SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
1

เรือง
   ่                  การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่   4/1

ความสำาคัญและที่มา
         ความเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่                เป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้คนในสังคมต้อง
ปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการศึกษาต้องปรับปรุงเพื่อให้คนมี
ความรู้ความสามารถให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ้น ด้วยเหตุนี้นักการศึกษาจึงได้พยายามปรับปรุง
                                                              ่
หลักสูตรในระดับต่าง ๆ ให้ได้มาตรฐาน เพื่อเป็นหลักในการนำาไปใช้แก้ปัญหาและดำาเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา
         คณิตศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งที่มีความสำาคัญและจำาเป็นสำาหรับมนุษย์มาก โดยเฉพาะในส่วนที่จะนำาไปใช้ประโยชน์
ในการดำาเนินชีวิต เพราะคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สร้างสรรค์จิตใจของมนุษย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความคิด กระบวนการและ
เหตุผล คณิตศาสตร์ฝกให้คนคิดอย่างมีระบบ ระเบียบและเป็นรากฐานของวิทยาการสาขาต่าง ๆ แต่คณิตศาสตร์มี
                         ึ
ลักษณะเป็นนามธรรม เนื้อหาบางตอนก็ยากทีครูจะอธิบายให้นักเรียนเข้าใจและไม่เบื่อหน่าย ตลอดจนช่วยให้นักเรียนมี
                                               ่
ความเจริญงอกงามทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
         อย่างไรก็ตามองค์ประกอบหนึ่งที่นับว่าสำาคัญคือ เจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เจตคติต่อวิชามีบทบาท
สำาคัญในอันที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ กล่าวคือนักเรียนจะสามารถเรียนรู้วิชาใด ๆ ได้ดีขึ้นหากนักเรียนมีเจตคติที่ดต่อ
                                                                                                                   ี
วิชานั้น ๆ ดังนั้นนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีตอวิชาใด ย่อมทำาให้การเรียนวิชานั้นไม่ประสบผลสำาเร็จเท่าที่ควร นักเรียนที่มี
                                           ่
เจตคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์กจะทำาให้การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ประสบผลสำาเร็จ เพราะจะทำาให้นักเรียนไม่สนใจไม่
               ่                  ็
ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์        ไม่เห็นคุณค่าของวิชาคณิตศาสตร์และเห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์น่าเบื่อ
หน่าย ลักษณะของนักเรียนที่เรียนอ่อนคณิตศาสตร์ มักจะมีเจตคติทางลบต่อวิชาคณิตศาสตร์ คิดว่าตนเป็นผู้ล้มเหลว
เสมอ ไม่ชอบเข้าชั้นเรียน ไม่ชอบทำางาน ชอบรบกวนนักเรียนคนอื่น เบื่อหน่ายการเรียน อยากหนีโรงเรียน ซึ่งสิ่งเหล่านี้
มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งสิ้น ดังนั้น การที่นกเรียนจะเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีขึ้น นักเรียนจะต้องมีเจตคติทดีตอ
                                                      ั                                                         ี่ ่
วิชาคณิตศาสตร์


จุดมุ่งหมาย
           1. เพือศึกษาเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
                 ่            ่




ตัวแปรที่ศกษา
          ึ
           1. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์
                     ่


นิยามศัพท์เฉพาะ
        เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่พึงพอใจต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังจากมี
                ่
ประสบการณ์ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์และเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สนองตอบต่อคณิตศาสตร์
ไปในทางใดทางหนึ่งหรือลักษณะใดลักษณะหนึ่ง


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
           1.     นักเรียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์อย่างไร


ขอบเขตของการวิจัย
           ในการวิจัยครั้งนี้ได้ใช้ประชากรเป็นนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญระยองชั้นมัธยมศึกษาปีที่   4/1   ทีศึกษาในภาค
                                                                                                          ่
เรียนที่   2   ปีการศึกษา   2546   จำานวน   48   คน


วิธีดำาเนินการวิจัย
           1. ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
2

            2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
            3. ดำาเนินการจัดทำาเครืองมือแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์
                                   ่
            4. ดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
            5. สรุปผลการวิจัย

            ตารางการวิจัย
                         ขั้นตอนการดำาเนินการ                           ระยะเวลาในการทำาวิจัย
  1.    ศึกษาสภาพปัญหา                                          พฤศจิกายน   2546
  2.    ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์
                                      ่                         ธันวาคม 2546
  3.    ดำาเนินสร้างเครื่องมือ                                  มกราคม 2547
  4.    เก็บรวบรวมข้อมูล                                        กุมภาพันธ์ 2547
  5.    สรุปผลการวิจัย                                          มีนาคม 2547




เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
     1. แบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่าแบบลิเคิร์ท 5 ระดับ
                     ่
(Likert Scale) จำานวน 30 ข้อซึ่งมีข้อที่ 17,18,19,22,23,24 และ 30 ที่เป็นข้อความทางลบ
            เกณฑ์ในการวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
                                ่
            นักเรียนที่ได้คะแนน 30 – 90 คะแนน หมายความว่า นักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์
                                                                                   ่
            นักเรียนที่ได้คะแนน 91 – 150 คะแนน หมายความว่า นักเรียนมีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์
                                                                                 ี


ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
         - ตาราง,แผนภูมิ การนำาเสนอข้อมูล
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนที่ได้จากการวัดเจตคติของนักเรียน
    คนที่           คะแนน          คนที่        คะแนน        คนที่      คะแนน         คนที่      คะแนน
   1                80             13           83           25         92            37         87
   2                112            14           71           26         111           38         89
   3                76             15           71           27         101           39         123
   4                94             16           92           28         82            40         110
   5                86             17           88           29         86            41         123
   6                105            18           79           30         88            42         79
   7                88             19           111          31         108           43         93
   8                103            20           97           32         91            44         109
   9                94             21           105          33         92            45         113
   10               98             22           88           34         109           46         114
3

   11               106           23          104             35           107             47            122
   12               94            24          94              36           116             48            135

           จากตารางที่1 แสดงให้เห็นถึงคะแนนเจตคติของนักเรียนโดยที่คนที่ 1 – 12 เป็นนักเรียนหญิง และมี
คะแนนเจตคติ 30 – 90 คะแนน จำานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ที่มีเจตคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์
                                                                                    ่
ส่วนนักเรียนหญิงที่ได้คะแนน 90 – 100 คะแนน จำานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ที่มีเจตคติทดีตอวิชา
                                                                                              ี่ ่
คณิตศาสตร์
            13 – 48 เป็นนักเรียนชาย โดยที่นกเรียนชายที่ได้คะแนนเจตคติ 30 – 90 คะแนน จำานวน
           คนที่                              ั
12 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ทีมีเจตคติที่ไม่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ ส่วนนักเรียนชายที่ได้คะแนน 91 – 100
                               ่           ี
คะแนน จำานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ที่มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์
                                                     ี่ ่


ตารางที่ 2 แสดงคะแนนที่ได้จากแบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์
                                          ่
                    จำานวน(ร้อยละ)
                                                    ค่าเฉลี่ย                      ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
นักเรียนชาย
                        36(75)                     98.97                                  15.56
นักเรียนหญิง
                        12(25)                     94.67                                  10.87
ทั้งหมด
                       48(100)                     97.90                                  14.54

                   1 แสดงให้เห็นถึงจำานวนนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 48
           จากตารางที่                                                               คน แบ่งเป็นนักเรียนชาย    36
คน คิดเป็นร้อยละ 75 นักเรียนหญิง 12 คน คิดเป็นร้อยละ 25
           คะแนนที่ได้จากแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ   97.90
คะแนน โดยนักเรียนชายมีค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติเท่ากับ      98.97      คะแนน และนักเรียนหญิงมีค่าเฉลี่ยของคะแนน
เจตคติเท่ากับ      94.67   คะแนน ซึ่งนักเรียนชายมีคะแนนเจตคติสูงกว่านักเรียนหญิง
           เมือเทียบกับเกณฑ์คะแนนเจตคติ
              ่                           30 – 90       คะแนน เป็นผู้ที่มีเจตคติที่ไม่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ และ
                                                                                       ี                       91
– 150   คะแนนเป็นผู้ที่มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์ ทำาให้สรุปได้ว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีเจตคติทดีตอวิชา
                                 ี่ ่                                                             ี่ ่
คณิตศาสตร์ เมือแบ่งตามเพศ ทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชายต่างก็มีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกัน
              ่                                                            ี
                                                                  14.54 คะแนน โดยนักเรียนชายมี
           ส่วนการกระจายของคะแนนเจตคติของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีค่าเท่ากับ
การกระจายเท่ากับ 15.56 คะแนน ส่วนนักเรียนหญิงมีการกระจายเท่ากับ 10.87 คะแนน ซึ่งนักเรียนชายมีการก
ระจายของคะแนนเจตคติมากกว่านักเรียนหญิง


สรุปผล
         ผลจากการศึกษาเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม
                             ่                                     .4/1
                                                                     นักเรียนมีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์
                                                                                         ี
เมือแบ่งตามเพศหญิงและชาย นักเรียนหญิงและนักเรียนชายต่างก็มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกันโดย
   ่                                                              ี่ ่
พิจารณาจากค่าเฉลี่ยที่ได้


ข้อคิดที่ได้จากการวิจัย
          นักเรียนมีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ทำาให้นักเรียนไม่รู้สกเบื่อหน่ายและเห็นคุณค่าของวิชาคณิตศาสตร์ซึ่ง
                              ี                                     ึ
เมือนักเรียนมีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์แล้วนักเรียนจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์ได้ดี
   ่                   ี่ ่
4

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)Pinmanas Kotcha
 

Mais procurados (20)

โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
 

Semelhante a การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน

กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้supamit jandeewong
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 krurutsamee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 

Semelhante a การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน (20)

กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
รวมบท
รวมบทรวมบท
รวมบท
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
ชุดที่ 6
ชุดที่ 6 ชุดที่ 6
ชุดที่ 6
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Mais de ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 

Mais de ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า (8)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 

การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน

  • 1. 1 เรือง ่ การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ความสำาคัญและที่มา ความเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้คนในสังคมต้อง ปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการศึกษาต้องปรับปรุงเพื่อให้คนมี ความรู้ความสามารถให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ้น ด้วยเหตุนี้นักการศึกษาจึงได้พยายามปรับปรุง ่ หลักสูตรในระดับต่าง ๆ ให้ได้มาตรฐาน เพื่อเป็นหลักในการนำาไปใช้แก้ปัญหาและดำาเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา คณิตศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งที่มีความสำาคัญและจำาเป็นสำาหรับมนุษย์มาก โดยเฉพาะในส่วนที่จะนำาไปใช้ประโยชน์ ในการดำาเนินชีวิต เพราะคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่สร้างสรรค์จิตใจของมนุษย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความคิด กระบวนการและ เหตุผล คณิตศาสตร์ฝกให้คนคิดอย่างมีระบบ ระเบียบและเป็นรากฐานของวิทยาการสาขาต่าง ๆ แต่คณิตศาสตร์มี ึ ลักษณะเป็นนามธรรม เนื้อหาบางตอนก็ยากทีครูจะอธิบายให้นักเรียนเข้าใจและไม่เบื่อหน่าย ตลอดจนช่วยให้นักเรียนมี ่ ความเจริญงอกงามทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม อย่างไรก็ตามองค์ประกอบหนึ่งที่นับว่าสำาคัญคือ เจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เจตคติต่อวิชามีบทบาท สำาคัญในอันที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ กล่าวคือนักเรียนจะสามารถเรียนรู้วิชาใด ๆ ได้ดีขึ้นหากนักเรียนมีเจตคติที่ดต่อ ี วิชานั้น ๆ ดังนั้นนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีตอวิชาใด ย่อมทำาให้การเรียนวิชานั้นไม่ประสบผลสำาเร็จเท่าที่ควร นักเรียนที่มี ่ เจตคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์กจะทำาให้การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ประสบผลสำาเร็จ เพราะจะทำาให้นักเรียนไม่สนใจไม่ ่ ็ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ ไม่เห็นคุณค่าของวิชาคณิตศาสตร์และเห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์น่าเบื่อ หน่าย ลักษณะของนักเรียนที่เรียนอ่อนคณิตศาสตร์ มักจะมีเจตคติทางลบต่อวิชาคณิตศาสตร์ คิดว่าตนเป็นผู้ล้มเหลว เสมอ ไม่ชอบเข้าชั้นเรียน ไม่ชอบทำางาน ชอบรบกวนนักเรียนคนอื่น เบื่อหน่ายการเรียน อยากหนีโรงเรียน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งสิ้น ดังนั้น การที่นกเรียนจะเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีขึ้น นักเรียนจะต้องมีเจตคติทดีตอ ั ี่ ่ วิชาคณิตศาสตร์ จุดมุ่งหมาย 1. เพือศึกษาเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ่ ่ ตัวแปรที่ศกษา ึ 1. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ ่ นิยามศัพท์เฉพาะ เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่พึงพอใจต่อวิชาคณิตศาสตร์หลังจากมี ่ ประสบการณ์ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์และเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สนองตอบต่อคณิตศาสตร์ ไปในทางใดทางหนึ่งหรือลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนมีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์อย่างไร ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ได้ใช้ประชากรเป็นนักเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญระยองชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ทีศึกษาในภาค ่ เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 จำานวน 48 คน วิธีดำาเนินการวิจัย 1. ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
  • 2. 2 2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ 3. ดำาเนินการจัดทำาเครืองมือแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ่ 4. ดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. สรุปผลการวิจัย ตารางการวิจัย ขั้นตอนการดำาเนินการ ระยะเวลาในการทำาวิจัย 1. ศึกษาสภาพปัญหา พฤศจิกายน 2546 2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ ่ ธันวาคม 2546 3. ดำาเนินสร้างเครื่องมือ มกราคม 2547 4. เก็บรวบรวมข้อมูล กุมภาพันธ์ 2547 5. สรุปผลการวิจัย มีนาคม 2547 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่าแบบลิเคิร์ท 5 ระดับ ่ (Likert Scale) จำานวน 30 ข้อซึ่งมีข้อที่ 17,18,19,22,23,24 และ 30 ที่เป็นข้อความทางลบ เกณฑ์ในการวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ่ นักเรียนที่ได้คะแนน 30 – 90 คะแนน หมายความว่า นักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์ ่ นักเรียนที่ได้คะแนน 91 – 150 คะแนน หมายความว่า นักเรียนมีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ ี ผลการวิเคราะห์ข้อมูล - ตาราง,แผนภูมิ การนำาเสนอข้อมูล ตารางที่ 1 แสดงคะแนนที่ได้จากการวัดเจตคติของนักเรียน คนที่ คะแนน คนที่ คะแนน คนที่ คะแนน คนที่ คะแนน 1 80 13 83 25 92 37 87 2 112 14 71 26 111 38 89 3 76 15 71 27 101 39 123 4 94 16 92 28 82 40 110 5 86 17 88 29 86 41 123 6 105 18 79 30 88 42 79 7 88 19 111 31 108 43 93 8 103 20 97 32 91 44 109 9 94 21 105 33 92 45 113 10 98 22 88 34 109 46 114
  • 3. 3 11 106 23 104 35 107 47 122 12 94 24 94 36 116 48 135 จากตารางที่1 แสดงให้เห็นถึงคะแนนเจตคติของนักเรียนโดยที่คนที่ 1 – 12 เป็นนักเรียนหญิง และมี คะแนนเจตคติ 30 – 90 คะแนน จำานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ที่มีเจตคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์ ่ ส่วนนักเรียนหญิงที่ได้คะแนน 90 – 100 คะแนน จำานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ที่มีเจตคติทดีตอวิชา ี่ ่ คณิตศาสตร์ 13 – 48 เป็นนักเรียนชาย โดยที่นกเรียนชายที่ได้คะแนนเจตคติ 30 – 90 คะแนน จำานวน คนที่ ั 12 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ทีมีเจตคติที่ไม่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ ส่วนนักเรียนชายที่ได้คะแนน 91 – 100 ่ ี คะแนน จำานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 ที่มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์ ี่ ่ ตารางที่ 2 แสดงคะแนนที่ได้จากแบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ ่ จำานวน(ร้อยละ) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นักเรียนชาย 36(75) 98.97 15.56 นักเรียนหญิง 12(25) 94.67 10.87 ทั้งหมด 48(100) 97.90 14.54 1 แสดงให้เห็นถึงจำานวนนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 48 จากตารางที่ คน แบ่งเป็นนักเรียนชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 75 นักเรียนหญิง 12 คน คิดเป็นร้อยละ 25 คะแนนที่ได้จากแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 97.90 คะแนน โดยนักเรียนชายมีค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติเท่ากับ 98.97 คะแนน และนักเรียนหญิงมีค่าเฉลี่ยของคะแนน เจตคติเท่ากับ 94.67 คะแนน ซึ่งนักเรียนชายมีคะแนนเจตคติสูงกว่านักเรียนหญิง เมือเทียบกับเกณฑ์คะแนนเจตคติ ่ 30 – 90 คะแนน เป็นผู้ที่มีเจตคติที่ไม่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ และ ี 91 – 150 คะแนนเป็นผู้ที่มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์ ทำาให้สรุปได้ว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีเจตคติทดีตอวิชา ี่ ่ ี่ ่ คณิตศาสตร์ เมือแบ่งตามเพศ ทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชายต่างก็มีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกัน ่ ี 14.54 คะแนน โดยนักเรียนชายมี ส่วนการกระจายของคะแนนเจตคติของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีค่าเท่ากับ การกระจายเท่ากับ 15.56 คะแนน ส่วนนักเรียนหญิงมีการกระจายเท่ากับ 10.87 คะแนน ซึ่งนักเรียนชายมีการก ระจายของคะแนนเจตคติมากกว่านักเรียนหญิง สรุปผล ผลจากการศึกษาเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม ่ .4/1 นักเรียนมีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ ี เมือแบ่งตามเพศหญิงและชาย นักเรียนหญิงและนักเรียนชายต่างก็มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกันโดย ่ ี่ ่ พิจารณาจากค่าเฉลี่ยที่ได้ ข้อคิดที่ได้จากการวิจัย นักเรียนมีเจตคติที่ดต่อวิชาคณิตศาสตร์ทำาให้นักเรียนไม่รู้สกเบื่อหน่ายและเห็นคุณค่าของวิชาคณิตศาสตร์ซึ่ง ี ึ เมือนักเรียนมีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร์แล้วนักเรียนจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์ได้ดี ่ ี่ ่
  • 4. 4