SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 276
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
พระพุทธศาสนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คาแนะนาในการใช้ PowerPoint
กดปุ่ ม Slide Show ที่แถบด้านบนหรือด้านล่าง
กดปุ่ ม Esc ยกเลิกคาสั่งหรือออกจาก Slide Show
-
-
กดปุ่ มลูกศรหรือคลิกส่วนใดในหน้า Slide
เพื่อเลื่อนไปหน้าถัดไป
-
PowerPoint นี้ เหมาะสาหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรม Microsoft Office 2010
การใช้เวอร์ชั่นอื่นๆ หรือ เวอร์ชั่นที่ต่ากว่า คุณสมบัติบางอย่างอาจทางานไม่สมบูรณ์
กดปุ่ มนี้ กลับไปหน้าสารบัญ (Contents)
กดปุ่ มนี้ ฟังคลิปเสียง (Audio Clip)
[การกดปุ่ ม ต้องกดให้โดนรูปลาโพง เพราะถ้าคลิกไปโดนแถบเลื่อนช่วงการฟัง อาจทาให้เสียงไม่ได้
เริ่มต้นที่จุดเริ่มต้น]
คาแนะนาในการใช้ PowerPoint
สารบัญ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
พุทธประวัติ พุทธสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘
วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี
การบริหารจิตและการเจริญปัญญา
พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ ศาสนากับการอยู่ร่วมกันในประเทศไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗
นับตั้งแต่สมัยพุทธกาล พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่จากชมพูทวีปไปสู่ดินแดนต่างๆ โดย
หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาได้รับการยอมรับว่าเป็นหลักสากล ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ
สีผิว ถ้าชนใดมีความเชื่อมั่นศรัทธาและปฏิบัติตามหลักคาสอนแล้ว ก็ย่อมจะเข้าถึงความสุขที่
แท้จริงของชีวิตได้เช่นกัน หลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา นอกจากสอนเน้นเรื่องการ
พัฒนาตนแล้ว ยังสอนให้รู้จักการสร้างประโยชน์สุขให้แก่ผู้อื่น ขณะเดียวกันก็ยังมีส่วนช่วย
สร้างสรรค์อารยธรรมและสร้างความสุขให้แก่โลกอีกด้วย
หน่วยการเรียนรู้ที่
ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา๑
๑. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
การเผยแผ่ในสมัยโบราณ
การเผยแผ่ด้วยการแสดงธรรมหรือการเทศน์
การเผยแผ่ด้วยการศึกษาและการปฏิบัติธรรม
สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางในการเผยแผ่
การเผยแผ่ในสมัยปัจจุบัน
การเผยแผ่ด้วยการแสดงธรรมหรือการเทศน์
การเผยแผ่ผ่านองค์กรทางพระพุทธศาสนา
การเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติธรรม
การเผยแผ่ผ่านสื่อเทคโนโลยี
๒. การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ในพุทธศตวรรษที่ ๓ ในสมัยพระเจ้าอโศก
มหาราช ภายหลังการทาสังคายนาครั้งที่ ๓ พระองค์ได้ส่ง
สมณทูต ๙ สาย ออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังนานา
ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดินแดนใกล้เคียงกับ
ชมพูทวีป จากจุดเริ่มต้นนี้เองทาให้พระพุทธศาสนา
แผ่ขยายไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย
ประเทศอินเดีย
• เป็นดินแดนแห่งพุทธมาตุภูมิ
ซึ่งเป็นสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า
• มีการเสื่อมถอยของ
พระพุทธศาสนาเมื่อประมาณพุทธศตวรรษ
ที่ ๑๗
• ได้กลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง
ในสมัยการกอบกู้เอกราช ผู้ฟื้นฟู
พระพุทธศาสนาคนสาคัญ เช่น เซอร์ อเล็ก
ซานเดอร์ คันนิงแฮม เซอร์ เอ็ดวิน อาร์โนลด์
ดร.อัมเบดการ์
พระพุทธเมตตาที่มหาสถูปพุทธคยาในอินเดียแสดง
ถึงการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในมาตุภูมิให้รุ่งเรืองอีก
ครั้ง
ประเทศศรีลังกา
• พระพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่
ศรีลังกาประมาณ พ.ศ. ๒๓๖-๒๘๗
• สมัยพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ
ทรงประกาศให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติสืบมาถึงปัจจุบัน
• พระพุทธศาสนาในศรีลังกามี
ความรุ่งเรืองและเสื่อมถอยโดยเปลี่ยนแปลง
ไปตามอานาจการปกครอง มีช่วงหนึ่งที่
ศรีลังกาส่งทูตมาขอพระสงฆ์ไทยไปบวช
ให้กุลบุตรชาวศรีลังกา
วัด Dambulla ประเทศศรีลังกา
ประเทศเนปาล
• ในอดีตเนปาลเป็นดินแดน
ส่วนหนึ่งของอินเดีย และเป็นสถานที่ตั้งของ
สวนลุมพินีวัน สถานที่ประสูติของ
พระพุทธเจ้า
• ในยุคแรกพระพุทธศาสนา
เถรวาทรุ่งเรืองมาก ต่อมาเสื่อมถอยลง ทาให้
พระพุทธศาสนามหายาน นิกายตันตระซึ่ง
ผสมกับความเชื่อพื้นเมืองเจริญขึ้นมาแทน
• ปัจจุบันพระพุทธศาสนานิกาย
เถรวาทได้รับการฟื้นฟู โดยไทยเป็นกาลัง
สาคัญในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาเถรวาท
วัดเจดีย์โพธินาถ หรือพุทธนาถ มรดกโลก ประเทศ
เนปาล เป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในเนปาล บนเจดีย์มี
ดวงตาเห็นธรรมของพระพุทธเจ้าทั้งสี่ทิศ
ประเทศภูฏาน
• พระพุทธศาสนาเข้าสู่ภูฏานราว
พ.ศ. ๘๐๐-๑๒๐๐ โดยเป็นนิกายวัชรยาน และ
ได้เป็นศาสนาประจาชาติภูฏาน
• ในราว พ.ศ. ๑๗๖๓ ได้มีการ
ก่อตั้งนิกายดรุกปะกัคยุขึ้น จนถึงยุคของท่าน
งาวังนัมเยล ได้สร้างพูนาคาซองเป็นสถานที่
ประกอบพิธีกรรมสาคัญ เช่น พิธีสถาปนา
สมเด็จพระสังฆราช
• ชาวภูฏานนับว่ามีความศรัทธา
และยึดมั่นในพระพุทธศาสนามาก
วัดทักซัง หรือรังเสือ เป็นที่เคารพสักการะยิ่งของ
ชาวพุทธในภูฏาน
เขตปกครองตนเองทิเบต
• พระพุทธศาสนาในทิเบตเป็น
มหายานแบบวัชรยาน
• พระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้า
สู่ทิเบตในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ หลังจากนั้น
กษัตริย์ทิเบตได้ทรงให้การอุปถัมภ์เป็นอย่างดี
• ก่อนจะรวมเข้าเป็นดินแดน
ส่วนหนึ่งของจีน พระพุทธศาสนาถูกแบ่ง
ออกเป็น ๔ นิกาย โดยนิกายเคลุกปะเป็นที่นับ
ถือแพร่หลายที่สุด พระสงฆ์ในนิกายนี้เรียกว่า
ลามะ ส่วนผู้นาสูงสุดในการปกครอง เรียกว่า
องค์ดาไลลามะ
พระราชวังโปตาลา ตั้งอยู่บนที่ราบสูงทิเบต
ประเทศจีน
• จีนเริ่มยอมรับพระพุทธศาสนา
ในสมัยราชวงศ์ฮั่น
• พระพุทธศาสนาเจริญสูงสุดใน
สมัยราชวงศ์ถังเพราะได้รับการสนับสนุนจาก
จักรพรรดิ จากนั้นก็เจริญสูงสุดในบางสมัย
และเสื่อมสุดในบางช่วงเวลา
• ในช่วงที่จีนปกครองด้วย
ระบอบคอมมิวนิสต์พระพุทธศาสนาได้รับ
ผลกระทบมาก ภายหลังต่อมาก็ได้รับการ
ฟื้นฟูให้กลับมาดีดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
พระถังซาจั๋งหรือพระเสวียนจั้ง โดยสมัยราชวงศ์ถัง
ได้เดินทางไปศึกษาพระธรรมที่อินเดียและอัญเชิญ
พระไตรปิฎกกลับมาจีน และแปลเป็นภาษาจีน
ประเทศเกาหลี
• ช่วงแรกชาวเกาหลีนับถือศาสนาชา
มาน ต่อมาภายหลังจึงนับถือพระพุทธศาสนาโดย
จีนและอินเดียนามาเผยแผ่
• เมื่อราชวงศ์ลีหรือราชวงศ์โชซอน
เข้ามามีอานาจได้สนับสนุนให้ลัทธิขงจื๊อเป็น
ศาสนาประจาชาติ พระพุทธศาสนาจึงเสื่อมโทรม
ลง
• เมื่อเกาหลีอยู่ใต้การปกครองของ
ญี่ปุ่น พระพุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟู จนกระทั่ง
เกาหลีถูกแบ่งออกเป็น ๒ ประเทศ พระพุทธศาสนา
จึงรุ่งเรืองเฉพาะในเกาหลีใต้
พระพุทธรูปหินแกะสลักในวัดถ้าช็อคกูรัมเมือง
คยองจู ประเทศเกาหลีใต้
ประเทศญี่ปุ่ น
• พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
เริ่มต้นขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๓
และเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลาดับ โดยเริ่มนับถือ
ในหมู่ชนชั้นสูงก่อนแล้วค่อยแพร่หลายไปสู่
ประชาชน
• ในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๔
พระพุทธศาสนาแบ่งเป็น ๓ นิกายหลัก และ
เป็นที่นับถือกันมาจนถึงปัจจุบันได้แก่
นิกายโจโดหรือสุขาวดี นิกายเซน และนิกาย
นิชิเรน
พระพุทธรูปไดบุทซึที่วัดโทได ประเทศญี่ปุ่น แสดงถึง
แรงศรัทธาของชาวญี่ปุ่นที่มีต่อพระพุทธศาสนา
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปยุโรป
ประเทศอังกฤษ
• การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเริ่มขึ้น
ใน พ.ศ. ๒๓๙๓ เมื่อสเปนเซอร์ อาร์ดี ได้พิมพ์
หนังสือชื่อ ศาสนจักรแห่งบูรพาทิศออกเผยแพร่
• ใน พ.ศ. ๒๔๒๒ เซอร์ เอ็ดวิน
อาร์โนลด์ ได้เขียนประทีปแห่งเอเชีย ทาให้
ได้รับความสนใจจากชาวอังกฤษมาก
• ต่อมาองค์กรทางพระพุทธศาสนา
ได้เป็นศูนย์กลางในการเผยแผ่จนเกิดวัดพุทธ
จานวนมาก
วัดพุทธปทีปในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
ประเทศเยอรมนี
• ใน พ.ศ. ๒๔๖๔ ดร.คาร์ล ไซ
เกนสติคเกอร์ ได้ก่อตั้งพุทธสมาคมเยอรมันขึ้น
แต่ต่อมาพระพุทธศาสนาเสื่อมลงในยุคที่นาซี
เรืองอานาจ
• หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุด
ได้มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาโดยกลุ่มเอกชน
ร่วมกับพระสงฆ์จากญี่ปุ่น ไทย ศรีลังกา และ
ทิเบต มีการจัดพิมพ์หนังสือเผยแผ่
พระพุทธศาสนา และแปลเป็นภาษาต่างๆ
รวมทั้งภาษาไทยวัดธรรมบารมี เมืองดอร์ทมุนด์ประเทศเยอรมนี
ประเทศฝรั่งเศส
• การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
เริ่มขึ้นโดยกลุ่มพุทธศาสนิกชนชาวฝรั่งเศส
นาโดย น.ส. คอนสแตนต์ลอนสเบอรรี
ได้ร่วมกันก่อตั้งพุทธสมาคมขึ้นภายใต้ชื่อ
เล ซามีดู บุดดิสเม ในนครปารีส มีการจัด
กิจกรรม ออกวารสาร รวมทั้งนิมนต์
พระสงฆ์จากไทย พม่า ลาว ไปแสดงธรรม
และฝึกสมาธิวิปัสสนา
• ปัจจุบันการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาไม่รุ่งเรืองมากนัก วัดธรรมปทีป ตั้งอยู่ชานเมืองปารีสประเทศฝรั่งเศส
ประเทศรัสเซีย
• พระพุทธศาสนาเข้าสู่สหภาพ
โซเวียตในอดีต ตั้งแต่เมื่อครั้งตกอยู่ใต้การ
ปกครองของมองโกลแต่ไม่แพร่หลายมากนัก
• ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑
มีกลุ่มบุคคล เช่น มาดามเซอร์บาตรสกี
มร. โอเบอร์มิลเลอร์ พยายามนา
พระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแผ่ผ่านกลุ่ม
ปัญญาชนชาวรัสเซีย
• ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนได้
กระจายไปอยู่ในประเทศต่างๆ ที่แยกออกมา
จากสหภาพโซเวียต
การฝึกปฏิบัติธรรมในวัดอภิธรรมพุทธวิหาร นคร
เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย
ประเทศเนเธอร์แลนด์
• พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้ามา
ผ่านการค้าโดยพ่อค้าชาวดัตช์และชาว
พื้นเมืองจากอินโดนีเซียและศรีลังกา
แต่ผู้นับถือมีน้อย
• ใน พ.ศ. ๒๔๙๘ ชาวพุทธใน
กรุงเฮกได้ฟื้นฟูชมรมชาวพุทธขึ้น
• ใน พ.ศ. ๒๕๐๘ มีการก่อตั้ง
กลุ่มพุทธศาสน์ศึกษาขึ้นในกรุงเฮก และ
พ.ศ. ๒๕๑๒ มีการจัดตั้งพุทธสมาคมแห่ง
ใหม่ขึ้น วัดพุทธบารมีเนเธอร์แลนด์
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ
• ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒
มีชาวเอเชียอพยพเข้ามาในสหรัฐอเมริกาและ
แคนาดาเพิ่มมากขึ้น และได้เผยแผ่
พระพุทธศาสนาด้วย
• ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ ชาวพุทธญี่ปุ่น
ได้สร้างวัดนิกายสุขาวดีที่ซานฟรานซิสโก
ต่อมามีการก่อตั้งสมาคมพระพุทธศาสนาแห่ง
อเมริกา รวมทั้งมหาวิทยาลัยพุทธธรรมขึ้น
• ปัจจุบันมีวัดไทยใน
สหรัฐอเมริกาและแคนาดาหลายแห่งวัดนิวยอร์กธัมมาราม สหรัฐอเมริกา
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาใต้
• ส่วนมากเป็นการนับถือของ
ผู้อพยพย้ายถิ่นฐานจากทวีปเอเชียเข้าไป
ทามาหากินในประเทศต่างๆ ในทวีป
อเมริกาใต้โดยเฉพาะชาวจีน ญี่ปุ่น โดยมี
การจัดตั้งองค์กรทางพระพุทธศาสนาเป็น
จานวนมาก
• การนับถือพระพุทธศาสนา
ยังคงจากัดในหมู่ชาวเอเชีย ส่วนชาว
พื้นเมืองนับถือกันน้อย
ชาวญี่ปุ่นที่เข้าไปตั้งถิ่นฐานในประเทศบราซิลได้สร้าง
วัดพุทธขึ้น
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปออสเตรเลีย
วัดพุทธรังสี (แอนนันเดล) นครซิดนีย์ประเทศ
ออสเตรเลีย
ประเทศออสเตรเลีย
• ใน พ.ศ. ๒๔๕๓ พระศาสนธชะ
(มร.อี.สตีเวนสัน) พระภิกษุชาวอังกฤษได้
เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในออสเตรเลีย
• ใน พ.ศ. ๒๔๙๖ มีการจัดตั้งพุทธ
สมาคมขึ้นในรัฐควีนส์แลนด์นิวเซาท์เวลส์ และ
วิกตอเรีย และมีการตั้งองค์กรทาง
พระพุทธศาสนาอีกหลายแห่ง
• ปัจจุบันการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ในออสเตรเลียเป็นไปด้วยดี
วัดพุทธสามัคคี เมืองไครสต์เชิร์ช ประเทศ
นิวซีแลนด์
ประเทศนิวซีแลนด์
• การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ส่วนใหญ่เป็นการดาเนินการโดยพระสงฆ์
ชาวอังกฤษ ทิเบต ญี่ปุ่น และไทย โดยการ
สนับสนุนของพุทธสมาคมแห่งเมือง
โอกแลนด์
• ปัจจุบันแม้ว่าการนับถือ
พระพุทธศาสนาจากัดเฉพาะในเมืองใหญ่
เช่น เวลลิงตัน ไครสต์เชิร์ช เป็นต้น แต่
ประชาชนก็หันมาสนใจศึกษาหลักคาสอน
และอุปถัมภ์บารุงวัดมากขึ้น
การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปแอฟริกา
วัดไทยโยฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้
• ร่องรอยการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาพอมีอยู่บ้างในประเทศอียิปต์
และเคนยา แต่เป็นแบบไม่เป็นทางการ
• ในอียิปต์พระพุทธศาสนา
เข้าไปพร้อมกับชาวญี่ปุ่น เกาหลี ไทย ศรีลังกา
อินเดีย ซึ่งเดินทางไปศึกษา ทางาน และ
ท่องเที่ยว
• ในเคนยา ได้มีการก่อตั้งชมรม
ชาวพุทธ และมีการนิมนต์พระสงฆ์จากจีน
ญี่ปุ่น ไทย เดินทางไปแลกเปลี่ยนและเผยแผ่
พระพุทธศาสนาบ้าง
พระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมให้แก่โลก
๓. ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
ด้านการปกครอง
• พระพุทธศาสนามีหลักคาสอนสาหรับ
พระมหากษัตริย์เพื่อให้เป็นผู้นาที่ดี มีคุณธรรม
ได้แก่ ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร
การปกครอง
ระบอบ
ราชาธิปไตย
• พระพุทธศาสนามีหลักอปริหานิยธรรมเพื่อ
ประยุกต์ใช้ในการปกครอง เช่น หมั่นประชุมกัน
เนืองนิตย์พร้อมเพรียงกันประชุม เป็นต้น
การปกครอง
ระบอบ
สามัคคีธรรม
ด้านการจัดระเบียบสังคม
พระพุทธศาสนาสอนหลักธรรมเพื่อความเจริญมั่นคงแห่งสถาบันทางสังคมต่างๆ เช่นทิศ ๖
สถาบันครอบครัว
ความสัมพันธ์
ระหว่างบิดามารดา
กับบุตรธิดา
ความสัมพันธ์
ระหว่างสามีกับ
ภรรยา
สถาบันสังคม
ความสัมพันธ์
ระหว่างนายจ้าง
กับลูกจ้าง
ความสัมพันธ์
ระหว่างมิตร
กับมิตร
สถาบันการศึกษา
ความสัมพันธ์
ระหว่าง
ครูอาจารย์กับ
ศิษย์
สถาบันศาสนา
ความสัมพันธ์
ระหว่าง
พระสงฆ์กับ
ประชาชน
ด้านการสร้างสรรค์อารยธรรมให้แก่โลก
ด้านจิตใจ
แม้ว่าคนเราล้วน
ต้องการปัจจัย ๔ เพื่อ
ตอบสนองความต้องการ
ทางกาย แต่ก็ต้องการ
แสวงหาความสุขทาง
จิตใจด้วย ดังจะเห็นได้ว่า
คนพากันสนใจศึกษา
พระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น
ด้านวิชาการ
พระพุทธศาสนามี
ลักษณะเป็นปรัชญา โดย
อธิบายสรรพสิ่งทั้งปวง
ด้วยวิธีการของเหตุผล
ซึ่งมหาวิทยาลัยชั้นนา
ของโลกได้เปิดสอนวิชา
พระพุทธศาสนากัน
แพร่หลาย
ด้านวัตถุ
พระพุทธศาสนาได้
สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นวัตถุ
ให้เป็นมรดกแก่อารย-
ธรรมของโลกด้วย เช่น
พระพุทธรูป เจดีย์วัด
สถูป ซึ่งล้วนเกิดจาก
แรงศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยสร้างความสงบสุขให้แก่โลก
• พระพุทธศาสนาสอนไม่ให้เบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่น
• พระพุทธศาสนาสอนให้มีเมตตาต่อกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง
• พระพุทธศาสนาสอนให้มีความเสียสละ
• พระพุทธศาสนาสอนให้มีความอดทน (ขันติ) และไม่ยึดมั่นในตนเองเกินไป (อนัตตา)
• พระพุทธศาสนาสอนให้เป็นคนใจกว้าง
• พระพุทธศาสนาสอนให้เอาชนะความชั่วด้วยความดี
หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ก็ทรงมีพระกรุณาสั่งสอนสัตวโลกให้ปฏิบัติตามจน
สามารถละความทุกข์สร้างความสุขแก่ตนเองและสร้างสันติสุขแก่สังคม
การศึกษาพุทธประวัติ ประวัติพระสาวกและชาดกต่างๆ จึงสะท้อนว่าทุกอย่างสาเร็จ
ได้ด้วยความเพียรและสติปัญญา จริยาวัตรอันดีงามและคุณธรรมของแต่ละท่านเป็นผลจากการ
ฝึกฝนและพัฒนาตนในทางที่ถูกต้องดีงาม ซึ่งชาวพุทธควรดาเนินตาม เพื่อประโยชน์สุขแก่
ตนเองและสังคมต่อไป
หน่วยการเรียนรู้ที่
พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก๒
๑. พุทธประวัติ
การแสดงปฐมเทศนา
หลังจากตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงมี
พระมหากรุณาสงสารสัตวโลก จึงทรงมี
พระประสงค์จะไปแสดงธรรมโปรด
อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุททกดาบส
รามบุตร แต่ท่านทั้งสองสิ้นชีพ ไปแล้ว
จึงตัดสินพระทัยจะไปโปรด ปัญจวัคคีย์
ซึ่งเคยรับใช้พระองค์ขณะทรงบาเพ็ญทุกกร
กิริยา โดยพระองค์ทรงแสดงปฐมเทศนาที่
เรียกว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาโปรด
ปัญจวัคคีย์
ทรงชี้ทางสุดโต่ง
๒ ทางที่บรรพชิต
ไม่พึงปฏิบัติ
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ทรงแสดงทางสาย
กลาง คือ อริยมรรค
มีองค์แปด
ทรงแสดงอริยสัจ๔
ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย
นิโรธ มรรค
หลังการแสดงธรรมจบลง
โกณฑัญญะได้ดวงตาเห็น
ธรรม และทูลขอบวชเป็น
พระสาวกรูปแรก
วิเคราะห์พุทธประวัติ ตอน แสดงปฐมเทศนา
• เมื่อพระพุทธเจ้าทรงมีพระดาริจะไม่เสด็จไปสอนใครชั่วขณะจิตหนึ่ง ท้าวสหัมบดีพรหม
ได้มาอัญเชิญให้ทรงเสด็จไปสอน พระพุทธองค์จึงทรงเปรียบเทียบกับดอกบัว ๓ เหล่า ทรง
เห็นว่าสัตวโลกมีระดับสติปัญญาจะเข้าใจพระธรรม จึงทรงรับคาอาราธนา
ข้อความตรงนี้เป็นบุคลาธิษฐาน ถอดเป็นภาษาธรรมได้ว่า พรหมเป็นสัญลักษณ์แทน
พรหมวิหารธรรมอันมีเมตตากรุณาเป็นหลัก การที่ท้าวสหัมบดีพรหมมาเชิญ หมายถึง
พระพุทธองค์ทรงมีพระมหากรุณาสงสารสัตวโลกที่ตกอยู่ในห้วงทุกข์ จึงตัดสิน
พระทัยเสด็จออกไปโปรด
• การที่พระพุทธองค์ทรงมุ่งมั่นที่จะไปสอนปัญจวัคคีย์ให้ได้เนื่องจากเหตุผลที่ว่า
• เหตุที่พระธรรมเทศนานี้มีชื่อว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ทรงต้องการแก้ความเข้าใจผิดของปัญจวัคคีย์ให้เข้าใจแจ่มแจ้งว่า การทรมานตัวเองด้วย
การอดอาหารมิใช่ทางบรรลุมรรคผล อริยมรรคมีองค์แปดเท่านั้นที่จะทาให้บรรลุ
นิพพานได้และทรงต้องการสักขีพยานแห่งการตรัสรู้
เป็นการเปรียบเทียบกับทางโลก ที่มหาราชผู้ยิ่งใหญ่จะทาพิธีอัศวเมธปล่อยม้าไปยัง
เมืองต่างๆ เมื่อม้าผ่านไปเมืองใด ถ้าเจ้าเมืองเกรงบารมีจะยอมสยบเป็นเมืองขึ้นแต่ถ้า
ไม่ยอมก็จะฆ่าม้านั้น และมหาราชจะยกทัพไปปราบ ล้อรถศึกของมหาราชผ่านไปใน
ทิศทางใด ก็ยากที่ใครจะต้านทานได้เมื่อพระพุทธองค์ทรงแสดงอริยสัจ ๔ เท่ากับทรง
หมุนกงล้อแห่งธรรมที่ไม่มีใครคัดค้านได้
โอวาทปาฏิโมกข์
ในวันเพ็ญเดือน ๓ พระสงฆ์
จานวน ๑,๒๕๐ รูป ได้มาเฝ้า
พระพุทธเจ้าที่วัดพระเวฬุวันโดย
มิได้นัดหมายกัน ท่านเหล่านั้น
เป็นเอหิภิกขุ (พระสงฆ์ที่
พระพุทธเจ้าประทานอุปสมบท
ให้) เป็นพระอรหันต์
พระพุทธเจ้าจึงทรงแสดง
โอวาทปาฏิโมกข์พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในวันเพ็ญ
เดือน ๓
โอวาทปาฏิโมกข์ : หัวใจพระพุทธศาสนา
• ทรงแสดงอุดมการณ์ของพระพุทธศาสนา คือ
พระนิพพาน
• ทรงแสดงหลักการทั่วไปของพระพุทธศาสนา ๓
ประการ ได้แก่ การไม่ทาความชั่วทั้งปวง การทา
ความดีให้พร้อม และการทาจิตของตนให้ผ่องแผ้ว
• ทรงแสดงวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยเน้น
ไม่ว่าร้ายผู้อื่น ใช้ขันติธรรม
• ทรงตรัสถึงคุณสมบัติของผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนา
วิเคราะห์พุทธประวัติ ตอนโอวาทปาฏิโมกข์
• เพราะเหตุใดภิกษุจานวนมากถึง ๑,๒๕๐ รูป จึงมาประชุมกันในวันนี้ และมาโดยมิได้
นัดหมายกันมาก่อนจริงหรือ
พระพุทธองค์ทรงส่งภิกษุเหล่านั้นไปประกาศพระพุทธศาสนายังแว่นแคว้นต่างๆ
เมื่อทางานได้ผลหรือพบอุปสรรคใดก็ประสงค์จะมาเฝ้าพระพุทธองค์เมื่อทราบว่า
พระพุทธองค์ประทับอยู่ที่วัดพระเวฬุวันประกอบกับตรงกับวันเพ็ญซึ่งมีแสงสว่าง
เหมาะสาหรับการประชุมใหญ่ ก็เป็นเหตุผลที่ทาให้ต่างรูปต่างเดินทางมาวัดพระ
เวฬุวันโดยมิได้นัดหมายมาก่อน
• ในวันเพ็ญเดือน ๓ พระสารีบุตรได้บรรลุพระอรหันต์ จากนั้นไม่นานพระพุทธองค์ทรง
แต่งตั้งให้พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็นพระอัครสาวกเบื้องขวาและเบื้องซ้าย
ทาให้บางท่านคิดว่าพระพุทธองค์ทรงลาเอียงไม่แต่งตั้งพระผู้ใหญ่รูปอื่น
พระพุทธองค์ทรงเห็นว่างานเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นงานสาคัญจึงทรงมองหา
บุคคลที่จะช่วยทางาน และทรงเห็นว่าทั้งสองท่านเหมาะกับงานนี้ เพราะพระสารีบุตร
และพระโมคคัลลานะเป็นพราหมณ์มาก่อน มีความเชี่ยวชาญไตรเพทดี และรู้วิธีการ
โต้เถียงหักล้างกันด้วยเหตุผล หาใช่เพราะทรงลาเอียง
พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ
ปางมารวิชัย
ขณะที่พระพุทธองค์ทรงนั่งสมาธิ
อยู่ใต้ต้นโพธิ์ พญาวสวัตตีมารได้มา
ขับไล่พระองค์และอ้างว่าบัลลังก์เป็น
ของตน พระพุทธองค์ทรงแย้งว่า
บัลลังก์เป็นของพระองค์และทรงเรียก
นางวสุนธราพระแม่ธรณี มาเป็นพยาน
ทันใดนั้นพระแม่ธรณีได้ผุดขึ้นมาจาก
แผ่นดินและบีบมวยผมบันดาลให้เกิด
กระแสน้าไหลท่วมกองทัพพญามาร
จนพ่ายแพ้ชาวพุทธจึงสร้างปางนี้ขึ้น
ปางลีลา
ปางนี้มีความเกี่ยวโยงกับปางเสด็จ
ลงมาจากดาวดึงส์ กล่าวคือ หลังจาก
พระพุทธองค์เสด็จขึ้นไปจาพรรษา ณ
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ แสดงธรรมโปรด
พุทธมารดาตลอด ๓ เดือนแล้ว ก็เสด็จ
ลงมาจากดาวดึงส์ ซึ่งพระพุทธลีลา
นอกจากบ่งบอกถึงความงามอันอ่อนช้อย
แล้ว ยังหมายถึงการเคลื่อนไหวด้วย
พระมหากรุณา เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ให้
หลุดพ้นจากความทุกข์
ปางปฐมเทศนา
หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าเสด็จ
ดาเนินด้วยพระบาทไปยังป่าอิสิปตน-
มฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี
ทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตรว่าด้วย
อริยสัจ ๔ แก่ปัญจวัคคีย์การแสดงปฐม
เทศนานี้ เรียกอีกอย่างว่า ทรงหมุนกงล้อ
ธรรมชาติ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งการ
ประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก
พระประจาวันอาทิตย์ ปางถวายเนตร
หลังตรัสรู้ใหม่ๆ พระพุทธเจ้าเสด็จออก
จากโคนต้นพระศรีมหาโพธิ์ไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ทรง
ทอดพระเนตรต้นพระศรีมหาโพธิ์โดย
ไม่กระพริบพระเนตรเป็นเวลา ๗ วัน
เพื่อราลึกถึงคุณประโยชน์ของต้น
พระศรีมหาโพธิ์ที่อานวยช่วยพระองค์
จนได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
พระประจาวันจันทร์ ปางห้ามสมุทร
ขณะที่พระพุทธเจ้าประทับที่โรงไฟเมื่อ
คราวเสด็จไปโปรดชฎิลสามพี่น้องแล้ว
เกิดฝนตกหนัก น้าหลากท่วมบริเวณ
ที่ประทับอยู่พวกชฎิลสามพี่น้องหนีขึ้น
บนที่ดอน ส่วนพระพุทธเจ้ามิได้เสด็จ
หนี เช้ามาพวกชฎิลสามพี่น้องได้ออก
ตามหาจนพบพระพุทธองค์ทรงยืนอยู่
ภายในวงล้อมของน้าที่ท่วม
พระประจาวันอังคาร ปางไสยาสน์
เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ณ วัดเชตุวัน เมืองสาวัตถี ครั้งนั้นอสุรินทราหูแสดง
ความกระด้างกระเดื่องไม่ยอมอ่อนน้อม พระพุทธองค์ทรงมีพระประสงค์จะลดทิฐิของ
จอมอสูร จึงทรงเนรมิตกายจนใหญ่กว่า อสุรินทราหูจึงยอมอ่อนน้อม
พระประจาวันพุธ (กลางวัน)
ปางอุ้มบาตร
เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรด
พระประยูรญาติกรุงกบิลพัสดุ์ รุ่งขึ้น
อีกวันจากวันเสด็จไปถึงในเวลาเช้า
พระพุทธองค์ก็ทรงบาตรพาภิกษุสงฆ์
ออกไปโปรดสัตว์เสด็จพุทธดาเนิน
ไปตามถนนในกรุงกบิลพัสดุ์
พระประจาวันพุธ (กลางคืน)
ปางป่ าลิไลยก์
เมื่อครั้งพระภิกษุเมืองโกสัมพีทะเลาะ
กันขนานใหญ่ พระพุทธองค์เสด็จไป
ห้ามปราม แต่ไม่มีใครฟัง พระองค์จึง
เสด็จหลีกไปประทับอยู่ในป่าโดยมีพญา
ช้างปาลิไลยกะและลิงคอยปรนนิบัติ
พระประจาวันพฤหัสบดี ปางสมาธิ
ภายหลังจากทรงการาบพญามารลงได้
แล้ว พระองค์จึงได้ตั้งพระทัยเจริญ
สมาธิจนได้ญาณขั้นต่างๆ และในที่สุด
ก็ได้บรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ
ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเวลา
เช้าตรู่ของวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖
(วันวิสาขบูชา)
พระประจาวันศุกร์ ปางราพึง
เมื่อพระพุทธองค์ทรงราพึงถึงธรรมะที่
ตรัสรู้ว่ามีความลึกซึ้งคัมภีรภาพ ยากที่
คนทั่วไปจะเข้าใจได้ก็ทรงรู้สึกอ่อน
พระทัยในการออกไปโปรดสัตว์แต่เมื่อ
ท้าวสหัมบดีพรหมมาทูลอัญเชิญ จึงทรง
ตัดสินพระทัยไปเทศนาสั่งสอน
ประชาชน
พระประจาวันเสาร์ ปางนาคปรก
เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นจิก
(มุจลินท์) บังเอิญในช่วงนั้นมีฝนตก
พราๆ ตลอด ๗ วัน พญานาคมุจลินท์
ได้เลื้อยมาทาขนดล้อมพระวรกายของ
พระพุทธองค์๗ ชั้นแล้วแผ่พังพานปก
ไว้ในเบื้องบนเหมือนกั้นฉัตร ด้วย
ประสงค์จะกาบังลมฝนมิให้ต้อง
พระวรกาย
พระอัญญาโกณฑัญญะ
๒. ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา
• เดิมชื่อ โกณฑัญญะ เกิดในสกุลพราหมณ์
• เป็นพราหมณ์ที่มาทานายพระลักษณะของ
เจ้าชายสิทธัตถะหลังประสูติ ๕ วัน โดย
ทานายว่า “ เจ้าชายน้อยนี้ต่อไปจะเสด็จ
ออกผนวชและได้เป็นศาสดาเอกของโลก
แน่นอน”
• ภายหลังเมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว
โกณฑัญญะได้ฟังธรรมจนได้ธรรมจักษุ
และทูลขออุปสมบทเป็นพระสงฆ์รูปแรก
ในพระพุทธศาสนา โกณฑัญญะทานายพระลักษณะของ
เจ้าชายสิทธัตถะ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
• เป็นผู้มีประสบการณ์มาก
• เป็นคนสันโดษ
• ทาตนเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านความประพฤติ
• เป็นผู้เห็นการณ์ไกล
พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี
• เป็นพระน้านางของพระพุทธเจ้า และต่อมา
ได้เป็นผู้เลี้ยงดูเจ้าชายสิทธัตถะ
• เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จเมืองเวสาลี พระนาง
มหาปชาบดีโคตมีและนางสากิยานีจานวน
มากได้ปลงพระเกศา ห่มผ้ากาสายะเพื่อทูล
ขอบวช พระพุทธเจ้าทรงวางครุธรรม ๘
ประการสาหรับสตรีผู้จะเข้ามาบวช
• ได้ผนวชเป็นภิกษุณีรูปแรกใน
พระพุทธศาสนา
พระนางมหาปชาบดีโคตมีทรงเลี้ยงดู
เจ้าชายสิทธัตถะ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
• เป็นผู้มีความตั้งใจแน่วแน่
• เป็นผู้มีความอดทนสูง
• เป็นผู้มีคารวธรรมยิ่ง
พระเขมาเถรี
• เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าสาคละแห่ง
สาคลนคร ในมัททรัฐ ต่อมาได้เป็นมเหสี
ของพระเจ้าพิมพิสาร
• ระยะแรกมิได้ฝักใฝ่ในพระพุทธศาสนาและ
ทรงหลงใหลในพระรูปสมบัติของตนเอง
จึงไม่ยอมเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า
• พระเจ้าพิมพิสารทรงหาอุบายโดยให้กวีแต่ง
ชมความงามของพระวิหารเวฬุวัน จนใน
ที่สุดพระนางได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า
จากนั้นทูลขอบวชและบรรลุพระอรหันต์ พระนางเขมาทรงมีความหลงใหลใน
รูปโฉมของตนเอง
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
• เป็นผู้มีปัญญามาก และได้เป็นพระอัครสาวิกา
เบื้องขวาฝ่ายภิกษุณี
• เป็นผู้มีปฏิภาณ
พระเจ้าปเสนทิโกศล
• เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าโกศล เมือง
สาวัตถี แคว้นโกศล
• เป็นศิษย์ในสานักทิศาปาโมกข์เมืองตักศิลา
ร่วมกับเจ้าชายมหาลิจฉวีแห่งแคว้นวัชชี
และพันธุละเสนาบดีแห่งนครกุสินารา
• แต่ก่อนนับถือนักบวชนอกพระพุทธศาสนา
ต่อมานับถือพระพุทธศาสนา เพราะเห็น
จริยวัตรอันงดงามของพระสงฆ์ทรงฝักใฝ่
ในพระพุทธศาสนา ภายหลังถูกอามาตย์
กบฏ และต่อมาก็เสด็จสวรรคต พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงถวายความเคารพ
พระพุทธเจ้าอย่างนอบน้อม
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
• ทรงมั่นคงในพระรัตนตรัย
• ทรงรักษาความมั่นคงของพระพุทธศาสนา
• ทรงมีพระทัยกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น
• ทรงยอมรับความคิดและพร้อมจะแก้ไข
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล
๓. ศาสนิกชนตัวอย่าง
• เป็นพระธิดาในสมเด็จฯ กรมพระยาดารง
ราชานุภาพ และหม่อมเฉื่อย
• ทรงสนพระทัยในพระพุทธศาสนา และมี
พระกรณียกิจด้านพระพุทธศาสนา เช่น
ทรงบรรยายหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ทรงเป็นกรรมการบริหารพุทธสมาคมแห่ง
ประเทศไทย ทรงเป็นประธานองค์การ
พุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ทรงนิพนธ์
หนังสือ ศาสนคุณ สอนพระพุทธศาสนา
สาหรับเยาวชน
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัยดิศกุล
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
• ทรงเป็นอุบาสิกาที่เคร่งครัด
• ทรงเป็นพหูสูต
• ทรงเป็นแบบอย่างของพลเมืองดี
ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
• เป็นบุตรของมหาอามาตย์ตรี พระยาธรรมสาร
เวทย์วิเศษภักดี ศรีสัตยาวัตตาพิริยพาหะ
(ทองดี ธรรมศักดิ์) กับคุณหญิงชื้น ธรรมศักดิ์
• ด้านราชการได้เข้ารับราชการในกระทรวง
ยุติธรรม หลังเกษียณอายุราชการ ได้ดารง
ตาแหน่งองคมนตรี และอื่นๆ
• ด้านศาสนา ได้ดารงตาแหน่งนายกพุทธ
สมาคมแห่งประเทศไทย และเป็นประธาน
องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง
• เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา
• เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที
• เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต
• เป็นผู้ใฝ่ธรรม
• เป็นผู้จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
นันทิวิสาลชาดก
๔. ชาดก
• สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดพระเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภการพูดเสียดแทง
ให้เจ็บใจของพวกภิกษุฉัพพัคคีย์โดยทรงเล่านิทานว่า...
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้วที่เมืองตักศิลา พระโพธิสัตว์เกิดเป็นโคนามว่า นันทิวิสาล
มีรูปร่างสวยงาม มีพละกาลังมากมีพราหมณ์คนหนึ่งได้เลี้ยงและรักโคนั้นเหมือนลูกชายโคนั้นคิด
จะตอบแทนบุญคุณ จึงให้พราหมณ์ไปท้าพนันกับเศรษฐีโควินทะว่า โคของเราสามารถลากเกวียนที่
ผูกติดกันถึงหนึ่งร้อยเล่มได้ให้พนันด้วยเงินหนึ่งพันกหาปณะพราหมณ์จึงทาตามที่โคบอก
ในวันเดิมพัน พราหมณ์ได้ขึ้นไปนั่งบนเกวียน เงื้อปะฏักขึ้นพร้อมกับตวาดโคด้วย
คาหยาบ เมื่อโคนันทิวิสาลได้ยินก็คิดน้อยใจ จึงยืนนิ่งไม่เคลื่อนไหว ทาให้พราหมณ์ต้องเสียพนัน
แล้วก็เข้าไปนอนเศร้าโศกเสียใจอยู่ในบ้าน ส่วนโคนันทิวิสาลเห็นพราหมณ์เศร้าโศกเสียใจจึงเข้าไป
ปลอบและบอกให้พราหมณ์กล่าวด้วยถ้อยคาไพเราะและให้ไปท้าพนันใหม่ พราหมณ์จึงทาตาม
คาแนะนา โคนันทิวิสาลได้ยินคาไพเราะจึงทาตาม ทาให้พราหมณ์ชนะพนัน
คติธรรมของชาดกเรื่องนี้
• คนพูดคาหยาบย่อมทาให้ตนเดือดร้อน ดังนั้นไม่ควร
พูดคาหยาบ เพราะคาหยาบไม่เป็นที่พอใจของใครๆ
• คนที่พูดจาไพเราะอ่อนหวานย่อมยังประโยชน์ให้สาเร็จ
ดังนั้น คนเราควรเปล่งวาจาที่ไพเราะอ่อนหวาน เพราะ
วาจาที่ไพเราะอ่อนหวานเป็นที่พอใจของใครๆ
สุวัณณหังสชาดก
• ครั้งหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดพระเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภเรื่องภิกษุณี
ชื่อ ถูลนันทา ผู้ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคกระเทียม สร้างความเดือดร้อนให้
ชาวบ้าน จึงทรงนานิทานมาเล่าเป็นสาธก ว่า...
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลพราหมณ์ มีภรรยา และ
บุตรี ๓ คน ต่อมาพราหมณ์สิ้นชีวิตลงไปเกิดเป็นหงส์ทอง ส่วนภรรยาและลูกยากจนลง
ด้วยความสงสารพญาหงส์ทองจึงบินไปที่บ้านนางพราหมณ์และสลัดขนทองคาให้วันละขน
เพื่อนาไปขาย ครอบครัวจึงมีความเป็นอยู่ดีขึ้นแต่ด้วยความโลภ นางพราหมณีได้จับพญา
หงส์ทองถอนขนจนหมด ขนทองคาจึงกลายเป็นขนนกธรรมดา เพราะพญาหงส์ทองไม่ได้
เต็มใจให้ นางพราหมณีเลี้ยงพญาหงส์ทองจนขนงอกขึ้นเต็มตัว พญาหงส์ทองก็หนีไป
คติธรรมของชาดกเรื่องนี้
• โลภนักมักลาภหาย ดังที่พระพุทธองค์ได้ตรัสพระ
คาถาว่า "บุคคลควรยินดีเท่าที่ได้ที่มี เพราะความโลภ
เกินประมาณเป็นความชั่วแท้นางพราหมณีจับพญา
หงส์ทองถอนขน จึงเสื่อมจากทองคา“
พระพุทธศาสนามีองค์ประกอบสาคัญ ๓ ประการ คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
พระพุทธเจ้าทรงค้นพบหลักธรรมซึ่งเป็นความจริงอันประเสริฐ โดยมีพระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดและ
เผยแผ่หลักธรรมคาสอน จึงกล่าวได้ว่าพระธรรมเป็นองค์ประกอบสาคัญของพระพุทธศาสนา
นั่นคือ พระธรรมเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้านั่นเอง
ดังนั้น พุทธศาสนิกชนจึงควรศึกษาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาให้เข้าใจอย่างถ่อง
แท้เพื่อให้สามารถนาไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง อันจะเป็นประโยชน์
ต่อตนเองและสังคมส่วนรวม
หน่วยการเรียนรู้ที่
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา๓
๑. พระรัตนตรัย
สังฆคุณ ๙
• สุปฏิปันโน : เป็นผู้ปฏิบัติดี
• อุชุปฏิปันโน : เป็นผู้ปฏิบัติตรง
• ญายปฏิปันโน : เป็นผู้ปฏิบัติเป็นธรรม
• สามีจิปฏิปันโน : เป็นผู้ปฏิบัติสมควร
• อาหุเนยโย : เป็นผู้ควรแก่ของคานับ
• ปาหุเนยโย : เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ
• ทักขิเณยโย : เป็นผู้ควรแก่ของทาบุญ
• อัญชลีกรณีโย : เป็นผู้ควรกราบไหว้
• อนุตตรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ : เป็น
เนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยมของชาวโลก
พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตามคาสอนของ
พระพุทธเจ้าและเผยแผ่พระพุทธศาสนา
๒. อริยสัจ ๔
ความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการ
อันเป็นหลักคาสอนสาคัญของ
พระพุทธศาสนา มีดังนี้
อริยสัจ
๔
๑. ทุกข์
๒.
สมุทัย
๓. นิโรธ
๔.
มรรค
ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
ขันธ์ ๕
๑. รูป
๒. เวทนา
๓. สัญญา๔. สังขาร
๕.
วิญญาณ
ขันธ์ ๕ องค์ประกอบของชีวิต
ไตรลักษณ์ ลักษณะ ๓ ประการของสิ่งมีชีวิต
อนิจจตา : ภาวะที่ไม่คงทนหรือภาวะไม่เที่ยง
ทุกขตา : ภาวะที่ทนไม่ได้หรือภาวะที่ขัดแย้งไม่สมบูรณ์
อนัตตตา : ภาวะที่ไม่มีตัวตน
สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
หลักกรรม (วัฏฏะ ๓)
กิเลสวัฏฏะ
กรรมวัฏฏะ
วิบากวัฏฏะ
ตัวอย่าง
นาย ก ชอบเล่นการพนันเป็น
หนี้และถูกเจ้าหนี้ขู่ทาร้าย จึงคิด
ทาการทุจริต ที่เรียกว่า กิเลส
ในที่สุดก็ลงมือทา เรียกว่า
กรรม แต่ถูกจับได้และไล่ออก
จากงาน นี่คือ วิบาก เมื่อไม่มี
งานก็คิดทุจริตอีก เกิดกิเลสอีก
วนเวียนไปเรื่อยๆ
ปปัญจธรรม ๓ เครื่องทาให้เนิ่นช้า
ปปัญจ
ธรรม ๓
๑. ตัณหา
๒. มานะ๓. ทิฏฐิ
นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
อัตถะ คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตามคาสอนของพระพุทธเจ้า
มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มรรคมีองค์ ๘ ทางแห่งความดับทุกข์
ปัญญา ๓ ความรู้แจ่มแจ้ง
ปัญญา ๓
๑. สุตมย
ปัญญา
๒.
จินตามย
ปัญญา
๓.
ภาวนามย
ปัญญาการศึกษาเล่าเรียนด้วยความตั้งใจ
จะทาให้ผู้เรียนเกิดปัญญา
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
• ทาบุญด้วยการให้ (ทานมัย)
• ทาบุญด้วยการรักษาศีล (สีลมัย)
• ทาบุญด้วยการอบรมจิตใจ (ภาวนามัย)
• ทาบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อม (อปจายนมัย)
• ทาบุญด้วยการรับใช้ (เวยยาวัจจมัย)
• ทาบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนความดีให้ผู้อื่น (ปัตติทานมัย)
• ทาบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น (ปัตตานุโมทนามัย)
• ทาบุญด้วยการฟังธรรม (ธัมมัสสวนมัย)
• ทาบุญด้วยการสั่งสอนธรรม (ธัมมเทสนามัย)
• ทาบุญด้วยการทาความเห็นให้ตรง (ทิฏฐุชุกัมม์)
อุบาสกธรรม ๗ หลักธรรมสาหรับผู้ครองเรือน
• หมั่นไปวัด
• หมั่นฟังธรรม
• ฝึกตนเองให้มีระเบียบวินัย มีศีล
• สร้างความรู้สึกที่ดีงาม มีความเลื่อมใสต่อพระสงฆ์
ทั่วไป
• ฟังธรรมหรือเล่าเรียนคาสอนด้วยจิตที่เป็นกุศล
• ไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา
• เอาใจใส่ทานุบารุงพระพุทธศาสนา
การไปวัดฟังธรรม ย่อมทาให้เกิด
ปัญญาและจิตใจสงบ
มงคล ๓๘ ธรรมอันนามาซึ่งความสุขความเจริญ
มีศิลปวิทยา หมายถึง ความรู้หรือวิชาที่ช่วยในการทางาน ประกอบ
อาชีพเลี้ยงตนและครอบครัวให้มีความสุข ในการฝึกฝนตนเองให้เกิด
ความชานาญในวิชาชีพนั้น มีข้อแนะนา ดังนี้
• ต้องชอบ
• ต้องถนัด
• ต้องรู้ทฤษฎี
• ต้องฝึกปฏิบัติ
• ต้องมีวินัยและฟังมาก
พบสมณะ สามารถเห็นได้ทางตาและทางปัญญา เห็นทางตา คือ
การเห็นบุคคลที่ปลงผม นุ่งเหลืองห่มเหลือง ส่วนการเห็นทางปัญญา
เป็นการเห็นความดีที่มีอยู่ในตัวบุคคลที่เป็นสมณะ การเห็นสมณะทาให้
เราเห็นชีวิตที่บริสุทธิ์ สงบ สามารถซึมซับความดีเข้าสู่ตัวเราได้ดังนั้น
พุทธศาสนิกชนควรหมั่นไปพบปะสนทนากับพระสงฆ์เพื่อถวายอาหาร
และของใช้จาเป็น รวมทั้งสนทนาธรรมกับท่านเพื่อให้เกิดปัญญา
ฟังธรรมตามกาล เวลาที่ควรฟังธรรม ได้แก่ วันธรรมสวนะ วันสาคัญ
ทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งฟังธรรมทุกครั้งที่มีผู้แสดงธรรม และมี
ข้อควรปฏิบัติในการฟังธรรม ดังนี้
• ควรมีศรัทธาในตัวผู้แสดงธรรม
• ไม่ดูหมิ่นธรรมที่ท่านแสดง
• ฟังด้วยความตั้งใจ
• นาเอาหลักธรรมไปปฏิบัติ
การสนทนาธรรมตามกาล การที่บุคคล ๒ คนขึ้นไปพูดถึงปัญหาเกี่ยวกับ
ความดีความชั่ว ความควรไม่ควร ซึ่งระหว่างสนทนา ควรรักษามารยาท
ในการสนทนาและไม่ควรดูหมิ่นคู่สนทนา ควรตั้งใจฟังแล้วพิจารณา
ไตร่ตรอง การสนทนาธรรมก่อให้เกิดประโยชน์ โดยทาให้เกิดความ
แตกฉานในเรื่องที่สนทนา ทาให้รู้จักตนเองมากขึ้น
และทาให้กิเลสในใจเบาบาง
๓. การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนสาหรับการทางานและการมีครอบครัว
หลักสร้างปัญญา (วุฑฒิธรรม ๔)
๑. คบหาสัตบุรุษ
และบัณฑิต (สัปปุ
ริสสังเสวะ)
๒. เอาใจใส่เล่า
เรียนหาความจริง
(สัทธัมมัสสวนะ)
๓. ใช้เหตุผล
ไตร่ตรอง (โยนิโส
มนสิการ)
๔. ปฏิบัติตาม
ทานองคลอง
ธรรม (ธัมมา
นุธัมมปฏิบัติ)
หลักการสร้างความสาเร็จในการทางาน (อิทธิบาท ๔)
๑. ฉันทะ (ความพอใจ)
๒. วิริยะ (ความเพียร)
๓. จิตตะ (การตั้งจิตให้แน่วแน่)อิทธิบาท
๔
๔. วิมังสา (การพิจารณาสอบสวน)
หลักสร้างตนเป็นคนดี (สัปปุริสธรรม ๗)
• รู้จักเหตุ
• รู้จักผล
• รู้จักตน
• รู้จักประมาณ
• รู้จักกาล
• รู้จักชุมชน
• รู้จักบุคคล
นักเรียนที่ศึกษาเล่าเรียนด้วยความตั้งใจ นับว่าเป็นผู้ที่รู้จัก
หน้าที่ของตน
พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์ของพระพุทธศาสนา ที่บันทึกคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
ซึ่งเดิมถ่ายทอดกันต่อมาด้วยการท่องจา ต่อมาจึงได้มีการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษร
ทาให้หลักธรรมมีความชัดเจนและถูกต้องมากขึ้น พระไตรปิฎกจึงมีความสาคัญในการสืบต่อ
พระพุทธศาสนา
ในพระไตรปิฎกมีพุทธศาสนสุภาษิตสอนใจจานวนมาก การหมั่นศึกษาให้เข้าใจอย่าง
ถ่องแท้จะช่วยเตือนสติเรามิให้หลงไปในทางที่ผิดและช่วยชี้แนะแนวทางที่ดีงามในการ
ดาเนินชีวิตให้แก่เราได้
หน่วยการเรียนรู้ที่
พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต๔
โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์ และสาระสังเขปของพระอภิธรรมปิฎก
พระไตรปิฎก คัมภีร์ที่บันทึกคาสอนทางพระพุทธศาสนา
มี ๓ หมวดใหญ่ ได้แก่
• พระวินัยปิฎก
• พระสุตตันตปิฎก
• พระอภิธรรมปิฎก ซึ่งจะกล่าวในที่นี้
๑. พระไตรปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก พระสูตรหรือเทศนาต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่บุคคลต่างๆ
ต่างกรรม ต่างวาระ ซึ่งรวบรวมไว้ในพระสุตตันตปิฎกนั่นเอง แต่นาเอามาเรียบเรียงใหม่ใน
รูปวิชาการและอธิบายให้ละเอียด เป็นขั้นเป็นตอน
พระอภิธรรมปิฎกมีอยู่ทั้งสิ้น ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
แบ่งออกเป็น ๗ คัมภีร์ เรียกโดยย่อว่า สัง วิ ธา ปุ กะ
ยะ ปะ (หัวใจพระอภิธรรม)
พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมสังคณี
วิภังค์
ธาตุกถา
ปุคคลบัญญัติ
กถาวัตถุ
ยมก
ปัฏฐาน
รวมกลุ่มธรรมะเป็นหัวข้อสั้นๆ
แยกธรรมะในข้อธัมมสังคณีเพื่อให้ชัดเจน
จัดข้อธรรมต่างๆ มารวมในขันธ์ อายตนะและธาตุ
บัญญัติเรียกบุคคลต่างๆ ตามคุณธรรมที่มี
ถาม-ตอบหลักธรรม ๒๑๙ ข้อ
ว่าด้วยธรรมะเป็นคู่ๆ
ธรรมะที่เป็นปัจจัยเกื้อกูลกัน ๒๔ อย่าง
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก (พุทธปณิธาน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร)
พุทธปณิธาน ความตั้งพระทัยของ
พระพุทธเจ้าว่า ตราบใดที่พระพุทธศาสนา
ยังไม่แพร่หลาย คือ พุทธบริษัททั้ง ๔ (ภิกษุ
ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา) ยังไม่มีคุณสมบัติ
ครบถ้วน พระองค์จะไม่เสด็จดับขันธ์
ปรินิพพาน
พุทธปณิธาน ๔
พุทธบริษัทควรได้ศึกษาพระสัทธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง
พุทธบริษัทควรได้ประพฤติปฏิบัติตามพระสัทธรรมที่ทรงแสดง
ได้อย่างประจักษ์ในผลของการประพฤติปฏิบัติ
พุทธบริษัทควรช่วยกันเผยแผ่พระสัทธรรมที่ได้ศึกษาปฏิบัติมาแล้ว
ได้อย่างลุ่มลึกและกว้างขวาง
พุทธบริษัทควรสามารถแก้ไขตอบโต้การกล่าววิจารณ์จ้วงจาบ
บิดเบือนหลักพระสัทธรรมให้ยุติลงด้วยความเรียบร้อย
ศึกษา
ปฏิบัติ
ชี้แจง
ปกป้ อง
อตฺตา หเว ชิต เสยฺโย : ชนะตนนั่นแลดีกว่า
การชนะตน การที่สามารถควบคุมตนเองให้ทาในสิ่งที่ควรทาและไม่ทาในสิ่งที่ไม่ควรทา
กล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ว่า สามารถบังคับตนให้ทาความดี ละเว้นความชั่วได้
การเอาชนะตนทางโลกจะทาให้ประสบ
ความสาเร็จในการดาเนินชีวิต
พระพุทธศาสนามีหลักธรรม ๓ ข้อ ที่จะช่วย
ให้เอาชนะตนได้ดังนี้
• สติ ต้องฝึกตนเองให้มีสติอยู่เสมอ
• ทมะ การข่มจิตข่มใจของตน
• ขันติ การอดกลั้น
๒. พุทธศาสนสุภาษิต
ธมฺมจารี สุข เสติ : ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข
ผู้ประพฤติธรรม ผู้ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระธรรมเบื้องต้นที่ควร
ประพฤติปฏิบัติ ได้แก่ ศีล ๕ และธรรม ๕
ปมาโท มจฺจุโน ปท : ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย
ความประมาท การขาดสติ ปล่อยใจให้ล่องลอยไป ไม่รู้สึกตัวว่ากาลังทาอะไร กาลังพูดอะไร
ความประมาทมีได้ทั้งทางโลกและทางธรรม ในทางธรรม การไม่ระวังตัวทาให้จิตใจฟุ้งซ่าน
ก็อาจเป็นทางให้เดินไปสู่ความชั่วได้
ความประมาทในการขับขี่ยานพาหนะ ย่อมนาไปสู่
การสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินได้
สุสฺสูส ลภเต ปญฺญ : ฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา
ปัญญา ความรู้ อาจแยกได้๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ รู้หลักวิชาและรู้หลักความประพฤติ มนุษย์
เป็นสัตว์โลกที่มีปัญญา มีความรู้ทั้งสองอย่างได้ปัญญานั้นเกิดได้หลายทาง และทางที่เกิดได้
มากที่สุดทางหนึ่ง คือ การฟัง
ในการฟังควรปฏิบัติ ดังนี้
• ต้องเลือกคนที่เราจะฟัง
• ไม่ควรมีอคติต่อผู้พูด
• ต้องมีสมาธิ
• รู้จักแยกแยะ
การฟังอย่างมีสติย่อมก่อให้เกิดปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ที่
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ๕
พระพุทธศาสนามีส่วนช่วยจรรโลงสังคมไทยมาจนถึงกระทั่งปัจจุบัน
แสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาได้หยั่งรากลึกลงในวิถีชีวิตของคนไทย
ดังนั้น ในฐานะชาวพุทธที่ดีจึงควรช่วยกันทานุบารุงพระพุทธศาสนา
ให้เจริญมั่นคงยิ่งขึ้นไป หมั่นศึกษาหาความรู้ ปฏิบัติตามหลักธรรม และประเพณี
พิธีกรรมทางศาสนา เผยแผ่และปกป้องพระศาสนา ตลอดจนเรียนรู้มารยาทที่ดี
งามของชาวพุทธ เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป
๑. หน้าที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย
และจริยาวัตรอย่างเหมาะสม
การศึกษา
การศึกษา หมายถึง การเรียนพระพุทธวจนะ สมัยก่อนใช้วิธี
ท่องจา เรียกว่า “มุขปาฐะ” ถ่ายทอดสืบต่อกันมา ต่อมามีการเรียก
ประชุม “สังคายนา” (ร้อยกรองหรือสวดสอบทานกัน) เพื่อความ
ถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
พระพุทธวจนะเป็นจานวนมากจึงถูกถ่ายทอดผ่านระบบ
ท่องจา ทาให้คาสอนของพระพุทธเจ้าสืบทอดมากว่า ๒,๐๐๐ ปี
การศึกษาเล่าเรียนพระพุทธวจนะนี้ต่อมา เรียกว่า “คันถธุระ”
(หน้าที่ด้านการเรียนพระคัมภีร์) เป็นการเรียนรู้วิชาเพื่อเกื้อกูลและ
สนับสนุนการปฏิบัติธรรมให้เกิดผลดี
การปฏิบัติ
ภาระหน้าที่นี้เรียกตามศัพท์ศาสนาว่า “วิปัสสนาธุระ”
(หน้าที่ปฏิบัติเพื่อความเห็นแจ้ง) หมายถึง การฝึกฝนอบรมจิตให้
เป็นสมาธิและให้มีพลัง เพื่อนาไปใช้ในการข่มหรือกาจัดกิเลส
คือ ความเศร้าหมองแห่งจิตและให้เกิดความรู้แจ้งเห็นจริง
การปฏิบัติตามทฤษฎีที่ได้ศึกษามาข้างต้นนี้ ก็เพื่อการ
ดับทุกข์เป็นขั้นๆ จนถึงความดับทุกข์โดยสิ้นเชิง
สามารถควบคุมกาย วาจา ให้เรียบร้อย งดเว้นจากข้อห้ามที่พระพุทธเจ้า
ทรงบัญญัติไว้ได้
สามารถฝึกฝนจิตใจของตนเองให้มีสมาธิอันแน่วแน่จนจิตสงบ
สามารถขจัดสิ่งมัวหมองออกจากใจได้
ก่อให้เกิดปัญญาที่เกิดจากการฝึกปฏิบัตินั้น ทั้งยังเข้าใจโลกและชีวิต
อย่างแจ่มแจ้ง จนสามารถปล่อยวางจากความโลภ ความโกรธ ความหลง
ให้ลดลงจนกระทั่งหมดไปโดยสิ้นเชิง
คุณค่าและประโยชน์ที่ได้จากการปฏิบัติตามหลักธรรม
การสั่งสอนและเผยแผ่พระธรรม
การสั่งสอนและเผยแผ่พระธรรมเป็น
การทาประโยชน์แก่สังคม หมายถึง การทา
ประโยชน์แก่ชาวบ้านผู้ได้อนุเคราะห์
ช่วยเหลือพระสงฆ์ด้วยปัจจัย ๔
หรืออีกนัยหนึ่ง คือ การทาประโยชน์
แก่ชาวโลกทั้งมวล
พระสงฆ์มีหน้าที่สั่งสอนและเผยแผ่พระธรรมให้แก่
ประชาชน
ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๑ พระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงหน้าที่ของพระสงฆ์ในด้านการสั่งสอน
และการเผยแผ่ธรรมแก่ประชาชนไว้๖ ประการ
หน้าที่ของพระสงฆ์ในด้านการสั่งสอนและการเผยแผ่ธรรมแก่ประชาชน
ความสาคัญของการเผยแผ่คาสอนของพระพุทธเจ้า
๒. มารยาทชาวพุทธ
• เมื่อพระมาถึงควรรับรองท่านด้วยอัธยาศัย
ไมตรี
• นิมนต์พระสงฆ์ให้นั่งที่สมควรที่จัดไว้
• ถวายของรับรอง เช่น น้าดื่มหรือน้าผลไม้
ไม่ควรถวายหมากพลู บุหรี่อันเป็นสิ่งเสพติด
• ถ้ายังไม่ถึงเวลาประกอบพิธี เจ้าภาพควรอยู่
ร่วมสนทนากับท่านตามสมควร
• เมื่อเสร็จพิธี ควรเดินตามไปส่งท่านจนพ้น
บริเวณงานหรือไปส่งถึงวัด
การอาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ งานมงคลนิยมนิมนต์พระจานวน ๕ รูป ๗
รูป หรือ ๙ รูป
การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุในงานศาสนพิธีที่บ้าน
ชาวพุทธพึงปฏิบัติต่อพระสงฆ์ในงานศาสนพิธี
ด้วยความเคารพ
การสนทนากับพระภิกษุตามฐานะ
• ควรพูดจาอย่างไพเราะ ไม่กระโชกโฮกฮาก
เสียดสี แดกดัน
• ใช้คาพูดให้ถูกต้องเหมาะสมแก่สถานภาพของ
ตนเองและพระสงฆ์
• ไม่ล้อเล่นกับพระสงฆ์ หรือพูดตลกโปกฮา
• เมื่อพูดกับพระผู้ใหญ่ควรพนมมือพูดกับท่าน
ทุกครั้ง
• ไม่ชวนพระสงฆ์พูดคุยเรื่องที่ไม่เหมาะสม
• เวลาพูดถึงพระสงฆ์ลับหลังพึงพูดด้วยความ
ปรารถนาดี
• เวลาพูดกับพระสงฆ์จะต้องใช้สรรพนามให้
เหมาะสม
บุคคลพึงสนทนากับพระสงฆ์ด้วยความสารวม
การใช้คาพูดกับพระภิกษุตามฐานะ
การแต่งกายในพิธีต่างๆ
การแต่งกายเมื่อไปพบพระที่วัด
หรือนิมนต์พระมาที่บ้าน
• ควรแต่งกายให้สะอาดซึ่งไม่
เกี่ยวกับความเก่า ความใหม่ เสื้อผ้าควรซักรีด
ให้เรียบร้อย รองเท้าก็ขัดให้ดูเงางาม
• แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย
สุภาพสตรีควรแต่งกายให้รัดกุม เช่น ไม่นุ่ง
กระโปรงสั้นจนเกินไป ไม่ใส่เสื้อผ้ารัดรูป
จนเกินไป
การแต่งกายในพิธีต่างๆต้องคานึงถึงความ
สะอาด สุภาพเรียบร้อย และถูกกาลเทศะ
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow14
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 

Mais procurados (20)

แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 

อจท. พระพุทธศาสนา ม.3