๆ ทั้งที่เปนภาษาพูดและภาษาเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม หมายถึง ความรู
ความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู พฤติกรรมทางสังคม คานิยม ความเชื่อที่แสดงออกทางภาษา
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น หมายถึง ความสามารถในการใช
ภาษาตางประเทศในการแสวงหาความรูที่สัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และสาระที่ 4 ภาษา
กับความสัมพันธกับชุมชนโลก หมายถึง ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศภายในชุมชน
และเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพและการเรียนรูตลอดชีวิต สาระการเรียนรูกลุมวิชา
ภาษาตางประเทศเปนสาระการเรียนรูที่เสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษยและสรางศักยภาพใน
การคิดและการทํางานอยางสรางสรรค เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคตาม
จุดหมายของหลักสูตรการเรียนภาษาตางประเทศ ชวยใหผูเรียนมีวิสัยทัศนกวางไกลและเกิดความ
มั่นใจในการที่จะสื่อสารกับชาวตางประเทศ รวมทั้งเกิดเจตคติที่ดีตอภาษาและวัฒนธรรม
ตางประเทศ โดยยังคงความภาคภูมิใจในภาษาและวัฒนธรรมไทย การที่จะทําใหผูเรียนเกิดคุณภาพ
และคุณธรรมจริยธรรมคานิยมที่ผูเรียนพึงมีถาจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปแลว ไวเปนกรอบ
สําหรับแตละชวงชั้น โดยเฉพาะชวงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3) ไดกําหนดไวดังนี้ 1) เขาใจ
และใชภาษาตางประเทศในการแลกเปลี่ยนนําเสนอขอมูลขาวสาร สรางความสัมพันธระหวาง
บุคคล แสดงความรูสึกนึกคิด และความคิดรวบยอดโดยใชน้ําเสียง ทาทาง ในรูปแบบที่เหมาะสม
กับบุคคลและกาลเทศะ 2) มีทักษะในการใชภาษาตางประเทศในการพัง-พูด-อาน-เขียน ในหัวขอ
เรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธกับบุคคล
เวลาวางและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทองเที่ยว
การบริการ สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงศัพทประมาณ 2,100-2,250
3
(คําศัพทที่เปนนามธรรมมากขึ้น) 3) ใชประโยคผสม (Compound Sentence) และประโยคซับซอน
(Complex Sentence) ที่ใชสื่อความหมายตามบริบทตาง ๆ ในการสนทนาทั้งที่เปนทางการและ
ไมเปนทางการ 4) อาน เขียนขอความที่เปนความเรียงและไมเปนความเรียง ทั้งที่เปนทางการและ
ไมเปนทางการ ที่มีตัวเชื่อมขอความ (Discourse Markers) 5) มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ
วัฒนธรรม ทางภาษาและชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษาตามบริบทของขอความที่พบในแตละ
ระดับชั้น 6) มีความรู ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศ สืบคนขอมูลความรูในวิชาอื่น ๆ
ที่เรียนตามความสนใจและระดับชั้น และ 7) ฝกฝนการใชภาษาอังกฤษทั้งในและนอกโรงเรียน
เพื่อการแสวงหาความรูเพิ่มเติมอยางตอเนื่อง หาความเพลิดเพลินและเปนพื้นฐานในการทํางาน
และประกอบอาชีพ
ในสังคมโลกปจจุบันการเรียนรูภาษาตางประเทศเปนสิ่งที่จําเปนที่เลี่ยงไมไดเพราะ
ภาษามิใชเปนเพียงเครื่องมือในการศึกษาคนควาหาขอมูลที่ตองการและเพื่อการประกอบอาชีพ
เทานั้น ยังสามารถใชเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร การเจรจาตอรองเพื่อการแขงขันและความ
รวมมือทั้งทางดานเศรษฐกิจและการเมืองไดอยางมีประสิทธิภาพ การรูภาษาตางประเทศยังชวย
สรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางคน เพราะมีความเขาใจวัฒนธรรมที่แตกตางกันของแตละเชื้อชาติ
ทําใหสามารถปฏิบัติตนตอกันไดอยางถูกตองและเหมาะสม ซึ่งมีการกําหนดองคความรูและ
กระบวนการเรียนรูที่จะเสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษย สรางศักยภาพในการคิดและการทํางาน
อยางสรางสรรค
จากกระแสการปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยในปจจุบันไดใหความสําคัญกับ
ภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศขอมูลขาวสาร
ตาง ๆ จากนานาประเทศ ประกอบกับ ประชาชนสวนใหญของโลกใชภาษาอังกฤษใน
การติดตอสื่อสาร ดังนั้น จึงจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศไทยจะตองพัฒนาบุคลากรใหมีความรู
ความสามารถในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อใหเขาใจและสามารถเลือกรับสารสนเทศที่มี
ประโยชน สามารถนําไปใชในการพัฒนาการเรียนรูดานตาง ๆ ใหเกิดประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลอง
กับกระทรวงศึกษาธิการที่มุงเนนใหมีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษอยางมีคุณภาพ สามารถ
นําไปใชไดจริงในยุคขอมูลขาวสาร ดังนั้น การศึกษาตั้งแตระดับประถมศึกษาขึ้นไปจึงมุงเนน
เพื่อใหผูเรียนเรียนรูภาษาอังกฤษทั้งดานทักษะการฟง พูด อาน เขียน รวมทั้งสามารถ
ติดตอสื่อสาร คนหาขาวสารและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการติดตอสื่อสารได
อยางมีคุณภาพ
จากความสําคัญของภาษาอังกฤษตามกําหนดของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.
2544 จึงทําใหทุกโรงเรียนเนนการเรียนการสอนดานภาษาอังกฤษเปนอยางมาก บางโรงเรียน
4
เปดสอนภาษาอังกฤษตั้งแตอนุบาลจนถึงอุดมศึกษา และมีการจางครูสอนภาษาอังกฤษที่เปน
เจาของภาษามาสอนนักเรียน ซึ่งไดรับความนิยมจากนักเรียนและผูปกครองเปนอยางมาก โดย
มุงเนนการเรียนทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนการสรางพื้นฐานที่ดีและ
สรางทักษะในการใชภาษาใหกับนักเรียนไทย สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางแทจริง
(อารีย วาศนอํานวย 2545 : 4) และเพื่อใหสอดคลองกับความตองการและความจําเปนตอการพัฒนา
ประเทศสังคมโลก ซึ่งรับรูวาภาษาอังกฤษมีประโยชนและเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร
กับนานาประเทศ หลักสูตรภาษาอังกฤษจึงมีการเปลี่ยนแปลงในดานวัตถุประสงคการเรียน
การสอนไปจากแนวการสอนเดิมที่เนนรูปแบบและหลักไวยากรณที่ถูกตอง ซึ่งจากการวัดผล
ประเมินผลพบวาผูเรียนไมสามารถนําเอาความรูที่เรียนมาในโรงเรียน ตลอดจนมหาวิทยาลัย
ไปใชไดจริง กอใหเกิดความสูญเปลาทางการเรียนการสอน จึงไดมีการเปลี่ยนแปลงจุดประสงค
การเรียนรูเพื่อนําไปปฏิบัติไดในชีวิตจริง ใหผูเรียนสามารถใชภาษาอังกฤษในการติดตอสื่อสาร
รับขอมูลขาวสารที่เปนภาษาอังกฤษไดเปนอยางดี และมีพื้นฐานภาษาอังกฤษที่เพียงพอในการที่จะ
นําไปใชเปนเครื่องมือในการแสดงหาความรูทุกแขนง หรือสามารถนําไปเปนสวนประกอบใน
การประกอบอาชีพ ดังนั้นจุดมุงหมายของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จึงมีจุดมุงหมายเพื่อการสื่อสาร
ทั้งในดานการอานฟง พูด อาน เขียน ดังที่ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2535 : 106) กลาววาวิธีการสอน
ตามแนวการสอนเพื่อการสื่อสารนี้มีพื้นฐานมาจากความคิดที่วาภาษาคือเครื่องมือในการสื่อสาร
และเปาหมายของการสอนภาษา คือพัฒนาผูเรียนใหมีความสามารถในการสื่อสาร นอกจากนี้
กุลยา เบญจกาญจน (2531 : 22) ยังกลาวไววาการเรียนการสอนเพื่อการสื่อสารนั้น คือ การที่
นักเรียนไดมีโอกาสใชภาษาในชั้นเรียนมากกวาการสอนจากกฎเกณฑ ไวยากรณ ซึ่งจากจุดหมาย
ดังกลาว ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนไดแสดงการใชภาษา โดยใช
สถานการณตาง ๆ เขาชวยใหมาก โดยครูจะตองคํานึงถึงความสามารถในการสื่อความหมายให
เขาใจมากกวา เนนที่รูปแบบแตจะตองเหมาะสมและเปนที่ยอมรับในสังคมดวย (Johnson and
Morrow 1981) และที่สําคัญในการจัดการเรียนรูตองจัดใหครบทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง การพูด
การอาน และการเขียน ซึ่งการฟง การอาน จัดเปนทักษะในการรับสาร การพูด และการเขียน
จัดเปนทักษะการสงสาร การรับสงสารจะตองเกี่ยวของกับบุคคลอยางนอย 2 ฝาย คือ ฝายรับสาร
และฝายสงสาร ซึ่งถาทั้งสองฝายหรือฝายหนึ่งฝายใดขาดทักษะอยางใดอยางหนึ่งหรือขาดทั้ง
4 ทักษะ จะไมสามารถสื่อสารกันไดเขาใจ ดังนั้นการเรียนรูภาษาเพื่อใหใชไดจริงใน
ชีวิตประจําวัน จึงตองมีการพัฒนาทักษะทั้ง 4 ไปพรอม ๆ กัน
ในการเรียนภาษาอังกฤษนั้น ทักษะที่จําเปนและสําคัญในยุคขอมูลขาวสารมากที่สุดคือ
ทักษะการอาน เพราะการอานเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูไดดวยตนเองจากสิ่งสื่อพิมพ
5
หรือสื่อเทคโนโลยี เชน อินเตอรเน็ต การที่จะไดรับสารจากแหลงสื่อสารเหลานี้ไดตองอาศัย
ทักษะการอานทั้งสิ้น ผูที่มีความสามารถในการอานดียิ่งมีโอกาสหาความรูจากแหลงสื่อตาง ๆ ได
มากกวาผูที่มีความสามารถในการอานนอย ดังนั้น การอานจึงเปนเครื่องมือสําคัญในการเรียนรู
ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน (สุรศักดิ์ กาญจนการรุณ 2531 : 1, อางถึงใน ปยวรรณ ศิริรัตน
2543 : 2) และสุมิตรา อังวัฒนกุล (2535) ยังไดกลาวไววา การเรียนการสอนภาษาอังกฤษนั้น
ทักษะการอานเปนทักษะที่ควรไดรับการสงเสริมเปนอยางมาก เพราะเปนทักษะที่คงอยูในตัว
ผูเรียนไดนานที่สุด ผูเรียนมีโอกาสไดใชนานที่สุด และใชไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต เพราะเปน
ทักษะที่ชวยใหผูเรียนสามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเองตลอดเวลา และการอานยังเปน
ทักษะที่ตองใชมากที่สุดในชีวิตประจําวัน ทั้งใชในการศึกษา การทํางาน เพราะการอานทําใหชีวิต
เกิดการพัฒนา กูดแมน (Goodman 1970 : 27) กลาววา การอานชวยใหนักเรียนไดพัฒนาสมอง
ความคิดเพราะการอานเปนกระบวนการในการหาความหมาย และการทําความเขาใจกับ บทอาน
เปนกระบวนการที่ตองคิดตลอดเวลา
การสอนอานภาษาอังกฤษใหแกนักเรียนที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษต่ํานั้น
ครูควรเลือกใชบทอานหรือสื่อการเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษที่ประกอบดวยการใช
โครงสรางทางภาษาและการหาความหมายของคําศัพทดวย เพราะความรูในเรื่องดังกลาว เปน
องคประกอบสําคัญที่จะชวยใหผูอานประสบความสําเร็จในการอานเพื่อความเขาใจได (Wiseman
1922 : 2) แตปญหาที่พบเสมอ คือ นักเรียนกลุมออนจะไมสามารถชวยเหลือตนเองไดในเรื่อง
เหลานี้ ดังที่ ฮาดเลย (Hadley 1996 : 195-200) ไดกลาวไววา การฝกหัดทักษะการอานยังเปนเรื่อง
จําเปนสําหรับนักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองหรือภาษาตางประเทศ แตการสอนทักษะ
การอานควรสอนหลังจากที่นักเรียนไดอานเนื้อหาทั้งหมดไปแลว และสอนเฉพาะทักษะหรือ
โครงสรางทางภาษาและการหาความหมายของคําศัพทที่จําเปนตอการอานเนื้อหาในแตละที่เรียน
เทานั้น
นอกจากทักษะการอานแลวทักษะที่จําเปนและสําคัญอีกทักษะหนึ่ง คือ ทักษะเขียน
เพราะทักษะเขียนเปนทักษะที่จําเปนในการศึกษาที่สูงขึ้น ซึ่งผูเรียนจะตองฝกฝนเพื่อใชประโยชน
ในการจดบันทึก หรือเขียนรายงานตาง ๆ ซึ่งเปนสิ่งที่ตองนําไปประยุกตใชในการดําเนิน
ชีวิตประจําวันตลอดจนการประกอบอาชีพ (Paulston 1976 : 204, อางถึงใน ปยวรรณ ศิริรัตน 2543
: 2) เนื่องจากผูเรียนตองใชทักษะการเขียนควบคูไปกับการฝกฟงจากคําบรรยายหรือเขียนยอขอมูล
ตาง ๆ จากการอาน การศึกษาวิชาตาง ๆ เพื่อความเขาใจ ดังนั้นทักษะการอานจึงเปนทักษะที่มี
ความสัมพันธกับทักษะเขียน ดังที่ เสาวลักษณ รัตนวิชช (2531 : 84, อางถึงใน ปยวรรณ ศิริรัตน
2543 : 2) ไดกลาวไววา ผูที่อานไดดียอมจะเปนผูที่เขียนไดดี เพราะประสบการณในการตีความ
6
และไดขอมูลจากสัญลักษณหรือตัวอักษรมากเพียงพอ ซึ่งถือวาเปนปจจัยที่สําคัญ ทักษะการเขียน
จึงควรนํามาพัฒนาคูกับทักษะการอาน เพราะการไดมองเห็นขอความประโยคดวยการเขียน
ของตนเองยอมชวยใหจําไดดีกวาอานผานตาเพียงอยางเดียว และถาผูอานไดรับประสบการณใน
การอานอยางถูกตองเหมาะสมควบคูกับการฝกเขียน และยังพบวาทักษะการอานและการเขียน
มีความสัมพันธกันในทางบวก เพราะคุณภาพของงานเขียนมีความสัมพันธกับประสบการณใน
การอานของผูเขียน คือคนที่มีความสามารถในการอาน ดีก็สามารถเขียนไดดีดวย (Stotsky 1983 :
627-628, อางถึงใน อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 3) การใหขอมูลทางภาษาดานการอานจะมีผล
ตอการพัฒนาความสามารถของผูเรียนทั้งดานการอานและ การเขียน เชนเดียวกับการใหขอมูลทาง
ทักษะดานการเขียนจะมีผลตอการพัฒนาความสามารถของผูเรียน ทั้งดานการอานและการเขียน
(อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 3)
ปญหาทางดานการสอนเขียนนั้น พบวา ครูใหนักเรียนฝกทักษะการเขียนนอยมาก
เพราะกลัวชา สอนไมทันเวลา และจํานวนนักเรียนในชั้นเรียนที่มากเกินไปก็เปนอุปสรรค เมื่อ
นักเรียนไมไดฝกเขียนโดยตรงและใชเวลาฝกเขียนนอยมากทําใหเกิดปญหา ซึ่งสอดคลองกับ
งานวิจัยของ ธนาลัย ตปนีย (2535 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและทักษะทางสังคมดวยเทคนิคการเรียนแบบรวมมือกัน
กับการเรียนแบบปกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา ทักษะการอานและการเขียนเปน
ปญหาและอุปสรรคในการเรียนของนักเรียนมากที่สุด การสอนอานและเขียนควรฝกควบคูกันไป
เชนเดียวกับการฟงและการพูด
ทักษะการเขียนเปนการนําภาษามาใชเชนเดียวกับทักษะการพูด แตการเขียนเปนทักษะ
ที่มีขั้นตอนซับซอนกอนที่จะเขียนได เพราะตองใชความคิดในการผลิตภาษานานกวาทักษะการฟง
การพูด และการอาน นอกจากนั้นการสงสารโดยการเขียนเปนการกระทําฝายเดียว เพราะผูอาน
และผูเขียนไมไดกําลังเผชิญหนากันอยู เมื่อผูอานไมเขาใจหรือเขาใจผิดไปจากจุดประสงคที่ผูเขียน
ตองการสื่อ ผูเขียนไมมีโอกาสอธิบายเพื่อทําความเขาใจใหตรงกัน ซึ่งตางจากทักษะการฟง และ
การพูด เพราะผูสงสารและผูรับสารเผชิญหนากัน เมื่อผูฟงไมเขาใจ ผูพูดสามารถอธิบายชี้แจงทํา
ความเขาใจใหตรงกันได ซึ่ง บอรน (Byrne 1982 : 1, อางถึงใน กันตดนัย วรจิตติพล 2542 : 2 )
กลาววา การเขียนเปนการถายทอดความคิด ทักษะการเขียนเปนทักษะที่มีความซับซอนมาก ซึ่ง
ผูเรียนตองอาศัยทักษะทางกายภาพและกระบวนการทางการคิดไปสูภาษา นอกจาก บอรน (Byrne)
ยังสรุปวาทักษะการเขียนเปนทักษะที่ยาก เนื่องจากการเขียนปราศจากการปฏิสัมพันธและผล
ยอนกลับระหวางผูอานและผูเขียน ในการเขียนผูเขียนตองใชภาษาที่มีความชัดเจนและถูกตองตาม
ไวยากรณ เพื่อสื่อสารใหผูอื่นเขาใจไดอยางชัดเจน และการเขียนนั้นผูเขียนไมสามารถใชกริยา
7
ทาทางและน้ําเสียงประกอบได ผูเขียนจึงตองมีความสามารถอยางแทจริงในทุก ๆ เรื่อง จึงจะ
สามารถถายทอดความคิด ความรูสึกใหผูอานเขาใจได (พิตรวัลย โกวิทวที 2529 : 30) นอกจากนี้
วิดโดสัน (Widdowson 1978 : 27, อางถึงใน บัญชา อึ้งสกุล ม.ป.ป. : 17) ยังไดกลาวถึงการเขียน
ไววา การเขียนคือการเรียบเรียงความคิดอยางมีจุดหมาย เพื่อการติดตอสื่อสารระหวางผูเขียนและ
ผูอาน การเขียนไมใชการนําประโยคมาเรียงตอกันเทานั้น ผูเขียนตองเรียบเรียงประโยคใหเปน
ขอความที่สามารถสื่อสารและทําใหผูอานเขาใจแนวความคิดทางขอความนั้น ๆ ซึ่งเปน
กระบวนการที่ผูเขียนตองถายทอดความคิด ความรูของตนออกมาใหผูอื่นเขาใจเหมือนผูเขียน
ซึ่งจะตองอาศัยความรูดานการใชคําศัพท การใชถอยคําสํานวนที่สละสลวย ตลอดจนพื้นฐานดาน
วิจารณญาณและจินตนาการดวย ซึ่งสอดคลองกับที่ ลาโด (Lado 1957, อางถึงใน บัญชา อึ๋งสกุล
ม.ป.ป. : 17) ไดกลาวถึงองคประกอบการเขียนวาผูเขียนจะตองมีความรูเรื่องโครงสรางไวยากรณ
การสะกดคําและเครื่องหมายวรรคตอน ในทํานองเดียวกับ ไบรท (Bright 1970 : 236, อางถึงใน
บัญชา อึ้งสกุล ม.ป.ป. : 17) ไดสรุปวา ไวยากรณเปนสิ่งสําคัญมากเชนกันและเปนปจจัยที่ชวยสื่อ
ความคิดกับผูอานได ทั้งยังเปนเครื่องแสดงระดับความสามารถในการเขียนของผูเขียนอีกดวย
เนื่องจากการอานและการเขียนเปนทักษะที่สงเสริมซึ่งกันและกันดังกลาว ดังนั้น
ในการจัดการเรียนการสอนภาษาที่ดีจึงควรเปดโอกาสใหผูเรียนใชทักษะทั้ง 4 ดาน เพื่อใหเกิด
ความรอบรูมากขึ้น เพราะถานักเรียนมีทักษะการอานที่ดี ทักษะการเขียนก็จะดีตามไปดวย
การจะพัฒนาทักษะทางภาษาใหมีคุณภาพที่ดีตองอาศัยการฝกฝน ดวยเหตุนี้การเรียนการสอนภาษา
ควรจะจัดกิจกรรมที่สงเสริมใหมีการฝกฝนทักษะตาง ๆ เพื่อสงเสริมซึ่งกันและกัน โดยชานาฮาน
และโลแมกซ (Shanahan and Lomax 1988 : 196) ไดดําเนินการศึกษาเพื่ออธิบายถึงความรู ซึ่งเปน
ผลมาจากความสําเร็จของการโยงความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน เพื่อนําผลที่ไดมา
ประเมินความสัมพันธดังกลาวพบวา การอานและการเขียนมีอิทธิพลในการเรียนรูซึ่งกันและกัน
โดยมีความสัมพันธกันในระดับที่สูงมาก จากผลการวิจัยของนักการศึกษาเชนนี้ จึงสรุปไดวา
การอานและการเขียนมีความสัมพันธกัน การสอนอานและเขียนจึงควรสอนควบคูกัน โดยครูสอน
การอานเพื่อใหนักเรียนสามารถที่จะดึงขอมูลของเรื่องที่อานไปใชเปนขอมูลในการเขียน เพื่อ
รายงานใหผูอื่นทราบไดอยางถูกตอง
แนวทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2544 ใหความสําคัญดานกระบวนการเรียนรูควบคูไปกับการนําวิธีการเรียนรูรวมกันมาใชในการ
สอนกระบวนการอานสอดคลองกับแนวทางการสอนอาน การสอนอานใหความสําคัญการอาน 3
ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กิจกรรมกอนอาน (Pre – Reading Activities) ผูสอนสามารถทํากิจกรรมที่จะ
กระตุนผูเรียนใหเกิดความอยากรู และสนใจตอสิ่งที่กําลังจะอานโดยสรางโครงสรางความรูเดิม
8
กระตุนใหผูเรียนระลึกถึงความรูเดิม ประสบการณเดิมเกี่ยวกับเรื่องที่กําลังจะอานและสราง
แนวทางในการคิด หาความรูใหมโดยใชสื่อการเรียนการสอนตาง ๆ เชน เกม เพลง การสาธิต การ
แสดงใบ ในขั้นที่ 2 เปนการจัดกิจกรรมขณะอาน (While-Reading Activities) เปนการนําเสนอ
เรื่องที่จะอานเปนครั้งแรก ซึ่งสามารถอานไดทั้งแบบออกเสียง และอานในใจ ขั้นตอนนี้มีจุดใหญ
ตรงสรางกระบวนการคิดดวยวิธีตาง ๆ วิธีที่งายที่สุดก็คือ การตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ
ของผูเรียน คําถามนั้นจะตองใชเวลาเพียงพอในการคิดหาคําตอบไดดวยตนเอง และการถาม
จะตองใชรูปแบบในการถามถึงขอมูลยอนกลับและความรูเพิ่มขึ้นทีละนิด ใชคําย้ําเพื่อตรวจสอบ
ความเขาใจเปนระยะ และขั้นที่ 3 กิจกรรมหลังอาน (Post-Reading Activities) เปนขั้นตอนสุดทาย
ของการสอนอาน มีจุดประสงคเพื่อย้ําความเขาใจของเรื่องที่อานใหมากขึ้น และสรางความ
ประทับใจดวยกิจกรรมที่สนุกสนาน และเนนเรื่องการแสดงออกถึงความเขาใจในสิ่งที่เรียน และ
หลังกิจกรรมการอานแลว นักเรียนควรถายโอนความรูความเขาใจไปสู การเขียน ซึ่งทักษะการ
เขียนเปนทักษะที่ซับซอนตองอาศัยความรูหลายดานประกอบกัน การเขียนโดยทั่วไปประกอบดวย
เนื้อหาสาระที่จะใชเขียน (Content) รูปแบบ คือ การเรียงลําดับเนื้อหา (Form) ไวยากรณ
(Grammar) ไดแก การใชโครงสรางทางไวยากรณที่ถูกตอง สื่อความหมายได ลีลาในการเขียน
(Style) คือการเลือกโครงสราง เลือกคํา และสํานวนตาง ๆ ของภาษาที่ใชเขียน และกลไกในการ
เขียน (Mechanics) ไดแก การใชสัญลักษณตาง ๆ ของภาษา เชน การใชเครื่องหมายวรรคตอน
และการสะกดคําใหถูกตองตามแบบแผนของภาษานั้น ๆ
กลาวโดยสรุป จุดมุงหมายของการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 3 เนนใหผูเรียนเขาใจและใชภาษาตางประเทศในการแลกเปลี่ยน
ขอมูลขาวสาร เปนไปเพื่อการสื่อสาร และทักษะที่ผูเรียนจะตองใชมากคือการอานและการเขียน
ขอความ เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวันและเปนพื้นฐานในการทํางานและประกอบอาชีพ อยางไร
ก็ตามการเรียนการสอนอานและเขียนภาษาอังกฤษที่ผานมายังไมเปนที่นาพอใจ ไมไดผลเทาที่ควร
เพราะนักเรียนไมสามารถนําไปประยุกตใชไดจริงในชีวิตประจําวัน และจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์
ในระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาถึงระดับโรงเรียน พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ภาษาอังกฤษทุกระดับชั้นยังอยูในเกณฑที่ไมนาพอใจ ดังเชน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 (NT) ทั่วประเทศ ปการศึกษา 2549-2550 มีคะแนนเฉลี่ย 30.85 และ 28.68
ตามลําดับ ซึ่งจัดอยูในระดับต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไวรอยละ 50.00 จากรายงานการประเมิน
คุณภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2549-2550 พบวาจํานวนรอยละของนักเรียนที่
อยูในระดับปรับปรุงจํานวนมากที่สุด (สํานักทดสอบทางการศึกษา, กรมวิชาการ 2549-2550)
โรงเรียนหนองโพวิทยา อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เปนโรงเรียนมัธยมขนาดเล็ก สังกัด
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james
james

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a james

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
Nakhon Phanom University
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
Nakhon Phanom University
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
peerapit
 
Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013
Thai Cooperate in Academic
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Fadel Freedom
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
สำเร็จ นางสีคุณ
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
Nattapon
 
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
นายจักราวุธ คำทวี
 

Semelhante a james (20)

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
เผยแพร่ผลงานวิชาการ
เผยแพร่ผลงานวิชาการเผยแพร่ผลงานวิชาการ
เผยแพร่ผลงานวิชาการ
 
CAI Computer Assisted Instruction
CAI Computer Assisted InstructionCAI Computer Assisted Instruction
CAI Computer Assisted Instruction
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
สรุปวิจัย
สรุปวิจัยสรุปวิจัย
สรุปวิจัย
 
E-Book_Intensive_Reading_Title
E-Book_Intensive_Reading_TitleE-Book_Intensive_Reading_Title
E-Book_Intensive_Reading_Title
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
แบบสอบถาม ความพึงพอใจนักเรียนต่อครูอาสาภาษาจีน หน้า102
 
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-ResearchFlipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
 
English writing course outline
English writing course outline English writing course outline
English writing course outline
 
English writing course outline
English writing course outline English writing course outline
English writing course outline
 

james

  • 1. การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC โดย นางธิดา ทิพยสุข วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2. การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC โดย นางธิดา ทิพยสุข วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 3. THE DEVELOPMENT OF LEARNING OUTCOMES ON ENGLISH READING AND WRITING COMMUNICATION OF THE NINTH GRADE STUDENTS                      USING THE CIRC TECHNIQUE By Thida Tipsuk A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION Department of Curriculum and Instruction Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY 2009
  • 4. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “ การพัฒนาผลการ เรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการ เรียนรูดวยเทคนิค CIRC ” เสนอโดย นางธิดา ทิพยสุข เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน....................... พ.ศ............ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี 3. อาจารย ดร.ประเสริฐ มงคล คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.วิสาข จัติวัตร)                        (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ)   ............/......................../..............                               ............/......................../............. .................................................... กรรมการ ...................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี)                       (อาจารย ดร.ประเสริฐ มงคล) ............/......................../.............. ............/......................../..............
  • 5. ง 49253302 : สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คําสําคัญ : การอาน / การเขียน / ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร / การจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC ธิดา ทิพยสุข : การพัฒนาผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ดร.สุเทพ อวมเจริญ, ผศ.ดร.วัชรา เลาเรียนดี และ อ.ดร.ประเสริฐ มงคล. 275 หนา. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC 2) ศึกษา พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/2 โรงเรียนหนองโพวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต 2 จํานวน 24 คน ที่ไดมาจากการสุมตัวอยางโดยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ33101) ดานการอานและการเขียนดวยการจัดการเรียนรูดวย เทคนิค CIRC จํานวน 5 แผน รวม 15 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษดานการอานและ การเขียนเพื่อการสื่อสาร แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC การวิเคราะหขอมูลและสถิติ ใชสถิติคาเฉลี่ย (Χ ) คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) และคา t-test แบบ dependent ผลการวิจัยพบวา 1. ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC กอนและหลังการจัดการเรียนรูแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 โดยมีคาเฉลี่ยผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนภาษาอังกฤษหลังการจัดการเรียนรูสูงกวากอน การจัดการเรียนรู 2. พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC จากการประเมินโดยครูผูสอนโดยภาพรวมพฤติกรรมในการทํางานกลุมของนักเรียนมีคาเฉลี่ยการปฏิบัติอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการทํางานรายดาน พบวาพฤติกรรมที่ปฏิบัติในระดับมากเปนลําดับที่ 1 คือ การสรางความคุนเคยไววางใจยอมรับซึ่งกันและกัน 3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC โดยภาพรวมเห็นดวยมาก ที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวานักเรียนมีความคิดเห็นดานประโยชนที่ไดรับจากการจัดการเรียนรูดวย เทคนิค CIRC อยูในระดับมากที่สุดเปนลําดับที่ 1 โดยวิธีสอนแบบรวมมือกันเทคนิค CIRC เหมาะสําหรับ การสอนอานและเขียนภาษาอังกฤษ ชวยพัฒนาผลการเรียนรูและทักษะการทํางานกลุมไดดี นักเรียนไดพัฒนา ทักษะการอานและการเขียนและนําไปใชในชีวิตประจําวันได ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552 ลายมือชื่อนักศึกษา................................................................ ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ........................... 2. .......................... 3. .......................
  • 6. จ 49253302 : MAJOR : CURRICULUM AND SUPERVISION KEY WORD : ENGLISH READING AND WRITING / ENGLISH FOR COMMUNICATION / CIRC TECHNIQUE THIDA TIPSUK : THE DEVELOPMENT OF LEARNING OUTCOMES ON ENGLISH READING AND WRITING COMMUNICATION OF THE NINTH GRADE STUDENTS USING THE CIRC TECHNIQUE. THESIS ADVISORS : ASST.PROF.SUTEP UAMCHAROEN, Ed.D., ASST.PROF. WATCHARA LOWRIENDEE, Ph.D., AND PRASERT MONGKOL, Ed.D. 275 pp. The purposes of this experimental research were 1) to compare reading and writing learning outcomes of the ninth grade students before and after using the CIRC Technique 2) to study the students’ group working behaviors and 3) to study the students’ opinions toward the CIRC Technique after using the technique. The sample consisted of one randomly selected class of 24 students in the ninth grade during the academic year 2009 of Nongphowittaya School, Photaram District, the Office of Ratchaburi Educational Region 2. The research design was one group pretest posttest design. The research instruments were the lesson plans based on the CIRC Technique which was composed of 5 units for 15 hours, the learning outcomes test, students’ group working behaviors evaluation form, and questionnaire used for asking the students’ opinions toward the CIRC Technique. The percentage, mean (Χ ), standard deviation (S.D.) and t-test dependent were employed to analyze the collected data. The results of this research were as follow : 1. The students’ learning outcomes in reading and writing English for communication of the ninth grade students before and after using the instruction with the CIRC Technique was statistically significant different at the .01 level. The mean score of learning outcomes in reading and writing English communication of the students after the instruction were higher than before the instruction. 2. The group working behaviors of the ninth grade students using the CIRC Technique as evaluated by the teacher and the students themselves were at a high performance level, the students cooperated, helped each other and accepted the others’ opinions. 3. The students’ opinions toward the CIRC Technique were at the highest level of agreement with the CIRC Technique. They agreed with the usefulness of the CIRC Technique because it could help them develop reading and writing skills and also could be applied for their daily life. Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2009 Student's signature ......................................................................... Thesis Advisors' signature 1. ......................................... 2. ........................................ 3. .....................................
  • 7. ฉ กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี เพราะผูวิจัยไดรับความกรุณาอยางสูงจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ อาจารยที่ปรึกษา ผูใหคําแนะนํา คําปรึกษา ตลอดจนดูแล อยางใกลชิดจนวิทยานิพนธเสร็จสมบูรณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัชรา เลาเรียนดี และอาจารย ดร.ประเสริฐ มงคล ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูคอยชวยเหลือและใหคําแนะนําที่เปน ประโยชนอยางยิ่งตอผูวิจัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ ประธานกรรมการตรวจสอบ วิทยานิพนธ และรองศาสตราจารย ดร.วิสาข จัติวัตร ผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาใหคําปรึกษา คําแนะนํา ตรวจสอบแกไขขอบกพรอง จนทําใหวิทยานิพนธฉบับนี้ถูกตองและสมบูรณยิ่งขึ้น รวมทั้งคณาจารยทุกทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของอาจารย ทุกทาน ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน ที่ชวยตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นางสุพิศ รัตนเสถียร ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี นางวันเพ็ญ สุคนธรัตน ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี จังหวัดราชบุรี และนางธัญญพัทธ พิชิตยศวัฒน ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคมกรุงเทพมหานคร ที่ไดกรุณา เปนผูเชี่ยวชาญในการพิจารณาตรวจแกไขเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ใหมีความสมบูรณ มากยิ่งขึ้น ขอขอบคุณ นางสาวจุฑามาศ เกิดแกวฟา ผูอํานวยการโรงเรียนหนองโพวิทยา และ คณะครูโรงเรียนหนองโพวิทยาทุกทานที่ใหความอนุเคราะหชวยเหลือ สนับสนุน และอํานวย ความสะดวกในการเก็บขอมูลรวมทั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2552 ที่ให ความรวมมือในการทดลองอยางดียิ่ง ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ นอง ๆ สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศทุกทาน รวมทั้ง สมาชิกในครอบครัวทุกคนที่ใหความชวยเหลือ และเปนกําลังใจในการทําวิทยานิพนธตลอดมา ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา วิทยานิพนธฉบับนี้จะเปนประโยชนตอครูผูสอน ตลอดจน ผูที่สนใจโดยทั่วไป
  • 8. ช สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย.................................................................................................................. ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง .......................................................................................................................... ญ สารบัญแผนภาพ...................................................................................................................... ฐ บทที่ 1 บทนํา.............................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.......................................................... 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย.................................................................................. 12 วัตถุประสงคของการวิจัย ................................................................................ 18 คําถามของการวิจัย........................................................................................... 18 สมมติฐานของการวิจัย.................................................................................... 18 ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................ 18 นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................................. 19 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ.................................................................................................... 22 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544................................................... 22 หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ..................................................... 27 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหนองโพวิทยา อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี...... 35 การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร..................................................................... 40 การสอนอานภาษาอังกฤษ...................................................................................... 50 ทักษะการอานภาษาอังกฤษ............................................................................. 50 ความเขาใจในการอาน..................................................................................... 53 ระดับความเขาใจในการอาน............................................................................ 55 จุดมุงหมายในการอาน..................................................................................... 57 ประเภทของการอาน........................................................................................ 59 หลักการและขั้นตอนในการสอนอานจับใจความ............................................ 61
  • 9. ซ บทที่ หนา กิจกรรมการสอนอาน...................................................................................... 68 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการอาน........................................................................... 69 ทฤษฎีการสอนอานเชิงจิตวิทยา....................................................................... 69 การวัดและการประเมินผลการอานเพื่อความเขาใจ ......................................... 72 แบบทดสอบที่ใชในการประเมินผลการอานเพื่อความเขาใจ........................... 72 การสอนเขียนภาษาอังกฤษ..................................................................................... 75 ความหมายของการเขียน ................................................................................. 75 ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ............................................................................ 78 กระบวนการเขียนภาษาอังกฤษ ....................................................................... 80 การวัดและการประเมินผลการเขียน................................................................ 81 วิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและเทคนิค CIRC.................................................... 83 เทคนิคการเรียนรูแบบรวมมือกันแบบ CIRC.................................................. 83 องคประกอบที่สําคัญของเทคนิค CIRC.......................................................... 84 การสอนอานและวิธีจัดกลุมอานโดยใชเทคนิค CIRC..................................... 86 ทักษะการอานเพื่อความเขาใจและทักษะการเขียน.......................................... 86 พฤติกรรมการทํางานกลุม................................................................................ 88 วิธีการคิดคะแนนกลุมและคะแนนพัฒนา........................................................ 89 ระดับการพัฒนาของกลุม................................................................................. 91 ทักษะที่จําเปนในการทํางานกลุม..................................................................... 91 การประเมินผลทักษะในการทํางานกลุม......................................................... 93 งานวิจัยที่เกี่ยวของ.................................................................................................. 94 งานวิจัยในประเทศ.......................................................................................... 94 งานวิจัยตางประเทศ......................................................................................... 98 3 วิธีดําเนินการวิจัย............................................................................................................ 100 วิธีดําเนินการวิจัย.................................................................................................... 100 ประชากรและกลุมตัวอยาง..................................................................................... 100 รูปแบบการทดลอง................................................................................................. 100 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย......................................................................................... 101
  • 10. ฌ บทที่ หนา การสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย........................................... 102 การเก็บรวบรวมขอมูล............................................................................................ 123 การวิเคราะหขอมูล................................................................................................. 126 4 การวิเคราะหขอมูล.......................................................................................................... 128 การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล......................................................................... 128 ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................ 128 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ............................................................. 142 สรุปผลการวิจัย....................................................................................................... 143 อภิปรายผล............................................................................................................. 144 ขอเสนอแนะ........................................................................................................... 150 ขอเสนอแนะจากการวิจัย................................................................................. 150 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป................................................................... 151 บรรณานุกรม........................................................................................................................... 152 ภาคผนวก ภาคผนวก ก การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ................................................ 162 ภาคผนวก ข การตรวจสอบสมมติฐาน........................................................... 174 ภาคผนวก ค รายการปรับปรุงแกไขเครื่องมือ................................................ 179 ภาคผนวก ง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................ 181 ภาคผนวก จ รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือ............................................... 267 ภาคผนวก ฉ หนังสือขอเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัย.................................... 270 หนังสือขอทดลองเครื่องมือวิจัย................................................ 273 หนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล .............. 274 ประวัติผูวิจัย............................................................................................................................ 275
  • 11. ญ สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและสาระการเรียนรูชวงชั้น มาตรฐาน ต1.1.................................................................................................. 30 2 3 4 5 6 7 8 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและสาระการเรียนรูชวงชั้น มาตรฐาน ต1.2................................................................................................ การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและสาระการเรียนรูชวงชั้น มาตรฐาน ต1.3................................................................................................ การวิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูรายป มาตรฐาน ต1.1… การวิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูรายป มาตรฐาน ต1.2… การวิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระการเรียนรูรายป มาตรฐาน ต1.3… การวิเคราะหสาระและมาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวังและสาระ การเรียนรูที่ใชในการวิจัย............................................................................... โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนหนองโพวิทยา 31 32 32 33 33 34 ชวงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ) ................................................................ 38 9 หนวยการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3............................................ 39 10 ประเภทของบทอานที่ใชในการวิจัย......................................................................... 40 11 เกณฑการใหคะแนนพัฒนา...................................................................................... 89 12 เกณฑการประเมินระดับคะแนนพัฒนา.................................................................... 91 13 การกําหนดเนื้อหา.................................................................................................... 103 14 การวิเคราะหคุณลักษณะขอสอบ.............................................................................. 109 15 เกณฑการตรวจใหคะแนนการเขียนสรุปเรื่อง.......................................................... 111 16 การใหคะแนนการเขียน........................................................................................... 113 17 พฤติกรรมบงชี้พฤติกรรมการทํางานกลุมที่ประเมินโดยครูผูสอน........................... 118 18 สรุปวิธีดําเนินการวิจัย.............................................................................................. 127
  • 12. ฎ ตารางที่ 19 ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC กอนและหลังการทดลอง................................................................................ หนา 129 20 ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC กอนและหลัง การทดลอง..................................................................................................... 130 21 คะแนนพัฒนาหลังเรียนแตละแผนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่จัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC....................................................................... 132 22 พฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC ประเมินโดยครูผูสอน ................... 135 23 ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC......................................................... 138 24 คาดัชนีความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูทั้ง 5 แผนการจัดการเรียนรู........ 163 25 คาดัชนีความสอดคลองของแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม (ประเมินโดยครู) .............................................................................................. 168 26 คาดัชนีความสอดคลองของแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC......................................................... 169 27 คาดัชนีความสอดคลองของเกณฑการตรวจใหคะแนนการเขียนสรุปความ............. 170 28 คาดัชนีความสอดคลองของแบบทดสอบการพัฒนาผลการเรียนรูดานการอาน และการเขียนเพื่อการสื่อสาร............................................................................. 172 29 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบการพัฒนา ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสาร.................................... 173 30 ผลการเรียนรูดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC............ 175
  • 13. ฏ ตารางที่ 31 ผลการเรียนรูดานการอานเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนา กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC………………………....... 176 32 ผลการเรียนรูดานการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC.............................................. 177 33 ผลการเปรียบเทียบความสามารถดานการอานและการเขียนเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรู ดวยเทคนิค CIRC โดยการทดสอบคาที (t-test) แบบ dependent....................... 178 34 รายการปรับปรุงแกไขเครื่องมือ............................................................................... 180
  • 14. ฐ สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ หนา 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย..................................................................................... 17 2 ขั้นตอนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร................................................................. 48 3 แบบจําลองของแนวการสอนอานเพื่อการสื่อสาร............................................... 62 4 ปจจัยของการอานเชิงจิตวิทยา............................................................................. 71 5 องคประกอบของการเขียน.................................................................................. 77 6 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานและการเขียน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร....................................................................... 109 7 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการอานและการเขียน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร....................................................................... 117 8 สรุปขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัด การเรียนรูดวยเทคนิค CIRC....................................................................... 119 9 สรุปขั้นตอนการสรางแบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม.............................. 122 10 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค CIRC........................................................ 125
  • 15. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติมุงเนนความสําคัญทั้งดาน ความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสําคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองได สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ใหความสําคัญตอ ความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม และมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษย ที่สมบูรณเปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีความรูอันเปนสากล รูเทาทัน การเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกับสถานการณ (คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2542 : 1) กระแสพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสที่ ประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะหในพระบรมราชูปถัมภ นําคณะกรรมการ พรอมดวยคณะเขาเฝาฯ ทูลเกลาฯ ถวายเงินเพื่อสมทบทุน มูลนิธิราชประชานุเคราะหใน พระบรมราชูปถัมภ ณ ศาลาดุสิดาลัย วันจันทรที่ 27 พฤศจิกายน 2543 ความตอนหนึ่งวา “...การศึกษานี้สําคัญมากเพราะวาถาหากวาไมมีความรู แมจะมีความรูในขั้นพื้นฐาน คือ ความรู ในดานวิทยาการที่เรียกวาไมใชชั้นสูงมากนัก ก็ทําอะไรไมได เชน ในดานภาษาแมแตเพียง ภาษาไทย ถาไมเขาใจภาษาไทยก็จะสื่อกันไมได จะพูดกันไมได และจะทําอะไรไมได ยิ่งใน สมัยปจจุบัน จะตองทราบภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศแรก ๆ ก็คือภาษาอังกฤษ แลวก็ ตองสอนภาษาฝรั่งเศสดวย ภาษาเยอรมันดวย ภาษาญี่ปุนดวย. ฉะนั้น จะตองพัฒนาการศึกษา ใหดี. ถาพัฒนาการศึกษาใหดีแลว นักเรียน และผูที่จะเปนผูใหญในอนาคตก็จะสามารถใชวิชา ความรูที่มีอยูในโลกมาปฏิบัติสําหรับประเทศ...” (กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา 2550 : 181) การจัดการเรียนการสอนภาษาตางประเทศ นอกจากผูเรียนจะเรียนภาษาเพื่อความรู เกี่ยวกับภาษาแลว การเรียนภาษาตองสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารกับผูอื่นได ตามความตองการในสถานการณตาง ๆ ทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพ การที่ผูเรียนจะใช ภาษาไดถูกตองคลองแคลวและเหมาะสมนั้นขึ้นอยูกับทักษะการใชภาษา ดังนั้นการเรียนภาษาที่ดี ผูเรียนจะตองมีโอกาสไดฝกทักษะการใชภาษาใหมากที่สุด ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน 1
  • 16. 2 การจัดกระบวนการเรียนการสอนใหสอดคลองกับธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของการเรียนภาษา จึงควรประกอบไปดวยกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมการฝกทักษะทางภาษาและกิจกรรม การฝกผูเรียนใหรูวิธีการเรียนภาษาดวยตนเองควบคูไปดวยกันจะนําไปสูการเปนผูเรียนที่พึ่งตนเอง ได (Learner-independence) และสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ทั้งดาน ภาษาตางประเทศและใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือในการคนควาหาความรูในการเรียนวิชา อื่น ๆ ในการศึกษาตอ รวมทั้งในการประกอบอาชีพ ซึ่งเปนจุดหมายสําคัญอีกประการหนึ่งของ การปฏิรูปการเรียนรู (กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 1-2) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ไดกําหนดใหสาระภาษา ตางประเทศเปนสาระการเรียนรูพื้นฐานหนึ่งใน 8 กลุมสาระ และไดกําหนดสาระการเรียนรูไว 4 สาระ ประกอบดวย สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร หมายถึง การใชภาษาตางประเทศเพื่อทํา ความเขาใจแลกเปลี่ยน นําเสนอขอมูลขาวสาร แสดงความคิดเห็น เจตคติ อารมณและความรูสึก ในเรื่องตาง ๆ ทั้งที่เปนภาษาพูดและภาษาเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม หมายถึง ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู พฤติกรรมทางสังคม คานิยม ความเชื่อที่แสดงออกทางภาษา สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น หมายถึง ความสามารถในการใช ภาษาตางประเทศในการแสวงหาความรูที่สัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และสาระที่ 4 ภาษา กับความสัมพันธกับชุมชนโลก หมายถึง ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศภายในชุมชน และเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพและการเรียนรูตลอดชีวิต สาระการเรียนรูกลุมวิชา ภาษาตางประเทศเปนสาระการเรียนรูที่เสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษยและสรางศักยภาพใน การคิดและการทํางานอยางสรางสรรค เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคตาม จุดหมายของหลักสูตรการเรียนภาษาตางประเทศ ชวยใหผูเรียนมีวิสัยทัศนกวางไกลและเกิดความ มั่นใจในการที่จะสื่อสารกับชาวตางประเทศ รวมทั้งเกิดเจตคติที่ดีตอภาษาและวัฒนธรรม ตางประเทศ โดยยังคงความภาคภูมิใจในภาษาและวัฒนธรรมไทย การที่จะทําใหผูเรียนเกิดคุณภาพ และคุณธรรมจริยธรรมคานิยมที่ผูเรียนพึงมีถาจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปแลว ไวเปนกรอบ สําหรับแตละชวงชั้น โดยเฉพาะชวงชั้นที่ 3 (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3) ไดกําหนดไวดังนี้ 1) เขาใจ และใชภาษาตางประเทศในการแลกเปลี่ยนนําเสนอขอมูลขาวสาร สรางความสัมพันธระหวาง บุคคล แสดงความรูสึกนึกคิด และความคิดรวบยอดโดยใชน้ําเสียง ทาทาง ในรูปแบบที่เหมาะสม กับบุคคลและกาลเทศะ 2) มีทักษะในการใชภาษาตางประเทศในการพัง-พูด-อาน-เขียน ในหัวขอ เรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธกับบุคคล เวลาวางและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทองเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงศัพทประมาณ 2,100-2,250
  • 17. 3 (คําศัพทที่เปนนามธรรมมากขึ้น) 3) ใชประโยคผสม (Compound Sentence) และประโยคซับซอน (Complex Sentence) ที่ใชสื่อความหมายตามบริบทตาง ๆ ในการสนทนาทั้งที่เปนทางการและ ไมเปนทางการ 4) อาน เขียนขอความที่เปนความเรียงและไมเปนความเรียง ทั้งที่เปนทางการและ ไมเปนทางการ ที่มีตัวเชื่อมขอความ (Discourse Markers) 5) มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ วัฒนธรรม ทางภาษาและชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษาตามบริบทของขอความที่พบในแตละ ระดับชั้น 6) มีความรู ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศ สืบคนขอมูลความรูในวิชาอื่น ๆ ที่เรียนตามความสนใจและระดับชั้น และ 7) ฝกฝนการใชภาษาอังกฤษทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อการแสวงหาความรูเพิ่มเติมอยางตอเนื่อง หาความเพลิดเพลินและเปนพื้นฐานในการทํางาน และประกอบอาชีพ ในสังคมโลกปจจุบันการเรียนรูภาษาตางประเทศเปนสิ่งที่จําเปนที่เลี่ยงไมไดเพราะ ภาษามิใชเปนเพียงเครื่องมือในการศึกษาคนควาหาขอมูลที่ตองการและเพื่อการประกอบอาชีพ เทานั้น ยังสามารถใชเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร การเจรจาตอรองเพื่อการแขงขันและความ รวมมือทั้งทางดานเศรษฐกิจและการเมืองไดอยางมีประสิทธิภาพ การรูภาษาตางประเทศยังชวย สรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางคน เพราะมีความเขาใจวัฒนธรรมที่แตกตางกันของแตละเชื้อชาติ ทําใหสามารถปฏิบัติตนตอกันไดอยางถูกตองและเหมาะสม ซึ่งมีการกําหนดองคความรูและ กระบวนการเรียนรูที่จะเสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษย สรางศักยภาพในการคิดและการทํางาน อยางสรางสรรค จากกระแสการปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยในปจจุบันไดใหความสําคัญกับ ภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศขอมูลขาวสาร ตาง ๆ จากนานาประเทศ ประกอบกับ ประชาชนสวนใหญของโลกใชภาษาอังกฤษใน การติดตอสื่อสาร ดังนั้น จึงจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศไทยจะตองพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความสามารถในการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อใหเขาใจและสามารถเลือกรับสารสนเทศที่มี ประโยชน สามารถนําไปใชในการพัฒนาการเรียนรูดานตาง ๆ ใหเกิดประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลอง กับกระทรวงศึกษาธิการที่มุงเนนใหมีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษอยางมีคุณภาพ สามารถ นําไปใชไดจริงในยุคขอมูลขาวสาร ดังนั้น การศึกษาตั้งแตระดับประถมศึกษาขึ้นไปจึงมุงเนน เพื่อใหผูเรียนเรียนรูภาษาอังกฤษทั้งดานทักษะการฟง พูด อาน เขียน รวมทั้งสามารถ ติดตอสื่อสาร คนหาขาวสารและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการติดตอสื่อสารได อยางมีคุณภาพ จากความสําคัญของภาษาอังกฤษตามกําหนดของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 จึงทําใหทุกโรงเรียนเนนการเรียนการสอนดานภาษาอังกฤษเปนอยางมาก บางโรงเรียน
  • 18. 4 เปดสอนภาษาอังกฤษตั้งแตอนุบาลจนถึงอุดมศึกษา และมีการจางครูสอนภาษาอังกฤษที่เปน เจาของภาษามาสอนนักเรียน ซึ่งไดรับความนิยมจากนักเรียนและผูปกครองเปนอยางมาก โดย มุงเนนการเรียนทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง พูด อาน และเขียน เพื่อเปนการสรางพื้นฐานที่ดีและ สรางทักษะในการใชภาษาใหกับนักเรียนไทย สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางแทจริง (อารีย วาศนอํานวย 2545 : 4) และเพื่อใหสอดคลองกับความตองการและความจําเปนตอการพัฒนา ประเทศสังคมโลก ซึ่งรับรูวาภาษาอังกฤษมีประโยชนและเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสาร กับนานาประเทศ หลักสูตรภาษาอังกฤษจึงมีการเปลี่ยนแปลงในดานวัตถุประสงคการเรียน การสอนไปจากแนวการสอนเดิมที่เนนรูปแบบและหลักไวยากรณที่ถูกตอง ซึ่งจากการวัดผล ประเมินผลพบวาผูเรียนไมสามารถนําเอาความรูที่เรียนมาในโรงเรียน ตลอดจนมหาวิทยาลัย ไปใชไดจริง กอใหเกิดความสูญเปลาทางการเรียนการสอน จึงไดมีการเปลี่ยนแปลงจุดประสงค การเรียนรูเพื่อนําไปปฏิบัติไดในชีวิตจริง ใหผูเรียนสามารถใชภาษาอังกฤษในการติดตอสื่อสาร รับขอมูลขาวสารที่เปนภาษาอังกฤษไดเปนอยางดี และมีพื้นฐานภาษาอังกฤษที่เพียงพอในการที่จะ นําไปใชเปนเครื่องมือในการแสดงหาความรูทุกแขนง หรือสามารถนําไปเปนสวนประกอบใน การประกอบอาชีพ ดังนั้นจุดมุงหมายของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จึงมีจุดมุงหมายเพื่อการสื่อสาร ทั้งในดานการอานฟง พูด อาน เขียน ดังที่ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2535 : 106) กลาววาวิธีการสอน ตามแนวการสอนเพื่อการสื่อสารนี้มีพื้นฐานมาจากความคิดที่วาภาษาคือเครื่องมือในการสื่อสาร และเปาหมายของการสอนภาษา คือพัฒนาผูเรียนใหมีความสามารถในการสื่อสาร นอกจากนี้ กุลยา เบญจกาญจน (2531 : 22) ยังกลาวไววาการเรียนการสอนเพื่อการสื่อสารนั้น คือ การที่ นักเรียนไดมีโอกาสใชภาษาในชั้นเรียนมากกวาการสอนจากกฎเกณฑ ไวยากรณ ซึ่งจากจุดหมาย ดังกลาว ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนไดแสดงการใชภาษา โดยใช สถานการณตาง ๆ เขาชวยใหมาก โดยครูจะตองคํานึงถึงความสามารถในการสื่อความหมายให เขาใจมากกวา เนนที่รูปแบบแตจะตองเหมาะสมและเปนที่ยอมรับในสังคมดวย (Johnson and Morrow 1981) และที่สําคัญในการจัดการเรียนรูตองจัดใหครบทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน ซึ่งการฟง การอาน จัดเปนทักษะในการรับสาร การพูด และการเขียน จัดเปนทักษะการสงสาร การรับสงสารจะตองเกี่ยวของกับบุคคลอยางนอย 2 ฝาย คือ ฝายรับสาร และฝายสงสาร ซึ่งถาทั้งสองฝายหรือฝายหนึ่งฝายใดขาดทักษะอยางใดอยางหนึ่งหรือขาดทั้ง 4 ทักษะ จะไมสามารถสื่อสารกันไดเขาใจ ดังนั้นการเรียนรูภาษาเพื่อใหใชไดจริงใน ชีวิตประจําวัน จึงตองมีการพัฒนาทักษะทั้ง 4 ไปพรอม ๆ กัน ในการเรียนภาษาอังกฤษนั้น ทักษะที่จําเปนและสําคัญในยุคขอมูลขาวสารมากที่สุดคือ ทักษะการอาน เพราะการอานเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูไดดวยตนเองจากสิ่งสื่อพิมพ
  • 19. 5 หรือสื่อเทคโนโลยี เชน อินเตอรเน็ต การที่จะไดรับสารจากแหลงสื่อสารเหลานี้ไดตองอาศัย ทักษะการอานทั้งสิ้น ผูที่มีความสามารถในการอานดียิ่งมีโอกาสหาความรูจากแหลงสื่อตาง ๆ ได มากกวาผูที่มีความสามารถในการอานนอย ดังนั้น การอานจึงเปนเครื่องมือสําคัญในการเรียนรู ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน (สุรศักดิ์ กาญจนการรุณ 2531 : 1, อางถึงใน ปยวรรณ ศิริรัตน 2543 : 2) และสุมิตรา อังวัฒนกุล (2535) ยังไดกลาวไววา การเรียนการสอนภาษาอังกฤษนั้น ทักษะการอานเปนทักษะที่ควรไดรับการสงเสริมเปนอยางมาก เพราะเปนทักษะที่คงอยูในตัว ผูเรียนไดนานที่สุด ผูเรียนมีโอกาสไดใชนานที่สุด และใชไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต เพราะเปน ทักษะที่ชวยใหผูเรียนสามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเองตลอดเวลา และการอานยังเปน ทักษะที่ตองใชมากที่สุดในชีวิตประจําวัน ทั้งใชในการศึกษา การทํางาน เพราะการอานทําใหชีวิต เกิดการพัฒนา กูดแมน (Goodman 1970 : 27) กลาววา การอานชวยใหนักเรียนไดพัฒนาสมอง ความคิดเพราะการอานเปนกระบวนการในการหาความหมาย และการทําความเขาใจกับ บทอาน เปนกระบวนการที่ตองคิดตลอดเวลา การสอนอานภาษาอังกฤษใหแกนักเรียนที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษต่ํานั้น ครูควรเลือกใชบทอานหรือสื่อการเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษที่ประกอบดวยการใช โครงสรางทางภาษาและการหาความหมายของคําศัพทดวย เพราะความรูในเรื่องดังกลาว เปน องคประกอบสําคัญที่จะชวยใหผูอานประสบความสําเร็จในการอานเพื่อความเขาใจได (Wiseman 1922 : 2) แตปญหาที่พบเสมอ คือ นักเรียนกลุมออนจะไมสามารถชวยเหลือตนเองไดในเรื่อง เหลานี้ ดังที่ ฮาดเลย (Hadley 1996 : 195-200) ไดกลาวไววา การฝกหัดทักษะการอานยังเปนเรื่อง จําเปนสําหรับนักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองหรือภาษาตางประเทศ แตการสอนทักษะ การอานควรสอนหลังจากที่นักเรียนไดอานเนื้อหาทั้งหมดไปแลว และสอนเฉพาะทักษะหรือ โครงสรางทางภาษาและการหาความหมายของคําศัพทที่จําเปนตอการอานเนื้อหาในแตละที่เรียน เทานั้น นอกจากทักษะการอานแลวทักษะที่จําเปนและสําคัญอีกทักษะหนึ่ง คือ ทักษะเขียน เพราะทักษะเขียนเปนทักษะที่จําเปนในการศึกษาที่สูงขึ้น ซึ่งผูเรียนจะตองฝกฝนเพื่อใชประโยชน ในการจดบันทึก หรือเขียนรายงานตาง ๆ ซึ่งเปนสิ่งที่ตองนําไปประยุกตใชในการดําเนิน ชีวิตประจําวันตลอดจนการประกอบอาชีพ (Paulston 1976 : 204, อางถึงใน ปยวรรณ ศิริรัตน 2543 : 2) เนื่องจากผูเรียนตองใชทักษะการเขียนควบคูไปกับการฝกฟงจากคําบรรยายหรือเขียนยอขอมูล ตาง ๆ จากการอาน การศึกษาวิชาตาง ๆ เพื่อความเขาใจ ดังนั้นทักษะการอานจึงเปนทักษะที่มี ความสัมพันธกับทักษะเขียน ดังที่ เสาวลักษณ รัตนวิชช (2531 : 84, อางถึงใน ปยวรรณ ศิริรัตน 2543 : 2) ไดกลาวไววา ผูที่อานไดดียอมจะเปนผูที่เขียนไดดี เพราะประสบการณในการตีความ
  • 20. 6 และไดขอมูลจากสัญลักษณหรือตัวอักษรมากเพียงพอ ซึ่งถือวาเปนปจจัยที่สําคัญ ทักษะการเขียน จึงควรนํามาพัฒนาคูกับทักษะการอาน เพราะการไดมองเห็นขอความประโยคดวยการเขียน ของตนเองยอมชวยใหจําไดดีกวาอานผานตาเพียงอยางเดียว และถาผูอานไดรับประสบการณใน การอานอยางถูกตองเหมาะสมควบคูกับการฝกเขียน และยังพบวาทักษะการอานและการเขียน มีความสัมพันธกันในทางบวก เพราะคุณภาพของงานเขียนมีความสัมพันธกับประสบการณใน การอานของผูเขียน คือคนที่มีความสามารถในการอาน ดีก็สามารถเขียนไดดีดวย (Stotsky 1983 : 627-628, อางถึงใน อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 3) การใหขอมูลทางภาษาดานการอานจะมีผล ตอการพัฒนาความสามารถของผูเรียนทั้งดานการอานและ การเขียน เชนเดียวกับการใหขอมูลทาง ทักษะดานการเขียนจะมีผลตอการพัฒนาความสามารถของผูเรียน ทั้งดานการอานและการเขียน (อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 3) ปญหาทางดานการสอนเขียนนั้น พบวา ครูใหนักเรียนฝกทักษะการเขียนนอยมาก เพราะกลัวชา สอนไมทันเวลา และจํานวนนักเรียนในชั้นเรียนที่มากเกินไปก็เปนอุปสรรค เมื่อ นักเรียนไมไดฝกเขียนโดยตรงและใชเวลาฝกเขียนนอยมากทําใหเกิดปญหา ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ ธนาลัย ตปนีย (2535 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและทักษะทางสังคมดวยเทคนิคการเรียนแบบรวมมือกัน กับการเรียนแบบปกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา ทักษะการอานและการเขียนเปน ปญหาและอุปสรรคในการเรียนของนักเรียนมากที่สุด การสอนอานและเขียนควรฝกควบคูกันไป เชนเดียวกับการฟงและการพูด ทักษะการเขียนเปนการนําภาษามาใชเชนเดียวกับทักษะการพูด แตการเขียนเปนทักษะ ที่มีขั้นตอนซับซอนกอนที่จะเขียนได เพราะตองใชความคิดในการผลิตภาษานานกวาทักษะการฟง การพูด และการอาน นอกจากนั้นการสงสารโดยการเขียนเปนการกระทําฝายเดียว เพราะผูอาน และผูเขียนไมไดกําลังเผชิญหนากันอยู เมื่อผูอานไมเขาใจหรือเขาใจผิดไปจากจุดประสงคที่ผูเขียน ตองการสื่อ ผูเขียนไมมีโอกาสอธิบายเพื่อทําความเขาใจใหตรงกัน ซึ่งตางจากทักษะการฟง และ การพูด เพราะผูสงสารและผูรับสารเผชิญหนากัน เมื่อผูฟงไมเขาใจ ผูพูดสามารถอธิบายชี้แจงทํา ความเขาใจใหตรงกันได ซึ่ง บอรน (Byrne 1982 : 1, อางถึงใน กันตดนัย วรจิตติพล 2542 : 2 ) กลาววา การเขียนเปนการถายทอดความคิด ทักษะการเขียนเปนทักษะที่มีความซับซอนมาก ซึ่ง ผูเรียนตองอาศัยทักษะทางกายภาพและกระบวนการทางการคิดไปสูภาษา นอกจาก บอรน (Byrne) ยังสรุปวาทักษะการเขียนเปนทักษะที่ยาก เนื่องจากการเขียนปราศจากการปฏิสัมพันธและผล ยอนกลับระหวางผูอานและผูเขียน ในการเขียนผูเขียนตองใชภาษาที่มีความชัดเจนและถูกตองตาม ไวยากรณ เพื่อสื่อสารใหผูอื่นเขาใจไดอยางชัดเจน และการเขียนนั้นผูเขียนไมสามารถใชกริยา
  • 21. 7 ทาทางและน้ําเสียงประกอบได ผูเขียนจึงตองมีความสามารถอยางแทจริงในทุก ๆ เรื่อง จึงจะ สามารถถายทอดความคิด ความรูสึกใหผูอานเขาใจได (พิตรวัลย โกวิทวที 2529 : 30) นอกจากนี้ วิดโดสัน (Widdowson 1978 : 27, อางถึงใน บัญชา อึ้งสกุล ม.ป.ป. : 17) ยังไดกลาวถึงการเขียน ไววา การเขียนคือการเรียบเรียงความคิดอยางมีจุดหมาย เพื่อการติดตอสื่อสารระหวางผูเขียนและ ผูอาน การเขียนไมใชการนําประโยคมาเรียงตอกันเทานั้น ผูเขียนตองเรียบเรียงประโยคใหเปน ขอความที่สามารถสื่อสารและทําใหผูอานเขาใจแนวความคิดทางขอความนั้น ๆ ซึ่งเปน กระบวนการที่ผูเขียนตองถายทอดความคิด ความรูของตนออกมาใหผูอื่นเขาใจเหมือนผูเขียน ซึ่งจะตองอาศัยความรูดานการใชคําศัพท การใชถอยคําสํานวนที่สละสลวย ตลอดจนพื้นฐานดาน วิจารณญาณและจินตนาการดวย ซึ่งสอดคลองกับที่ ลาโด (Lado 1957, อางถึงใน บัญชา อึ๋งสกุล ม.ป.ป. : 17) ไดกลาวถึงองคประกอบการเขียนวาผูเขียนจะตองมีความรูเรื่องโครงสรางไวยากรณ การสะกดคําและเครื่องหมายวรรคตอน ในทํานองเดียวกับ ไบรท (Bright 1970 : 236, อางถึงใน บัญชา อึ้งสกุล ม.ป.ป. : 17) ไดสรุปวา ไวยากรณเปนสิ่งสําคัญมากเชนกันและเปนปจจัยที่ชวยสื่อ ความคิดกับผูอานได ทั้งยังเปนเครื่องแสดงระดับความสามารถในการเขียนของผูเขียนอีกดวย เนื่องจากการอานและการเขียนเปนทักษะที่สงเสริมซึ่งกันและกันดังกลาว ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนภาษาที่ดีจึงควรเปดโอกาสใหผูเรียนใชทักษะทั้ง 4 ดาน เพื่อใหเกิด ความรอบรูมากขึ้น เพราะถานักเรียนมีทักษะการอานที่ดี ทักษะการเขียนก็จะดีตามไปดวย การจะพัฒนาทักษะทางภาษาใหมีคุณภาพที่ดีตองอาศัยการฝกฝน ดวยเหตุนี้การเรียนการสอนภาษา ควรจะจัดกิจกรรมที่สงเสริมใหมีการฝกฝนทักษะตาง ๆ เพื่อสงเสริมซึ่งกันและกัน โดยชานาฮาน และโลแมกซ (Shanahan and Lomax 1988 : 196) ไดดําเนินการศึกษาเพื่ออธิบายถึงความรู ซึ่งเปน ผลมาจากความสําเร็จของการโยงความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน เพื่อนําผลที่ไดมา ประเมินความสัมพันธดังกลาวพบวา การอานและการเขียนมีอิทธิพลในการเรียนรูซึ่งกันและกัน โดยมีความสัมพันธกันในระดับที่สูงมาก จากผลการวิจัยของนักการศึกษาเชนนี้ จึงสรุปไดวา การอานและการเขียนมีความสัมพันธกัน การสอนอานและเขียนจึงควรสอนควบคูกัน โดยครูสอน การอานเพื่อใหนักเรียนสามารถที่จะดึงขอมูลของเรื่องที่อานไปใชเปนขอมูลในการเขียน เพื่อ รายงานใหผูอื่นทราบไดอยางถูกตอง แนวทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ใหความสําคัญดานกระบวนการเรียนรูควบคูไปกับการนําวิธีการเรียนรูรวมกันมาใชในการ สอนกระบวนการอานสอดคลองกับแนวทางการสอนอาน การสอนอานใหความสําคัญการอาน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กิจกรรมกอนอาน (Pre – Reading Activities) ผูสอนสามารถทํากิจกรรมที่จะ กระตุนผูเรียนใหเกิดความอยากรู และสนใจตอสิ่งที่กําลังจะอานโดยสรางโครงสรางความรูเดิม
  • 22. 8 กระตุนใหผูเรียนระลึกถึงความรูเดิม ประสบการณเดิมเกี่ยวกับเรื่องที่กําลังจะอานและสราง แนวทางในการคิด หาความรูใหมโดยใชสื่อการเรียนการสอนตาง ๆ เชน เกม เพลง การสาธิต การ แสดงใบ ในขั้นที่ 2 เปนการจัดกิจกรรมขณะอาน (While-Reading Activities) เปนการนําเสนอ เรื่องที่จะอานเปนครั้งแรก ซึ่งสามารถอานไดทั้งแบบออกเสียง และอานในใจ ขั้นตอนนี้มีจุดใหญ ตรงสรางกระบวนการคิดดวยวิธีตาง ๆ วิธีที่งายที่สุดก็คือ การตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ ของผูเรียน คําถามนั้นจะตองใชเวลาเพียงพอในการคิดหาคําตอบไดดวยตนเอง และการถาม จะตองใชรูปแบบในการถามถึงขอมูลยอนกลับและความรูเพิ่มขึ้นทีละนิด ใชคําย้ําเพื่อตรวจสอบ ความเขาใจเปนระยะ และขั้นที่ 3 กิจกรรมหลังอาน (Post-Reading Activities) เปนขั้นตอนสุดทาย ของการสอนอาน มีจุดประสงคเพื่อย้ําความเขาใจของเรื่องที่อานใหมากขึ้น และสรางความ ประทับใจดวยกิจกรรมที่สนุกสนาน และเนนเรื่องการแสดงออกถึงความเขาใจในสิ่งที่เรียน และ หลังกิจกรรมการอานแลว นักเรียนควรถายโอนความรูความเขาใจไปสู การเขียน ซึ่งทักษะการ เขียนเปนทักษะที่ซับซอนตองอาศัยความรูหลายดานประกอบกัน การเขียนโดยทั่วไปประกอบดวย เนื้อหาสาระที่จะใชเขียน (Content) รูปแบบ คือ การเรียงลําดับเนื้อหา (Form) ไวยากรณ (Grammar) ไดแก การใชโครงสรางทางไวยากรณที่ถูกตอง สื่อความหมายได ลีลาในการเขียน (Style) คือการเลือกโครงสราง เลือกคํา และสํานวนตาง ๆ ของภาษาที่ใชเขียน และกลไกในการ เขียน (Mechanics) ไดแก การใชสัญลักษณตาง ๆ ของภาษา เชน การใชเครื่องหมายวรรคตอน และการสะกดคําใหถูกตองตามแบบแผนของภาษานั้น ๆ กลาวโดยสรุป จุดมุงหมายของการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ชวงชั้นที่ 3 เนนใหผูเรียนเขาใจและใชภาษาตางประเทศในการแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสาร เปนไปเพื่อการสื่อสาร และทักษะที่ผูเรียนจะตองใชมากคือการอานและการเขียน ขอความ เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวันและเปนพื้นฐานในการทํางานและประกอบอาชีพ อยางไร ก็ตามการเรียนการสอนอานและเขียนภาษาอังกฤษที่ผานมายังไมเปนที่นาพอใจ ไมไดผลเทาที่ควร เพราะนักเรียนไมสามารถนําไปประยุกตใชไดจริงในชีวิตประจําวัน และจากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ในระดับประเทศ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาถึงระดับโรงเรียน พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาอังกฤษทุกระดับชั้นยังอยูในเกณฑที่ไมนาพอใจ ดังเชน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 (NT) ทั่วประเทศ ปการศึกษา 2549-2550 มีคะแนนเฉลี่ย 30.85 และ 28.68 ตามลําดับ ซึ่งจัดอยูในระดับต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไวรอยละ 50.00 จากรายงานการประเมิน คุณภาพนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2549-2550 พบวาจํานวนรอยละของนักเรียนที่ อยูในระดับปรับปรุงจํานวนมากที่สุด (สํานักทดสอบทางการศึกษา, กรมวิชาการ 2549-2550) โรงเรียนหนองโพวิทยา อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เปนโรงเรียนมัธยมขนาดเล็ก สังกัด