SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
THAILAND 4.0
REALITY OR HYPE
Thailand 4.0 Reality or Hype เป็นหัวข้อหนึ่งในงานสัมมนา จัดโดยสถาบันไอเอ็มซี
บรรยายโดย ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
(TDRI) ท่านมองในมุมนโยบายและมาตรการส่งเสริมที่จะนําไปสู่ผลสําเร็จ ภายใต้
โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งเป็นแผนยุทธศาสตร์
ของนโยบาย Thailand 4.0
photo : www.freepik.com
IT TRENDS | SMART THAILAND12
ในที่นี้ ดร. สมเกียรติได้กล่าวถึง มาตรการ 3 ด้านเกี่ยวกับ
การกระตุ้นการลงทุน คือ 1. มาตรการลดหย่อนภาษี 2. มาตรการ
ที่น�าไปสู่ความเชื่อมโยงระหว่างภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา
และการวิจัยพัฒนา และ 3.การเปิดเผยข้อมูล (Big Data) ท�าให้
เกิดธุรกิจใหม่ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
มาตรการลดหย่อนภาษีดีจริงหรือ?
ส�าหรับมาตรการในการลดหย่อนภาษีภายใต้โครงการพัฒนา
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EEC)ตามนโยบายรัฐบาล
นั้นในภาพรวมหากลดภาษีแล้วท�าให้รายได้จากการเก็บภาษีหาย
ไป2.2แสนล้านบาทเพื่อผลักดันและกระตุ้นให้บริษัทต่างประเทศ
เข้ามาลงทุนในประเทศไทยที่คาดหวังให้เกิดการจ้างงานคนไทย
อาจต้องค�านึงถึงผลตอบรับ เพราะหากด้วยต้นทุนดังกล่าวแล้ว
ท�าให้เกิดการจ้างงาน 50,000 ต�าแหน่ง นั่นคือมีต้นทุนเฉลี่ยต่อหัว
ราว 4 ล้านบาท ในความเป็นจริงคนไทยมีรายได้ครอบคลุมหรือไม่
เป็นประเด็นที่ต้องคิดค�านวณ ไม่เช่นนั้นอาจท�าให้ประเทศไทยใช้
มาตรการในการลดหย่อนภาษีที่มีราคาแพงมาก
ความเชื่อมโยงเป็นหัวใจสําคัญ
ในอดีตที่ผ่านมา บริษัทต่างประเทศเข้ามาลงทุนใน
ประเทศไทย แต่พบว่ายังไม่มีมาตรการที่เชื่อมโยงเพื่อให้เกิดการ
ลงทุนระยะยาว หรืออย่างยั่งยืน ปัญหาคือ ไม่มีความเชื่อมโยง
ระหว่างภาคอุตสาหกรรมจากต่างประเทศกับภาคการพัฒนา
บุคลากร รวมทั้งด้านการวิจัยและพัฒนา
มาตรการส่งเสริมต่างๆ ควรมีความเชื่อมโยงกัน กล่าวคือ
ควรมีการสนับสนุนให้เกิดความร่วมมระหว่างภาคอุตสาหกรรม
และภาคการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาบุคลากรพรอมท�างาน
ทันทีที่จบการศึกษา อีกทั้งยังลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากร
ไปด้วย หากแต่ในอดีตที่ผ่านมา สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่
มักไม่มีความเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมในด้านของความ
ร่วมมือของการพัฒนาบุคลากร
ส�าหรับด้านการวิจัยและพัฒนา เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ควร
จะได้รับการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อ
ให้มีการวิจัยและพัฒนาที่ตรงกับความต้องการและพร้อมที่จะน�า
ไปต่อยอดในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะได้เห็นความส�าเร็จของการ
วิจัยและพัฒนาที่น�าไปใช้ได้จริงดังนั้นควรมีการจัดตั้งสถาบันวิจัย
และพัฒนาที่เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม
ตัวอย่างมาตรการส่งเสริมการลงทุนของประเทศสิงคโปร์
มีความเชื่อมโยงกันโดยไม่ใช้มาตรการลดหย่อนภาษี คือนโยบาย
ส่งเสริมให้บริษัทต่างประเทศด้านยา ลงทุนในสิงคโปร์โดยมี
ข้อเสนอด้านความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนาร่วมกันกับ
โรงพยาบาลรัฐซึ่งท�าให้คนของสิงคโปร์มีความรู้และเก่งขึ้นอีกทั้ง
ยังเกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในขณะเดียวกันรัฐยังท�าหน้าที่
เชื่อมโยงด้านการป้อนบุคลากรให้แก่บริษัทที่ลงทุนในสิงคโปร์
ท�าให้เกิดการเสริมทักษะให้กับบุคลากร
การเปิดเผยข้อมูลจุดประกายธุรกิจใหม่
ปัจจุบันประเทศไทยไม่ให้ความส�าคัญกับการเปิดเผยข้อมูล
เพื่อให้เอกชนหรือภาคธุรกิจสามารถน�าไปใช้ในการพัฒนาต่อยอด
ที่จะท�าให้เกิดธุรกิจ และบริการใหม่ๆ หากประเทศไทยมีการ
ส่งเสริมด้วยมาตรการเปิดเผยข้อมูลเชื่อว่าเป็นแนวทางที่ดีต่อการ
พัฒนาประเทศ
ตัวอย่างในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการเปิดเผยข้อมูลจาก
หน่วยงานต่างๆ ของรัฐในระดับพื้นฐานที่ไม่กระทบต่อสิทธิส่วน
บุคคลหรือข้อมูลความลับของรัฐบาล เช่นการเปิดเผยข้อมูลGPS
ส่งผลดีต่อการต่อยอดธุรกิจท�าให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ
แต่อย่างไรก็ตาม แม้จะมีความพยายามในการเปิดเผย
ข้อมูลโดยส�านักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(องค์การมหาชน)หรือ
EGA แต่ไม่ประสบผลส�าเร็จ เนื่องจากไม่ได้รับความร่วมมือจาก
หน่วยงานจ�านวนมาก
โดยสรุปหากประเทศไทยมีแผนพัฒนาที่สร้างระบบนิเวศ
คือมีการเชื่อมโยงระหว่างภาคธุรกิจภาคการศึกษาสถาบันวิจัย
และพัฒนา เชื่อว่าจะส่งเสริมนโยบาย Thailand 4.0 ได้ดี
ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์
ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
้
SMART THAILAND | IT TRENDS 13
นอกจาก พ.ร.บ. EEC (พระราชบัญญัติการพัฒนาระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก) ซึ่งเป็นกรอบนโยบายการพัฒนา
แล้ว ภาครัฐยังมีการสนับสนุนโครงสรางพื้นฐานทางด้านกายภาพ
(Hard Infrastructure) และโครงสรางพื้นฐานด้านการก�ากับดูแล
(SoftInfrastructure)โดยโครงสรางพื้นฐานด้านกายภาพส่วนใหญ่
เป็นโครงการด้านคมนาคมซึ่งครอบคลุมทุกรูปแบบในการเดินทาง
และการขนส่งสินค้าได้แก่ทางรางทางถนนทางน�้าและทางอากาศ
รวมถึงโครงสรางพื้นฐานด้านพลังงานและสาธารณูปโภคได้แก่การ
พัฒนาระบบส่งและกระจายไฟฟ้า การพัฒนาระบบกักเก็บและส่ง
น�้าเพื่ออุปโภคและบริโภคการพัฒนาสิ่งแวดล้อมการท่องเที่ยวและ
สาธารณสุข ส่วนในด้านการก�ากับดูแล ภาครัฐยังมีการให้สิทธิ
พิเศษด้านภาษีทั้งภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้ส่วนบุคคล
การยกเลิกอากรเครื่องจักรน�าเข้าและวัตถุดิบผลิตเพื่อส่งออก เงิน
ทุนสนับสนุนและการอ�านวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการที่เข้ามา
ลงทุนในบริเวณ EEC อีกด้วย
EIC ประเมินว่า ในระยะเริ่มต้น อุตสาหกรรมดิจิทัล
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมหุ่นยนต์
และระบบอัตโนมัติ เป็น 3 อุตสาหกรรมแห่งอนาคตที่มีโอกาส
จะเกิดขึ้นในบริเวณ EEC เมื่อพิจารณาจากความสามารถและ
ทักษะแรงงานผลกระทบทางเศรษฐกิจและประเภทของอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่อง
อุตสาหกรรมการบิน
โอกาสที่มาพร้อมความท้าทาย
ธุรกิจศูนย์ซ่อมบ�ารุงอากาศยาน (MRO) ที่เน้นรองรับเครื่อง
บินล�าตัวแคบ(NarrowBody)จะสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการไทย
เข้าสู่อุตสาหกรรมการผลิตชินส่วนอากาศยานในอนาคต โดยเครื่อง
เจาะลึกอุตสาหกรรมเด่นขานรับโครงการ EEC
นโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor
(EEC) เป็นเครื่องมือสําคัญที่ภาครัฐใช้ดึงดูดการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อใช้ขับเคลื่อน
ประเทศ นโยบายดังกล่าวเป็นการกําหนดบทบาทและหน้าที่ของภาครัฐและกรอบในการพัฒนาพื้นที่
นําร่อง 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นฐานอุตสาหกรรมการผลิตที่สําคัญของ
ประเทศในปัจจุบัน เพื่อสร้างแรงดึงดูดระลอกใหม่ให้นักลงทุนเข้ามาลงทุนใน 10 อุตสาหกรรม
เป้าหมาย ซึ่งแบ่งเป็น 5 อุตสาหกรรมที่มีการลงทุนและมีการดําเนินการแล้วในปัจจุบันหรือ
กลุ่มอุตสาหกรรม First S-Curve และ 5 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต หรือกลุ่มอุตสาหกรรม New
S-Curve ซึ่งจะสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาประเทศในอนาคต
เรียบเรียงจาก : วารสาร Insight ของธนาคารไทยพาณิชย์ Economic Intelligence Center (EIC)
บินล�าตัวแคบที่สายการบินต้นทุนต�่าเลือกใช้มีสัดส่วนกว่า 70%
ของเครื่องบินที่ผ่านสนามบินเข้าออกของไทยทั้งหมดและมี
ปริมาณจะเติบโตอีกกว่า 1.5 เท่าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมถึง
การพัฒนาท่าอากาศยานอู่ตะเภาเพื่อรองรับการท่องเที่ยว จะเป็น
แรงผลักดันส�าคัญต่อผู้ประกอบการไทยในการซ่อมบ�ารุงอากาศยาน
และการผลิตชิ้นส่วนอากาศยานในประเภทชิ้นส่วนหลัก (กลุ่ม
Tier 2) และชิ้นส่วนรอง (กลุ่ม Tier 3) ซึ่งในปัจจุบัน ไทยมีมูลค่า
การส่งออกชิ้นส่วนอากาศยานกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี โดยแบ่ง
เป็นมูลค่าการส่งออกชิ้นส่วนอากาศยานราว 60% ชุดระบบสายไฟ
ราว 30% และที่เหลือเป็นส่วนประกอบเครื่องยนต์และยางล้อ
เครื่องบิน
ภาพประกอบที่ 1: 3 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต
ภาพประกอบที่ 1 : 3 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต
้
้
้
้
้
IT TRENDS | SMART THAILAND14
แนวโน้มอุตสาหกรรมการซ่อมบํารุงอากาศยาน
ความต้องการด้านการซ่อมบ�ารุงอากาศยานในภูมิภาคเอเชีย
แปซิฟิกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามปริมาณการเดินทางทางอากาศ
ขณะที่ขีดความสามารถในการซ่อมบ�ารุงมีจ�ากัดจึงเป็นโอกาสของ
ไทยในการพัฒนาอุตสาหกรรมการบิน ด้วยเศรษฐกิจในภูมิภาค
เอเชียแปซิฟิกที่มีแนวโน้มเติบโตประมาณ 4%CAGR ในอีก 20 ปี
ข้างหน้าจะส่งผลให้ภูมิภาคนี้มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดใน
โลก และท�าให้ปริมาณการเดินทางทางอากาศปรับตัวเพิ่มขึ้นตาม
ไปด้วย
การพัฒนาตามนโยบายดังกล่าว
โดยระยะแรกศูนย์MRO(ศูนย์ซ่อมบ�ารุงอากาศยาน)จะเป็น
โครงการที่ได้รับการพัฒนาขึ้นก่อน จากความร่วมมือของบริษัท
การบินไทย บริษัทผู้ผลิตเครื่องบิน Airbus และหน่วยงานภาครัฐ
ธุรกิจซ่อมบํารุงและการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน
เมื่อกล่าวถึงอุตสาหกรรมการบิน ธุรกิจแรกที่คนส่วนใหญ่
นึกถึงคือสายการบินเนื่องจากเป็นธุรกิจที่ใกล้ตัวผู้บริโภคมากที่สุด
อย่างไรก็ตาม ภายในห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมการบินยังมี
ธุรกิจอื่นๆ ที่น่าสนใจอยู่อีกหลายธุรกิจ เช่น ธุรกิจการผลิตชิ้นส่วน
อากาศยานธุรกิจการซ่อมบ�ารุงอากาศยาน(Maintenance,Repair
and Overhaul: MRO) ธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้า (freight for-
warder) ธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว เป็นต้น โดยห่วงโซ่มูลค่าของ
อุตสาหกรรมการบิน ประกอบด้วย 4 กลุ่มหลัก ดังภาพประกอบ 3
ส�าหรับไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การเติบโตของจ�านวน
นักท่องเที่ยวปรับตัวสูงกว่า 7%CAGR มาอยู่ที่ราว 35 ล้านคนใน
ปี 2017 และคาดว่าจะเติบโตต่อเนื่องกว่า 4.5%CAGR ในอีก 3 ปี
ข้างหน้าส่งผลให้มีปริมาณเครื่องบินเข้ามาในไทยเพิ่มสูงขึ้นท�าให้
ความต้องการในการซ่อมบ�ารุงเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วยทั้งในรูปแบบ
การซ่อมบ�ารุงย่อยในแต่ละครั้งที่transitและการซ่อมบ�ารุงขนาดใหญ่
ซึ่งจะเป็นโอกาสในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมของไทยที่จะช่วย
ประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อไปซ่อมที่ประเทศอื่น
ด้วยความได้เปรียบทางด้านที่ตั้งของไทยซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อการบิน
ภายในกับASEANอีกทั้งบริเวณEECยังเป็นจุดเชื่อมต่อไปยังการ
ขนส่งในรูปแบบอื่นๆทั้งทางรางทางเรือและทางถนนประกอบกับ
ฐานอุตสาหกรรมที่มีอยู่และแรงงานที่มีความสามารถ
การพัฒนาอุตสาหกรรมการบินในบริเวณ EEC
จากพลวัตที่ได้กล่าวข้างต้น ภาครัฐจึงมุ่งสร้างให้อู่ตะเภา
กลายเป็นเมืองการบินภาคตะวันออก(Aerotropolis)คล้ายคลึงกับ
Schipholเนเธอร์แลนด์,Songdoเกาหลีใต้,และZhengzhouจีน
ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่ส�าคัญและก่อให้เกิดการพัฒนา
เมืองโดยรอบพื้นที่กว่า6,500ไร่ของสนามบินอู่ตะเภาจ.ชลบุรี ถูก
จัดวางให้เป็นจุดยุทธศาสตร์ใน
ภาพประกอบที่ 2 : การเติบโตของการเดินทางทางอากาศ
ภาพประกอบที่ 3: ห่วงโซ่มูลค่าอุตสาหกรรมการบิน 4 กลุ่ม
การจัดตั้งศูนย์ MRO ถือเป็นก้าวแรกของไทยในการเข้าร่วม
อุตสาหกรรมการบิน ทั้งในส่วนการซ่อมบ�ารุงและการผลิตชิ้นส่วน
อากาศยาน อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการควรมีการปรับตัวเตรียมเข้า
สู่ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมดังกล่าว ในส่วนการซ่อมบ�ารุง
ผู้ประกอบการต้องมีการฝึกฝนและพัฒนาวิศวกรและช่างซ่อมบ�ารุง
ด้านการบินเพื่อให้ผ่านหลักสูตรการซ่อมบ�ารุงอากาศยานจาก
หน่วยงานควบคุมระดับโลกส่วนผู้ประกอบการที่ต้องการเข้าสู่ธุรกิจ
ผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน ต้องสร้างความน่าเชื่อของผลิตภัณฑ์
และเร่งพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้ทันเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการ
บินโลก
EIC มองว่า เงื่อนไขส�าคัญที่จะท�าให้เมืองการบินภาคตะวัน
ออกส�าเร็จได้ตามแผนที่วางไว้ ประกอบด้วย ความร่วมมือจาก
ผู้เล่นชั้นน�าการพัฒนาบุคลากรและการเป็นจุดเชื่อมต่อการขนส่ง
ขณะที่บุคลากรด้านการบินยังคงเป็นประเด็นส�าคัญที่ภาครัฐจะ
ต้องเร่งพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ที่คาดว่าจะปรับ
เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่าในอนาคต
SMART THAILAND | IT TRENDS 15
อย่างไรก็ดี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอากาศยานยังคง
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�าคัญต่อธุรกิจ MRO และธุรกิจผลิตชิ้นส่วน
อากาศยานที่จะท�าให้ความถี่ในการเข้าซ่อมบ�ารุงลดลง
อุตสาหกรรมดิจิทัล
โอกาสที่มาพร้อมความเข้าใจ
โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลจะสร้างแรงดึงดูดการลงทุนด้าน
InternetofThings(IoT)ซึ่งจะสรางโอกาสต่อผู้ประกอบการในการ
พัฒนา IoT solution ในอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งปัจจุบันการใช้จ่าย
ด้าน IoT ของไทยยังกระจุกตัวอยู่ที่อุตสาหกกรรมการผลิตและ
โลจิสติกส์ขณะที่ภาคการเกษตรยังไม่มีการใช้เทคโนโลยีนี้มากนัก
สะท้อนจากสัดกส่วนการใช้ Embedded Software ซึ่งเป็น
เทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆมีความสามารถในการสื่อสารใน
การเกษตรที่มีการใช้เพียง 0.1% ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต
มีการใช้ถึง76%ของอุปกรณ์ทั้งหมดEICประเมินว่าหากมีการใช้
IoTในการเกษตรเพื่อควบคุมการให้น�้าการควบคุมโรคและศัตรูพืช
และการติดตามสภาพดิน จะสามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้ถึง 30-
50%และหากน�าไปใช้กับพืชเศรษฐกิจเช่นข้าวจะท�าให้เกษตรกร
ไทยสามารถเพิ่มผลผลิตได้ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยโลก ซึ่งผลผลิต
ต่อไร่ของข้าวอยู่ที่ 480 กิโลกรัมต่อไร่
อย่างไรก็ตาม พบว่าอุตสาหกรรมการเกษตรซึ่งเป็น
อุตสาหกรรมส�าคัญของไทยมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ต�่า
กว่าอุตสาหกรรมการผลิตอย่างมาก ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้ว
อย่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่นมีการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในภาค
การเกษตรอย่างเข้มข้น ปัจจุบันกว่า 70% ของการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัลภาคการเกษตรทั่วโลกกระจุกตัวอยู่ในสหรัฐฯ โดยเกษตรกร
มีการน�า IoT, หุ่นยนต์ และเทคโนโลยี GPS มาใช้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต
ภาพประกอบ 4 : IoT กับการเกษตรไทย
ภาพประกอบที่ 5 : IoT Solution ด้านการเกษตรไทย
การเกษตรแบบแม่นย�า นอกจากการประยุกต์ใช้ IoT เป็นอีก
ทางเลือกหนึ่งที่จะบรรเทาปัญหาของเกษตรกรไทยในปัจจุบันทั้งนี้
3 IoT solutions ที่เกษตรกรควรน�ามาประยุกต์ใช้ คือ
1) การควบคุมการให้น�้า (Water Controlling) สามารถช่วย
เกษตรกรที่ต้องเผชิญกับปัญหาภัยแล้งและการใช้น�้ามากเกินความ
จ�าเป็น
2) การควบคุมโรคและศัตรูพืช (Pest and Disease Control
System) ซึ่งสามารถลดต้นทุนการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชได้ถึง
25% และช่วยลดการน�าเข้าสารเคมีทางการเกษตร
3) การติดตามสภาพดิน (Soil Monitoring) ส่งผลให้การ
น�าเข้าปุ๋ ยเคมีลดลง เนื่องจาก IoT สามารถช่วยให้เกษตรกร
ประมาณการณ์การใช้ปุ๋ ยได้อย่างเหมาะสม
ภาครัฐควรส่งเสริมและให้ความรูแก่เกษตรกรและร่วมมือกับ
ผู้ประกอบการเพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการเกษตร
EEC กับอุตสาหกรรมดิจิทัล
การปรับตัวของภาคธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสิ่งส�าคัญ
มากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมดิจิทัลมีการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเข้มข้นซึ่งประกอบด้วยสินค้าดิจิทัลบริการ
ดิจิทัล และโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล
้
้
้
IT TRENDS | SMART THAILAND16
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติผ่านมาตรการกระตุ้นทั้ง
ด้านอุปสงค์และอุปทาน
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์กับต้นทุนจากการใช้งาน
หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ประกอบกับปัญหาการขาดแคลน
แรงงาน และราคาหุ่นยนต์ที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง EIC
ประเมินว่า การลงทุนในหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติอยู่ในระดับ
คุ้มค่าแก่การลงทุนแล้วในปัจจุบัน และคาดว่าจะส่งผลให้ความ
ต้องการใช้ระบบดังกล่าวในสายการผลิตขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน
อนาคต ซึ่งถือเป็นโอกาสของ SI และ End-Users ขณะที่ภาครัฐ
ภาคเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ควรมุ่งพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อ
บรรเทาผลกระทบจากการถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
ในสายการผลิต
จากนโยบายและความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน
คมนาคมและสาธารณูปโภคต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ภาครัฐยัง
ควรต้องมีการสร้างความเชื่อมั่นต่อนักลงทุน การสร้าง
แรงงานที่มีทักษะเหมาะสม และการเตรียมพร้อมด้านสังคม
และสิ่งแวดล้อม การประชาสัมพันธ์ต่อนักลงทุนตั้งแต่
กระบวนการขออนุญาต จนถึงการอนุมัติการลงทุนและการ
ด�าเนินกิจการ รวมทั้งการให้ข้อมูลทางด้านสภาพเศรษฐกิจ
กายภาพและสังคมซึ่งเป็นอีกกระบวนการหนึ่งที่ส�าคัญที่ภาค
รัฐไม่ควรมองข้าม
ระยะเริ่มต้นDigitalParkThailandถูกก�าหนดให้เป็นโครงการ
flagship บนพื้นที่ EEC เพื่อดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมดิจิทัล
โดยมีการก�าหนดพื้นที่กว่า700ไร่ในบริเวณอ.ศรีราชาจ.ชลบุรีและ
แบ่งการพัฒนาเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1) พื้นที่สรางสรรค์นวัตกรรม
ดิจิทัล ศูนย์กลางการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีดิจิทัล
มหาวิทยาลัยและสถาบันสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล เช่น IoT
Institute 2) พื้นที่ลงทุนส�าหรับธุรกิจดิจิทัลต่างประเทศที่ต้องการ
เข้ามาลงทุนในไทย และ 3) พื้นที่ที่อยู่อาศัยภายใต้ระบบอัจฉริยะ
EIC ประเมินว่าเมื่อโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลเสร็จสมบูรณ์ การ
ลงทุนด้าน IoT (Internet of Things) มีแนวโน้มที่จะเกิดตามมา
ท่ามกลางธุรกิจดิจิทัลซึ่งประกอบด้วย1)ธุรกิจพัฒนาและให้บริการ
ซอฟต์แวร์2)ธุรกิจe-Commerce3)ธุรกิจศูนย์รวบรวมและวิเคราะห์
ข้อมูลผู้บริโภค (analytics and data center) 4) ธุรกิจให้บริการ
เกี่ยวกับหน่วยจัดเก็บข้อมูลและการประมวลผลออนไลน์ (cloud
computing) และธุรกิจป้องกันอันตรายในโลกไซเบอร์ (cyber
security) และ 5) ธุรกิจพัฒนาเทคโนโลยีเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ของอุปกรณ์ต่างๆ (IoT) EIC มองว่าปัจจัยสนับสนุนด้านโครงสราง
พื้นฐานดิจิทัลใน Digital Park Thailand ไม่ว่าจะเป็น IoT Institute
รวมถึงการผ่อนคลายกฎระเบียบและการมีสนามทดลอง (living
lab & testbed sandbox) ล้วนสนับสนุนให้เกิดการออกแบบ วิจัย
ค้นคว้าพัฒนาที่สนับสนุนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับIoTส่งผลให้การลงทุน
ในธุรกิจด้าน IoT มีแนวโน้มขยายตัวมากกว่าธุรกิจอื่นๆ
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
โอกาสที่มาพร้อมกับความเสี่ยง
ความคุ้มค่าของการลงทุนในหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติใน
ปัจจุบันและการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจึงเป็นโอกาสให้ผู้ประกอบการ
ไทยก้าวเข้าสู่ธุรกิจผู้ให้บริการด้านการรวมระบบ(SystemIntegra-
tor: SI) โดยเมื่อพิจารณาถึงความสามารถในการทดแทนแรงงาน
และค่าใช้จ่ายในการลงทุน EIC พบว่าการใช้ระบบหุ่นยนต์
และระบบอัตโนมัติจะคุ้มทุนภายในระยะเวลา 6-10 ปี ขณะที่
หุ่นยนต์อุตสาหกรรมในปัจจุบันมีอายุการใช้งานสูงสุดราว12ปี จะ
สรางโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยก้าวเข้าสู่ธุรกิจผู้ให้บริการด้านการ
รวมระบบ (System Integrator: SI) ซึ่งท�าหน้าที่ให้ค�าปรึกษา
ออกแบบและจัดหาระบบอัตโนมัติจากผู้ผลิตหุ่นยนต์และผู้พัฒนา
ซอฟต์แวร์มาติดตั้งตามความต้องการของEndUsersซึ่งในอนาคต
แรงงานกว่า6.5แสนคนมีโอกาสที่จะถูกทดแทนหากมีการน�าระบบ
ดังกล่าวมาใช้อย่างเต็มรูปแบบ แต่ก็จะมีการสรางงานใหม่ที่
เกี่ยวข้องมากขึ้นเช่นกัน
ความต้องการใช้หุ่นยนต์ทั่วโลกมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อ
เนื่องโดยมีแรงผลักดันจากการขาดแคลนแรงงานและการปรับตัว
ลงของราคาหุ่นยนต์ส�าหรับประเทศไทยการขาดแคลนแรงงานและ
แนวโน้มค่าแรงที่สูงขึ้น ส่งผลให้รัฐบาลไทยมีนโยบายส่งเสริม
ภาพประกอบที่ 6: อุตสาหกรรมหุ่นยนต์
้
้
้
้
้
SMART THAILAND | IT TRENDS 17
ÃÐÂÐàÇÅÒͺÃÁ 35 ªÑ่ÇâÁ§
àÃÕ¹·Ø¡ÇѹÍѧ¤ÒÃàÇÅÒ 9.00 - 17.00.¹.
ÃØ‹¹·Õ่ 1 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 27 ¡ØÁÀҾѹ¸, 6, 13, 20, 27 ÁÕ¹Ò¤Á 2018
ÃØ‹¹·Õ่ 2 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 18, 25 ¡Ñ¹ÂÒ¹, 2, 9, 16 µØÅÒ¤Á 2018
ÃØ‹¹·Õ่ 7 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 15 ÁÕ¹Ò¤Á 2018
ÃØ‹¹·Õ่ 8 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 13 ¡Ñ¹ÂÒ¹ 2018
àÃÕ¹·Ø¡Çѹ¾ÄËÑʺ´ÕàÇÅÒ 18.00 -21.00 ¹.
áÅÐÇѹàÊÒÏ 9.00 - 17.00 ¹.
¡ÒùÓà·¤â¹âÅÂÕãËÁ‹àª‹¹ Hadoop, NoSQL ËÃ×Í NewSQL ࢌÒÁÒ㪌§Ò¹
µŒÍ§ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ãà¾×่ÍãˌࢌÒ㨡ÒÃ㪌෤â¹âÅÂÕàËÅ‹Ò¹Õ้ ÃÇÁ¶Ö§ÁÕ¤ÇÒÁÃٌ㹡ÒÃ
ÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§æ ËÅÑ¡Êٵà Big Data Certification ໚¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ120 ªÑ่ÇâÁ§
·Õ่µŒÍ§¡ÒþѲ¹ÒãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌ࢌÒ㨶֧àÃ×่ͧ¢Í§ Big Data ÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒö
㹡ÒÃ㪌à¤Ã×่ͧÁ×͵‹Ò§æ ࢌÒã¨ã¹àÃ×่ͧ¢Í§ Business Intelligence áÅÐ Data Science
µÅÍ´¨¹àÃ×่ͧÃÙŒ¡ÒÃ·Ó Big Data µÑ้§áµ‹ÇÒ§¡ÅÂØ·¸ ¨¹¶Ö§¡ÒÃ·Ó Predictive Analytics
´ŒÇ Large-Scale Machine Learning ¡ÒÃÊ͹ã¹ËÅÑ¡ÊٵùÕ้»ÃСͺ仴ŒÇ¡ÒÃ
ºÃÃÂÒ ¡ÒÃ·Ó Workshop â´Â¨ÐÁÕ¡ÒõԴµÑ้§ãªŒà¤Ã×่ͧÁ×Í Big Data ¨ÃÔ§æ ·Õ่ÊÒÁÒö
·Ó§Ò¹ä´ŒÃÇÁ¶Ö§¡ÒÃ㪌§Ò¹º¹Ãкº Cloud
¡ÒùÓà·¤â¹âÅÂÕãËÁ‹àª‹¹ Hadoop, NoSQL ËÃ×Í NewSQL ࢌÒÁÒ㪌§Ò¹
µŒÍ§ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ãà¾×่ÍãˌࢌÒ㨡ÒÃ㪌෤â¹âÅÂÕàËÅ‹Ò¹Õ้ ÃÇÁ¶Ö§ÁÕ¤ÇÒÁÃٌ㹡ÒÃ
ÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§æ ËÅÑ¡Êٵà Big Data Certification ໚¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ120 ªÑ่ÇâÁ§
·Õ่µŒÍ§¡ÒþѲ¹ÒãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌ࢌÒ㨶֧àÃ×่ͧ¢Í§ Big Data ÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒö
㹡ÒÃ㪌à¤Ã×่ͧÁ×͵‹Ò§æ ࢌÒã¨ã¹àÃ×่ͧ¢Í§ Business Intelligence áÅÐ Data Science
µÅÍ´¨¹àÃ×่ͧÃÙŒ¡ÒÃ·Ó Big Data µÑ้§áµ‹ÇÒ§¡ÅÂØ·¸ ¨¹¶Ö§¡ÒÃ·Ó Predictive Analytics
´ŒÇ Large-Scale Machine Learning ¡ÒÃÊ͹ã¹ËÅÑ¡ÊٵùÕ้»ÃСͺ仴ŒÇ¡ÒÃ
ºÃÃÂÒ ¡ÒÃ·Ó Workshop â´Â¨ÐÁÕ¡ÒõԴµÑ้§ãªŒà¤Ã×่ͧÁ×Í Big Data ¨ÃÔ§æ ·Õ่ÊÒÁÒö
·Ó§Ò¹ä´ŒÃÇÁ¶Ö§¡ÒÃ㪌§Ò¹º¹Ãкº Cloud
Digital Transformation Strategy ໚¹ËÅÑ¡Êٵ÷Õ่¶Ù¡Í͡ẺÁÒà¾×่ÍÁØ‹§à¹Œ¹
ª‹ÇÂàµÔÁàµ็Á¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒã¨áÅÐÊÌҧ»ÃÐ⪹ãˌᡋ·‹Ò¹ã¹¡Ò÷Õ่¨Ð …
1. ࢌÒ㨶֧¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§áÅмšÃзº·Õ่¨Ðà¡Ô´¢Ö้¹ã¹âÅ¡´Ô¨Ô·ÑÅ
2. ࢌÒ㨶֧á¹Ç⹌Á¢Í§à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·Èµ‹Ò§æ ·Ñ้§·Õ่¡ÓÅѧ¨ÐࢌÒÁÒ Disrupt
¡Ò÷ӸØáԨ áÅÐÁÒª‹ÇÂÊÌҧÁÙŤ‹Ò㹡Ò÷ӸØáԨ ÃÇÁ·Ñ้§·ÓãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕ่§
µ‹Í¸ØáԨ¢Í§·‹Ò¹ â´ÂÃÇÁ件֧¹âºÒÂáÅС¯ËÁÒµ‹Ò§æ ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§
3. ÃѺ·ÃÒº¡Ã³ÕÈÖ¡ÉÒÊÓ¤ÑÞÍѹ໚¹º·àÃÕ¹·Õ่໚¹»ÃÐ⪹µ‹Í¡ÒûÃѺ»ÃÐÂØ¡µãªŒ
à¾×่Í¡ÒõÑ้§ÃѺ¡Ñº¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§ã¹âÅ¡´Ô¨Ô·ÑÅ
4. ÊÒÁÒö¡Ó˹´·ÔÈ·Ò§ÇҧἹ¡ÒÃÊÌҧ¡ÅÂØ·¸´ŒÒ¹´Ô¨Ô·ÑÅãËŒ¡ÑºÍ§¤¡Ã ¡ÒÃÊÌҧ
ÇѲ¹¸ÃÃÁáÅСÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ã à¾×่Íãˌͧ¤¡ÃÊÒÁÒöᢋ§¢Ñ¹áÅСŒÒǷѹÀÒÂ㵌
¡ÃÐáÊ¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§¢Í§âÅ¡´Ô¨Ô·ÑÅ
5. ÊÒÁÒö·Õ่¨ÐµÔ´µÒÁáÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¤ÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒáÅСÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§ã¹Í§¤¡Ã·Õ่
à¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃÇÒ§¡ÅÂØ·¸´ŒÒ¹´Ô¨Ô·ÑÅ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016IMC Institute
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10IMC Institute
 
Digital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnut
Digital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnutDigital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnut
Digital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnutAsst.Prof.Dr.Arnut Ruttanatirakul
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมIMC Institute
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14IMC Institute
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
Career path r2
Career path r2Career path r2
Career path r2siroros
 
906702 it for mgt - september 6r2
906702 it for mgt  - september 6r2906702 it for mgt  - september 6r2
906702 it for mgt - september 6r2siroros
 

Mais procurados (16)

Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11Tanyaluck nathi 607 11
Tanyaluck nathi 607 11
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
Digital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnut
Digital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnutDigital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnut
Digital Transformation in Business_RMUTSB_28_feb2019_dr.arnut
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Digital transformation พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2560
 
Career path r2
Career path r2Career path r2
Career path r2
 
906702 it for mgt - september 6r2
906702 it for mgt  - september 6r2906702 it for mgt  - september 6r2
906702 it for mgt - september 6r2
 

Semelhante a Thailand 4.0 Reality or Hype

การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) Thailand Board of Investment North America
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลกthammasat university
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก  01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก thammasat university
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfkittithaithana
 
Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023SirintornIns
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECUtai Sukviwatsirikul
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technologypantapong
 
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdfNECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdfPawachMetharattanara
 
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aecปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ AecMudhita Ubasika
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECPatteera Somsong
 

Semelhante a Thailand 4.0 Reality or Hype (20)

Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
 
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก  01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
01 กลยุทธ์ในการแข่งขันในตลาดโลก
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023Thaialnd Service Robot Market 2023
Thaialnd Service Robot Market 2023
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AEC
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdfNECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
NECTEC-presentation-TH-Service-Robot-Market-2023.pdf
 
AEC_360.pdf
AEC_360.pdfAEC_360.pdf
AEC_360.pdf
 
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aecปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
Thai Industrial Development
 Thai Industrial Development  Thai Industrial Development
Thai Industrial Development
 

Mais de IMC Institute

Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019IMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12IMC Institute
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital TransformationIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11IMC Institute
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon ValleyIMC Institute
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง IMC Institute
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger IMC Institute
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgIMC Institute
 
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)IMC Institute
 
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)IMC Institute
 
Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)IMC Institute
 
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learningจัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine LearningIMC Institute
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018IMC Institute
 
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018IMC Institute
 
Thailand IT Trends 2018
Thailand  IT Trends 2018Thailand  IT Trends 2018
Thailand IT Trends 2018IMC Institute
 
IT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC Institute
IT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC InstituteIT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC Institute
IT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC InstituteIMC Institute
 

Mais de IMC Institute (17)

Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
 
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
 
Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)
 
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learningจัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
 
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018
 
Thailand IT Trends 2018
Thailand  IT Trends 2018Thailand  IT Trends 2018
Thailand IT Trends 2018
 
IT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC Institute
IT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC InstituteIT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC Institute
IT Trends Vol.2 No .7 นิตยสารของ IMC Institute
 

Thailand 4.0 Reality or Hype

  • 1. THAILAND 4.0 REALITY OR HYPE Thailand 4.0 Reality or Hype เป็นหัวข้อหนึ่งในงานสัมมนา จัดโดยสถาบันไอเอ็มซี บรรยายโดย ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ท่านมองในมุมนโยบายและมาตรการส่งเสริมที่จะนําไปสู่ผลสําเร็จ ภายใต้ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งเป็นแผนยุทธศาสตร์ ของนโยบาย Thailand 4.0 photo : www.freepik.com IT TRENDS | SMART THAILAND12
  • 2. ในที่นี้ ดร. สมเกียรติได้กล่าวถึง มาตรการ 3 ด้านเกี่ยวกับ การกระตุ้นการลงทุน คือ 1. มาตรการลดหย่อนภาษี 2. มาตรการ ที่น�าไปสู่ความเชื่อมโยงระหว่างภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา และการวิจัยพัฒนา และ 3.การเปิดเผยข้อมูล (Big Data) ท�าให้ เกิดธุรกิจใหม่ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ มาตรการลดหย่อนภาษีดีจริงหรือ? ส�าหรับมาตรการในการลดหย่อนภาษีภายใต้โครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EEC)ตามนโยบายรัฐบาล นั้นในภาพรวมหากลดภาษีแล้วท�าให้รายได้จากการเก็บภาษีหาย ไป2.2แสนล้านบาทเพื่อผลักดันและกระตุ้นให้บริษัทต่างประเทศ เข้ามาลงทุนในประเทศไทยที่คาดหวังให้เกิดการจ้างงานคนไทย อาจต้องค�านึงถึงผลตอบรับ เพราะหากด้วยต้นทุนดังกล่าวแล้ว ท�าให้เกิดการจ้างงาน 50,000 ต�าแหน่ง นั่นคือมีต้นทุนเฉลี่ยต่อหัว ราว 4 ล้านบาท ในความเป็นจริงคนไทยมีรายได้ครอบคลุมหรือไม่ เป็นประเด็นที่ต้องคิดค�านวณ ไม่เช่นนั้นอาจท�าให้ประเทศไทยใช้ มาตรการในการลดหย่อนภาษีที่มีราคาแพงมาก ความเชื่อมโยงเป็นหัวใจสําคัญ ในอดีตที่ผ่านมา บริษัทต่างประเทศเข้ามาลงทุนใน ประเทศไทย แต่พบว่ายังไม่มีมาตรการที่เชื่อมโยงเพื่อให้เกิดการ ลงทุนระยะยาว หรืออย่างยั่งยืน ปัญหาคือ ไม่มีความเชื่อมโยง ระหว่างภาคอุตสาหกรรมจากต่างประเทศกับภาคการพัฒนา บุคลากร รวมทั้งด้านการวิจัยและพัฒนา มาตรการส่งเสริมต่างๆ ควรมีความเชื่อมโยงกัน กล่าวคือ ควรมีการสนับสนุนให้เกิดความร่วมมระหว่างภาคอุตสาหกรรม และภาคการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาบุคลากรพรอมท�างาน ทันทีที่จบการศึกษา อีกทั้งยังลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากร ไปด้วย หากแต่ในอดีตที่ผ่านมา สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ มักไม่มีความเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมในด้านของความ ร่วมมือของการพัฒนาบุคลากร ส�าหรับด้านการวิจัยและพัฒนา เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ควร จะได้รับการส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อ ให้มีการวิจัยและพัฒนาที่ตรงกับความต้องการและพร้อมที่จะน�า ไปต่อยอดในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะได้เห็นความส�าเร็จของการ วิจัยและพัฒนาที่น�าไปใช้ได้จริงดังนั้นควรมีการจัดตั้งสถาบันวิจัย และพัฒนาที่เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม ตัวอย่างมาตรการส่งเสริมการลงทุนของประเทศสิงคโปร์ มีความเชื่อมโยงกันโดยไม่ใช้มาตรการลดหย่อนภาษี คือนโยบาย ส่งเสริมให้บริษัทต่างประเทศด้านยา ลงทุนในสิงคโปร์โดยมี ข้อเสนอด้านความร่วมมือในการวิจัยและพัฒนาร่วมกันกับ โรงพยาบาลรัฐซึ่งท�าให้คนของสิงคโปร์มีความรู้และเก่งขึ้นอีกทั้ง ยังเกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในขณะเดียวกันรัฐยังท�าหน้าที่ เชื่อมโยงด้านการป้อนบุคลากรให้แก่บริษัทที่ลงทุนในสิงคโปร์ ท�าให้เกิดการเสริมทักษะให้กับบุคลากร การเปิดเผยข้อมูลจุดประกายธุรกิจใหม่ ปัจจุบันประเทศไทยไม่ให้ความส�าคัญกับการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้เอกชนหรือภาคธุรกิจสามารถน�าไปใช้ในการพัฒนาต่อยอด ที่จะท�าให้เกิดธุรกิจ และบริการใหม่ๆ หากประเทศไทยมีการ ส่งเสริมด้วยมาตรการเปิดเผยข้อมูลเชื่อว่าเป็นแนวทางที่ดีต่อการ พัฒนาประเทศ ตัวอย่างในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการเปิดเผยข้อมูลจาก หน่วยงานต่างๆ ของรัฐในระดับพื้นฐานที่ไม่กระทบต่อสิทธิส่วน บุคคลหรือข้อมูลความลับของรัฐบาล เช่นการเปิดเผยข้อมูลGPS ส่งผลดีต่อการต่อยอดธุรกิจท�าให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ แต่อย่างไรก็ตาม แม้จะมีความพยายามในการเปิดเผย ข้อมูลโดยส�านักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(องค์การมหาชน)หรือ EGA แต่ไม่ประสบผลส�าเร็จ เนื่องจากไม่ได้รับความร่วมมือจาก หน่วยงานจ�านวนมาก โดยสรุปหากประเทศไทยมีแผนพัฒนาที่สร้างระบบนิเวศ คือมีการเชื่อมโยงระหว่างภาคธุรกิจภาคการศึกษาสถาบันวิจัย และพัฒนา เชื่อว่าจะส่งเสริมนโยบาย Thailand 4.0 ได้ดี ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ้ SMART THAILAND | IT TRENDS 13
  • 3. นอกจาก พ.ร.บ. EEC (พระราชบัญญัติการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก) ซึ่งเป็นกรอบนโยบายการพัฒนา แล้ว ภาครัฐยังมีการสนับสนุนโครงสรางพื้นฐานทางด้านกายภาพ (Hard Infrastructure) และโครงสรางพื้นฐานด้านการก�ากับดูแล (SoftInfrastructure)โดยโครงสรางพื้นฐานด้านกายภาพส่วนใหญ่ เป็นโครงการด้านคมนาคมซึ่งครอบคลุมทุกรูปแบบในการเดินทาง และการขนส่งสินค้าได้แก่ทางรางทางถนนทางน�้าและทางอากาศ รวมถึงโครงสรางพื้นฐานด้านพลังงานและสาธารณูปโภคได้แก่การ พัฒนาระบบส่งและกระจายไฟฟ้า การพัฒนาระบบกักเก็บและส่ง น�้าเพื่ออุปโภคและบริโภคการพัฒนาสิ่งแวดล้อมการท่องเที่ยวและ สาธารณสุข ส่วนในด้านการก�ากับดูแล ภาครัฐยังมีการให้สิทธิ พิเศษด้านภาษีทั้งภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้ส่วนบุคคล การยกเลิกอากรเครื่องจักรน�าเข้าและวัตถุดิบผลิตเพื่อส่งออก เงิน ทุนสนับสนุนและการอ�านวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการที่เข้ามา ลงทุนในบริเวณ EEC อีกด้วย EIC ประเมินว่า ในระยะเริ่มต้น อุตสาหกรรมดิจิทัล อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ เป็น 3 อุตสาหกรรมแห่งอนาคตที่มีโอกาส จะเกิดขึ้นในบริเวณ EEC เมื่อพิจารณาจากความสามารถและ ทักษะแรงงานผลกระทบทางเศรษฐกิจและประเภทของอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง อุตสาหกรรมการบิน โอกาสที่มาพร้อมความท้าทาย ธุรกิจศูนย์ซ่อมบ�ารุงอากาศยาน (MRO) ที่เน้นรองรับเครื่อง บินล�าตัวแคบ(NarrowBody)จะสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการไทย เข้าสู่อุตสาหกรรมการผลิตชินส่วนอากาศยานในอนาคต โดยเครื่อง เจาะลึกอุตสาหกรรมเด่นขานรับโครงการ EEC นโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor (EEC) เป็นเครื่องมือสําคัญที่ภาครัฐใช้ดึงดูดการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อใช้ขับเคลื่อน ประเทศ นโยบายดังกล่าวเป็นการกําหนดบทบาทและหน้าที่ของภาครัฐและกรอบในการพัฒนาพื้นที่ นําร่อง 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นฐานอุตสาหกรรมการผลิตที่สําคัญของ ประเทศในปัจจุบัน เพื่อสร้างแรงดึงดูดระลอกใหม่ให้นักลงทุนเข้ามาลงทุนใน 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย ซึ่งแบ่งเป็น 5 อุตสาหกรรมที่มีการลงทุนและมีการดําเนินการแล้วในปัจจุบันหรือ กลุ่มอุตสาหกรรม First S-Curve และ 5 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต หรือกลุ่มอุตสาหกรรม New S-Curve ซึ่งจะสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาประเทศในอนาคต เรียบเรียงจาก : วารสาร Insight ของธนาคารไทยพาณิชย์ Economic Intelligence Center (EIC) บินล�าตัวแคบที่สายการบินต้นทุนต�่าเลือกใช้มีสัดส่วนกว่า 70% ของเครื่องบินที่ผ่านสนามบินเข้าออกของไทยทั้งหมดและมี ปริมาณจะเติบโตอีกกว่า 1.5 เท่าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมถึง การพัฒนาท่าอากาศยานอู่ตะเภาเพื่อรองรับการท่องเที่ยว จะเป็น แรงผลักดันส�าคัญต่อผู้ประกอบการไทยในการซ่อมบ�ารุงอากาศยาน และการผลิตชิ้นส่วนอากาศยานในประเภทชิ้นส่วนหลัก (กลุ่ม Tier 2) และชิ้นส่วนรอง (กลุ่ม Tier 3) ซึ่งในปัจจุบัน ไทยมีมูลค่า การส่งออกชิ้นส่วนอากาศยานกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี โดยแบ่ง เป็นมูลค่าการส่งออกชิ้นส่วนอากาศยานราว 60% ชุดระบบสายไฟ ราว 30% และที่เหลือเป็นส่วนประกอบเครื่องยนต์และยางล้อ เครื่องบิน ภาพประกอบที่ 1: 3 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ภาพประกอบที่ 1 : 3 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ้ ้ ้ ้ ้ IT TRENDS | SMART THAILAND14
  • 4. แนวโน้มอุตสาหกรรมการซ่อมบํารุงอากาศยาน ความต้องการด้านการซ่อมบ�ารุงอากาศยานในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามปริมาณการเดินทางทางอากาศ ขณะที่ขีดความสามารถในการซ่อมบ�ารุงมีจ�ากัดจึงเป็นโอกาสของ ไทยในการพัฒนาอุตสาหกรรมการบิน ด้วยเศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิกที่มีแนวโน้มเติบโตประมาณ 4%CAGR ในอีก 20 ปี ข้างหน้าจะส่งผลให้ภูมิภาคนี้มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดใน โลก และท�าให้ปริมาณการเดินทางทางอากาศปรับตัวเพิ่มขึ้นตาม ไปด้วย การพัฒนาตามนโยบายดังกล่าว โดยระยะแรกศูนย์MRO(ศูนย์ซ่อมบ�ารุงอากาศยาน)จะเป็น โครงการที่ได้รับการพัฒนาขึ้นก่อน จากความร่วมมือของบริษัท การบินไทย บริษัทผู้ผลิตเครื่องบิน Airbus และหน่วยงานภาครัฐ ธุรกิจซ่อมบํารุงและการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน เมื่อกล่าวถึงอุตสาหกรรมการบิน ธุรกิจแรกที่คนส่วนใหญ่ นึกถึงคือสายการบินเนื่องจากเป็นธุรกิจที่ใกล้ตัวผู้บริโภคมากที่สุด อย่างไรก็ตาม ภายในห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมการบินยังมี ธุรกิจอื่นๆ ที่น่าสนใจอยู่อีกหลายธุรกิจ เช่น ธุรกิจการผลิตชิ้นส่วน อากาศยานธุรกิจการซ่อมบ�ารุงอากาศยาน(Maintenance,Repair and Overhaul: MRO) ธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้า (freight for- warder) ธุรกิจตัวแทนท่องเที่ยว เป็นต้น โดยห่วงโซ่มูลค่าของ อุตสาหกรรมการบิน ประกอบด้วย 4 กลุ่มหลัก ดังภาพประกอบ 3 ส�าหรับไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การเติบโตของจ�านวน นักท่องเที่ยวปรับตัวสูงกว่า 7%CAGR มาอยู่ที่ราว 35 ล้านคนใน ปี 2017 และคาดว่าจะเติบโตต่อเนื่องกว่า 4.5%CAGR ในอีก 3 ปี ข้างหน้าส่งผลให้มีปริมาณเครื่องบินเข้ามาในไทยเพิ่มสูงขึ้นท�าให้ ความต้องการในการซ่อมบ�ารุงเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วยทั้งในรูปแบบ การซ่อมบ�ารุงย่อยในแต่ละครั้งที่transitและการซ่อมบ�ารุงขนาดใหญ่ ซึ่งจะเป็นโอกาสในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมของไทยที่จะช่วย ประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อไปซ่อมที่ประเทศอื่น ด้วยความได้เปรียบทางด้านที่ตั้งของไทยซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อการบิน ภายในกับASEANอีกทั้งบริเวณEECยังเป็นจุดเชื่อมต่อไปยังการ ขนส่งในรูปแบบอื่นๆทั้งทางรางทางเรือและทางถนนประกอบกับ ฐานอุตสาหกรรมที่มีอยู่และแรงงานที่มีความสามารถ การพัฒนาอุตสาหกรรมการบินในบริเวณ EEC จากพลวัตที่ได้กล่าวข้างต้น ภาครัฐจึงมุ่งสร้างให้อู่ตะเภา กลายเป็นเมืองการบินภาคตะวันออก(Aerotropolis)คล้ายคลึงกับ Schipholเนเธอร์แลนด์,Songdoเกาหลีใต้,และZhengzhouจีน ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่ส�าคัญและก่อให้เกิดการพัฒนา เมืองโดยรอบพื้นที่กว่า6,500ไร่ของสนามบินอู่ตะเภาจ.ชลบุรี ถูก จัดวางให้เป็นจุดยุทธศาสตร์ใน ภาพประกอบที่ 2 : การเติบโตของการเดินทางทางอากาศ ภาพประกอบที่ 3: ห่วงโซ่มูลค่าอุตสาหกรรมการบิน 4 กลุ่ม การจัดตั้งศูนย์ MRO ถือเป็นก้าวแรกของไทยในการเข้าร่วม อุตสาหกรรมการบิน ทั้งในส่วนการซ่อมบ�ารุงและการผลิตชิ้นส่วน อากาศยาน อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการควรมีการปรับตัวเตรียมเข้า สู่ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมดังกล่าว ในส่วนการซ่อมบ�ารุง ผู้ประกอบการต้องมีการฝึกฝนและพัฒนาวิศวกรและช่างซ่อมบ�ารุง ด้านการบินเพื่อให้ผ่านหลักสูตรการซ่อมบ�ารุงอากาศยานจาก หน่วยงานควบคุมระดับโลกส่วนผู้ประกอบการที่ต้องการเข้าสู่ธุรกิจ ผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน ต้องสร้างความน่าเชื่อของผลิตภัณฑ์ และเร่งพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตให้ทันเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการ บินโลก EIC มองว่า เงื่อนไขส�าคัญที่จะท�าให้เมืองการบินภาคตะวัน ออกส�าเร็จได้ตามแผนที่วางไว้ ประกอบด้วย ความร่วมมือจาก ผู้เล่นชั้นน�าการพัฒนาบุคลากรและการเป็นจุดเชื่อมต่อการขนส่ง ขณะที่บุคลากรด้านการบินยังคงเป็นประเด็นส�าคัญที่ภาครัฐจะ ต้องเร่งพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ที่คาดว่าจะปรับ เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่าในอนาคต SMART THAILAND | IT TRENDS 15
  • 5. อย่างไรก็ดี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอากาศยานยังคง เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�าคัญต่อธุรกิจ MRO และธุรกิจผลิตชิ้นส่วน อากาศยานที่จะท�าให้ความถี่ในการเข้าซ่อมบ�ารุงลดลง อุตสาหกรรมดิจิทัล โอกาสที่มาพร้อมความเข้าใจ โครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลจะสร้างแรงดึงดูดการลงทุนด้าน InternetofThings(IoT)ซึ่งจะสรางโอกาสต่อผู้ประกอบการในการ พัฒนา IoT solution ในอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งปัจจุบันการใช้จ่าย ด้าน IoT ของไทยยังกระจุกตัวอยู่ที่อุตสาหกกรรมการผลิตและ โลจิสติกส์ขณะที่ภาคการเกษตรยังไม่มีการใช้เทคโนโลยีนี้มากนัก สะท้อนจากสัดกส่วนการใช้ Embedded Software ซึ่งเป็น เทคโนโลยีที่ช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆมีความสามารถในการสื่อสารใน การเกษตรที่มีการใช้เพียง 0.1% ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต มีการใช้ถึง76%ของอุปกรณ์ทั้งหมดEICประเมินว่าหากมีการใช้ IoTในการเกษตรเพื่อควบคุมการให้น�้าการควบคุมโรคและศัตรูพืช และการติดตามสภาพดิน จะสามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้ถึง 30- 50%และหากน�าไปใช้กับพืชเศรษฐกิจเช่นข้าวจะท�าให้เกษตรกร ไทยสามารถเพิ่มผลผลิตได้ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยโลก ซึ่งผลผลิต ต่อไร่ของข้าวอยู่ที่ 480 กิโลกรัมต่อไร่ อย่างไรก็ตาม พบว่าอุตสาหกรรมการเกษตรซึ่งเป็น อุตสาหกรรมส�าคัญของไทยมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่ต�่า กว่าอุตสาหกรรมการผลิตอย่างมาก ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้ว อย่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่นมีการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในภาค การเกษตรอย่างเข้มข้น ปัจจุบันกว่า 70% ของการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลภาคการเกษตรทั่วโลกกระจุกตัวอยู่ในสหรัฐฯ โดยเกษตรกร มีการน�า IoT, หุ่นยนต์ และเทคโนโลยี GPS มาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต ภาพประกอบ 4 : IoT กับการเกษตรไทย ภาพประกอบที่ 5 : IoT Solution ด้านการเกษตรไทย การเกษตรแบบแม่นย�า นอกจากการประยุกต์ใช้ IoT เป็นอีก ทางเลือกหนึ่งที่จะบรรเทาปัญหาของเกษตรกรไทยในปัจจุบันทั้งนี้ 3 IoT solutions ที่เกษตรกรควรน�ามาประยุกต์ใช้ คือ 1) การควบคุมการให้น�้า (Water Controlling) สามารถช่วย เกษตรกรที่ต้องเผชิญกับปัญหาภัยแล้งและการใช้น�้ามากเกินความ จ�าเป็น 2) การควบคุมโรคและศัตรูพืช (Pest and Disease Control System) ซึ่งสามารถลดต้นทุนการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชได้ถึง 25% และช่วยลดการน�าเข้าสารเคมีทางการเกษตร 3) การติดตามสภาพดิน (Soil Monitoring) ส่งผลให้การ น�าเข้าปุ๋ ยเคมีลดลง เนื่องจาก IoT สามารถช่วยให้เกษตรกร ประมาณการณ์การใช้ปุ๋ ยได้อย่างเหมาะสม ภาครัฐควรส่งเสริมและให้ความรูแก่เกษตรกรและร่วมมือกับ ผู้ประกอบการเพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการเกษตร EEC กับอุตสาหกรรมดิจิทัล การปรับตัวของภาคธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสิ่งส�าคัญ มากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมดิจิทัลมีการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเข้มข้นซึ่งประกอบด้วยสินค้าดิจิทัลบริการ ดิจิทัล และโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล ้ ้ ้ IT TRENDS | SMART THAILAND16
  • 6. อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติผ่านมาตรการกระตุ้นทั้ง ด้านอุปสงค์และอุปทาน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างประโยชน์กับต้นทุนจากการใช้งาน หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ประกอบกับปัญหาการขาดแคลน แรงงาน และราคาหุ่นยนต์ที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง EIC ประเมินว่า การลงทุนในหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติอยู่ในระดับ คุ้มค่าแก่การลงทุนแล้วในปัจจุบัน และคาดว่าจะส่งผลให้ความ ต้องการใช้ระบบดังกล่าวในสายการผลิตขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน อนาคต ซึ่งถือเป็นโอกาสของ SI และ End-Users ขณะที่ภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ควรมุ่งพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อ บรรเทาผลกระทบจากการถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ในสายการผลิต จากนโยบายและความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน คมนาคมและสาธารณูปโภคต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว ภาครัฐยัง ควรต้องมีการสร้างความเชื่อมั่นต่อนักลงทุน การสร้าง แรงงานที่มีทักษะเหมาะสม และการเตรียมพร้อมด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม การประชาสัมพันธ์ต่อนักลงทุนตั้งแต่ กระบวนการขออนุญาต จนถึงการอนุมัติการลงทุนและการ ด�าเนินกิจการ รวมทั้งการให้ข้อมูลทางด้านสภาพเศรษฐกิจ กายภาพและสังคมซึ่งเป็นอีกกระบวนการหนึ่งที่ส�าคัญที่ภาค รัฐไม่ควรมองข้าม ระยะเริ่มต้นDigitalParkThailandถูกก�าหนดให้เป็นโครงการ flagship บนพื้นที่ EEC เพื่อดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมดิจิทัล โดยมีการก�าหนดพื้นที่กว่า700ไร่ในบริเวณอ.ศรีราชาจ.ชลบุรีและ แบ่งการพัฒนาเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1) พื้นที่สรางสรรค์นวัตกรรม ดิจิทัล ศูนย์กลางการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยและสถาบันสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล เช่น IoT Institute 2) พื้นที่ลงทุนส�าหรับธุรกิจดิจิทัลต่างประเทศที่ต้องการ เข้ามาลงทุนในไทย และ 3) พื้นที่ที่อยู่อาศัยภายใต้ระบบอัจฉริยะ EIC ประเมินว่าเมื่อโครงสรางพื้นฐานดิจิทัลเสร็จสมบูรณ์ การ ลงทุนด้าน IoT (Internet of Things) มีแนวโน้มที่จะเกิดตามมา ท่ามกลางธุรกิจดิจิทัลซึ่งประกอบด้วย1)ธุรกิจพัฒนาและให้บริการ ซอฟต์แวร์2)ธุรกิจe-Commerce3)ธุรกิจศูนย์รวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลผู้บริโภค (analytics and data center) 4) ธุรกิจให้บริการ เกี่ยวกับหน่วยจัดเก็บข้อมูลและการประมวลผลออนไลน์ (cloud computing) และธุรกิจป้องกันอันตรายในโลกไซเบอร์ (cyber security) และ 5) ธุรกิจพัฒนาเทคโนโลยีเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ของอุปกรณ์ต่างๆ (IoT) EIC มองว่าปัจจัยสนับสนุนด้านโครงสราง พื้นฐานดิจิทัลใน Digital Park Thailand ไม่ว่าจะเป็น IoT Institute รวมถึงการผ่อนคลายกฎระเบียบและการมีสนามทดลอง (living lab & testbed sandbox) ล้วนสนับสนุนให้เกิดการออกแบบ วิจัย ค้นคว้าพัฒนาที่สนับสนุนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับIoTส่งผลให้การลงทุน ในธุรกิจด้าน IoT มีแนวโน้มขยายตัวมากกว่าธุรกิจอื่นๆ อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ โอกาสที่มาพร้อมกับความเสี่ยง ความคุ้มค่าของการลงทุนในหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติใน ปัจจุบันและการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจึงเป็นโอกาสให้ผู้ประกอบการ ไทยก้าวเข้าสู่ธุรกิจผู้ให้บริการด้านการรวมระบบ(SystemIntegra- tor: SI) โดยเมื่อพิจารณาถึงความสามารถในการทดแทนแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการลงทุน EIC พบว่าการใช้ระบบหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติจะคุ้มทุนภายในระยะเวลา 6-10 ปี ขณะที่ หุ่นยนต์อุตสาหกรรมในปัจจุบันมีอายุการใช้งานสูงสุดราว12ปี จะ สรางโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยก้าวเข้าสู่ธุรกิจผู้ให้บริการด้านการ รวมระบบ (System Integrator: SI) ซึ่งท�าหน้าที่ให้ค�าปรึกษา ออกแบบและจัดหาระบบอัตโนมัติจากผู้ผลิตหุ่นยนต์และผู้พัฒนา ซอฟต์แวร์มาติดตั้งตามความต้องการของEndUsersซึ่งในอนาคต แรงงานกว่า6.5แสนคนมีโอกาสที่จะถูกทดแทนหากมีการน�าระบบ ดังกล่าวมาใช้อย่างเต็มรูปแบบ แต่ก็จะมีการสรางงานใหม่ที่ เกี่ยวข้องมากขึ้นเช่นกัน ความต้องการใช้หุ่นยนต์ทั่วโลกมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อ เนื่องโดยมีแรงผลักดันจากการขาดแคลนแรงงานและการปรับตัว ลงของราคาหุ่นยนต์ส�าหรับประเทศไทยการขาดแคลนแรงงานและ แนวโน้มค่าแรงที่สูงขึ้น ส่งผลให้รัฐบาลไทยมีนโยบายส่งเสริม ภาพประกอบที่ 6: อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ้ ้ ้ ้ ้ SMART THAILAND | IT TRENDS 17
  • 7.
  • 8. ÃÐÂÐàÇÅÒͺÃÁ 35 ªÑ่ÇâÁ§ àÃÕ¹·Ø¡ÇѹÍѧ¤ÒÃàÇÅÒ 9.00 - 17.00.¹. ÃØ‹¹·Õ่ 1 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 27 ¡ØÁÀҾѹ¸, 6, 13, 20, 27 ÁÕ¹Ò¤Á 2018 ÃØ‹¹·Õ่ 2 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 18, 25 ¡Ñ¹ÂÒ¹, 2, 9, 16 µØÅÒ¤Á 2018 ÃØ‹¹·Õ่ 7 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 15 ÁÕ¹Ò¤Á 2018 ÃØ‹¹·Õ่ 8 àÃÔ่ÁàÃÕ¹ 13 ¡Ñ¹ÂÒ¹ 2018 àÃÕ¹·Ø¡Çѹ¾ÄËÑʺ´ÕàÇÅÒ 18.00 -21.00 ¹. áÅÐÇѹàÊÒÏ 9.00 - 17.00 ¹. ¡ÒùÓà·¤â¹âÅÂÕãËÁ‹àª‹¹ Hadoop, NoSQL ËÃ×Í NewSQL ࢌÒÁÒ㪌§Ò¹ µŒÍ§ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ãà¾×่ÍãˌࢌÒ㨡ÒÃ㪌෤â¹âÅÂÕàËÅ‹Ò¹Õ้ ÃÇÁ¶Ö§ÁÕ¤ÇÒÁÃٌ㹡Òà ÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§æ ËÅÑ¡Êٵà Big Data Certification ໚¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ120 ªÑ่ÇâÁ§ ·Õ่µŒÍ§¡ÒþѲ¹ÒãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌ࢌÒ㨶֧àÃ×่ͧ¢Í§ Big Data ÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒö 㹡ÒÃ㪌à¤Ã×่ͧÁ×͵‹Ò§æ ࢌÒã¨ã¹àÃ×่ͧ¢Í§ Business Intelligence áÅÐ Data Science µÅÍ´¨¹àÃ×่ͧÃÙŒ¡ÒÃ·Ó Big Data µÑ้§áµ‹ÇÒ§¡ÅÂØ·¸ ¨¹¶Ö§¡ÒÃ·Ó Predictive Analytics ´ŒÇ Large-Scale Machine Learning ¡ÒÃÊ͹ã¹ËÅÑ¡ÊٵùÕ้»ÃСͺ仴ŒÇ¡Òà ºÃÃÂÒ ¡ÒÃ·Ó Workshop â´Â¨ÐÁÕ¡ÒõԴµÑ้§ãªŒà¤Ã×่ͧÁ×Í Big Data ¨ÃÔ§æ ·Õ่ÊÒÁÒö ·Ó§Ò¹ä´ŒÃÇÁ¶Ö§¡ÒÃ㪌§Ò¹º¹Ãкº Cloud ¡ÒùÓà·¤â¹âÅÂÕãËÁ‹àª‹¹ Hadoop, NoSQL ËÃ×Í NewSQL ࢌÒÁÒ㪌§Ò¹ µŒÍ§ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ãà¾×่ÍãˌࢌÒ㨡ÒÃ㪌෤â¹âÅÂÕàËÅ‹Ò¹Õ้ ÃÇÁ¶Ö§ÁÕ¤ÇÒÁÃٌ㹡Òà ÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§æ ËÅÑ¡Êٵà Big Data Certification ໚¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ120 ªÑ่ÇâÁ§ ·Õ่µŒÍ§¡ÒþѲ¹ÒãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌ࢌÒ㨶֧àÃ×่ͧ¢Í§ Big Data ÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒö 㹡ÒÃ㪌à¤Ã×่ͧÁ×͵‹Ò§æ ࢌÒã¨ã¹àÃ×่ͧ¢Í§ Business Intelligence áÅÐ Data Science µÅÍ´¨¹àÃ×่ͧÃÙŒ¡ÒÃ·Ó Big Data µÑ้§áµ‹ÇÒ§¡ÅÂØ·¸ ¨¹¶Ö§¡ÒÃ·Ó Predictive Analytics ´ŒÇ Large-Scale Machine Learning ¡ÒÃÊ͹ã¹ËÅÑ¡ÊٵùÕ้»ÃСͺ仴ŒÇ¡Òà ºÃÃÂÒ ¡ÒÃ·Ó Workshop â´Â¨ÐÁÕ¡ÒõԴµÑ้§ãªŒà¤Ã×่ͧÁ×Í Big Data ¨ÃÔ§æ ·Õ่ÊÒÁÒö ·Ó§Ò¹ä´ŒÃÇÁ¶Ö§¡ÒÃ㪌§Ò¹º¹Ãкº Cloud Digital Transformation Strategy ໚¹ËÅÑ¡Êٵ÷Õ่¶Ù¡Í͡ẺÁÒà¾×่ÍÁØ‹§à¹Œ¹ ª‹ÇÂàµÔÁàµ็Á¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒã¨áÅÐÊÌҧ»ÃÐ⪹ãˌᡋ·‹Ò¹ã¹¡Ò÷Õ่¨Ð … 1. ࢌÒ㨶֧¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§áÅмšÃзº·Õ่¨Ðà¡Ô´¢Ö้¹ã¹âÅ¡´Ô¨Ô·ÑÅ 2. ࢌÒ㨶֧á¹Ç⹌Á¢Í§à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·Èµ‹Ò§æ ·Ñ้§·Õ่¡ÓÅѧ¨ÐࢌÒÁÒ Disrupt ¡Ò÷ӸØáԨ áÅÐÁÒª‹ÇÂÊÌҧÁÙŤ‹Ò㹡Ò÷ӸØáԨ ÃÇÁ·Ñ้§·ÓãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕ่§ µ‹Í¸ØáԨ¢Í§·‹Ò¹ â´ÂÃÇÁ件֧¹âºÒÂáÅС¯ËÁÒµ‹Ò§æ ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§ 3. ÃѺ·ÃÒº¡Ã³ÕÈÖ¡ÉÒÊÓ¤ÑÞÍѹ໚¹º·àÃÕ¹·Õ่໚¹»ÃÐ⪹µ‹Í¡ÒûÃѺ»ÃÐÂØ¡µãªŒ à¾×่Í¡ÒõÑ้§ÃѺ¡Ñº¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§ã¹âÅ¡´Ô¨Ô·ÑÅ 4. ÊÒÁÒö¡Ó˹´·ÔÈ·Ò§ÇҧἹ¡ÒÃÊÌҧ¡ÅÂØ·¸´ŒÒ¹´Ô¨Ô·ÑÅãËŒ¡ÑºÍ§¤¡Ã ¡ÒÃÊÌҧ ÇѲ¹¸ÃÃÁáÅСÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ã à¾×่Íãˌͧ¤¡ÃÊÒÁÒöᢋ§¢Ñ¹áÅСŒÒǷѹÀÒÂ㵌 ¡ÃÐáÊ¡ÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§¢Í§âÅ¡´Ô¨Ô·ÑÅ 5. ÊÒÁÒö·Õ่¨ÐµÔ´µÒÁáÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¤ÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒáÅСÒÃà»ÅÕ่¹á»Å§ã¹Í§¤¡Ã·Õ่ à¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃÇÒ§¡ÅÂØ·¸´ŒÒ¹´Ô¨Ô·ÑÅ