SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 49
Baixar para ler offline
การทําลายเชื้อและการทําใหปราศจากเชื้อ
โดย นางทัศนีย นิมนภาโรจน
งานจายกลาง
โรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ
ความหมาย
การทําลายเชื้อ (Disinfection) หมายถึง การกําจัดเชื้อจุลชีพที่แปด
เปอนบนอุปกรณเครื่องมือทางการแพทยหรือบนพื้นผิวตาง ๆ ใหลดลง
ถึงระดับที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพแตไมรวมถึงการทําลายสปอร
การทําใหปราศจากเชื้อ (Sterilization) หมายถึง กระบวนการใน
การทาลายเชื้อหรือขจัดเชื้อจุลชีพทุกชนิด รวมทั้งสปอรของเชื้อ
แบคทีเรียจากเครื่องมือทางการแพทย
ความตานทานของเชื้อโรค
สปอร Bacillus subtilis
วัณโรค MycobacteriumTuberculosis
Polio Virus
เชื้อรา Trichophyton spp.
Psudomonas, Staphylococcus
ไวรัสขนาดกลาง HBV HIV
Disinfection
อุปกรณเครื่องมือแพทยหรือ
พื้นผิวตางๆ •Disinfectant
ผิวหนังหรือสวนตาง ๆ
ของรางกาย
•Antiseptic
การกําจัดเชื้อจุลชีพ ใช สารเคมี : น้ํายาทําลายเชื้อ
การจัดแบงประเภทอุปกรณเครื่องมือทางการแพทย
Critical
• เครื่องมือที่ตอง
สอดใสเขาสู
เนื้อเยื่อของ
รางกายหรือเขาสู
กระแสโลหิต
Semi-critical
• เครื่องมือที่ตอง
สัมผัสกับเยื่อบุของ
รางกาย (mucous
membrane) หรือ
ผิวหนังที่มีบาดแผล
มีรอยถลอก
Non-Critical
• เครื่องมือที่สัมผัส
ผิวหนังทั่วๆไป
วิธีการทําลายเชื้อ
Medical Instruments
Semi-critical Items Non-critical Items
Disinfection Disinfection
High Level Intermediate Level Low Level
ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทําลายเชื้อ
ไมทําความ
สะอาด หรือทํา
ไมดีพอ
เลือกใชน้ํายาไม
เหมาะสม
น้ํายาปนเปอน
เชื้อแบคทีเรีย
วิธีการแชไม
ถูกตอง
ระยะเวลาการ
แชไมเหมาะสม
การลางน้ํายา
หลังการแชไม
เหมาะสมเกิด
การปนเปอนซ้ํา
ใชน้ํายาทําลาย
เชื้อมากเกิน
จําเปน
ความ
ผิดพลาดใน
การทําลาย
เชื้อ
ไมตระหนักถึง
อันตรายที่จะเกิด :
PPE ขาดความ
ระมัดระวัง
ใช Antiseptic ใน
การทําความ
สะอาดไม
เหมาะสม
ใชเทคนิคปลอด
เชื้อในการเตรียม
น้ํายา และภาชนะ
ไมถูกตอง
ไมมีนโยบาย แนว
ทางการทําลายเชื้อ
หรือมีแตไมมีการ
ควบคุมกํากับอยาง
เปนระบบและ
ตอเนื่อง
บุคลากรขาดการ
ฟนฟูความรูที่
ทันสมัย
ทําตามความเคย
ชิน โดยขาด
เหตุผลทาง
วิชาการ
ความผิดพลาด
ในการทําลาย
เชื้อ (ตอ)
Sterilization System
เป้ าหมาย
อุปกรณ เครื่องมือแพทย
ปราศจากเชื้อ จนกระทั่ง
เปดใชกับผูรับบริการ
ผูปวยปลอดภัย
1. เขตปนเปอน
(Soiled Zone)
2. เขตสะอาด
(Clean Zone)
3. เขตเก็บของ
ปราศจากเชื้อ
(Sterile Zone)
การจัดแบงพื้นที่ปฏิบัติงาน
เสนทางสัญจร และการระบายอากาศ
WORK FLOW
Dirty
Clean
AIR FLOW
Clean
Dirty
PEOPLE
FLOW
Clean
Dirty
Sterilization Process
Storage and distribution of sterile
packing
Monitoring of sterilization
Loading of sterilizer
Packing
Cleaning
Sterilization
Process
Transport
Clean
Inspection
Packing
Sterilization
Storage
Distribution
use
Cleaning
HOW !!!!
กําจัดสิ่งสกปรกที่มองเห็นดวยตาเปลา เชน คราบเลือด
เนื้อเยื่อ หนอง เสมหะ น้ํายา
ลดปริมาณและชนิดของเชื้อโรคที่ปนเปอน
เพิ่มประสิทธิภาพของการฆาเชื้อ
เครื่องมือ
สแตน
เลส
เครื่องมือ
ยาง
เครื่องมือ
แกว
เครื่องมือ
พลาสติก
แยกตามชนิดของวัสดุ
ปัจจัยทีมีผลต่อการล้างทําความสะอาด
สารขัดลาง
คุณภาพน้ํา
ลักษณะของเครื่องมือ
แรงขัดถู/แรงดันน้ํา
เวลา อุณหภูมิ
เครื่องลาง อุปกรณการขัดลาง
บุคลากร
Biofilm
อุปกรณ์การขัดล้าง
การตรวจสอบ Cleaning
ตัวชี้วัดขั้นตอนการลาง
- คราบสกปรก
- คราบน้ํากระดางตกคาง
- การใส PPE ที่ไมถูกตอง
- การใชสารขัดลางไมถูกตอง
Can we reuse of SUDs??
ขอยกเวน
• 1. คาใชจายในความคุมคารวมการ
ลาง ทําลายเชื้อ บรรจุ คาแรง คา
นา ไฟฟา จัดเก็บ และขนสง
• 2. มีการประกันวาสามารถใชได
มากกวา 1 ครั้งจากบริษัทผูผลิต
• 3. มีนโยบายที่สามารถใหนํา
กระบวนการการใชซ้ํามาใชไดใน
การทําหัตถการนั้นๆ
• 4. จนท.ตองผานการอบรมในเรื่อง
การขจัดสิ่งสกปรกและการฆาเชื้อ
และมีความรูความสามารถ
ขอหาม
• 1.อุปกรณที่เขียนวาหามนํามา Reprocess
• 2. ถาอุปกรณที่ใชครั้งเดียวนั้นไมสามารถทํา
ความสะอาดไดหรือทําความสะอาดไมหมด
หรือชํารุดขณะทําความสะอาดหามนํา
อุปกรณนั้นมาใชอีก
• 3.อุปกรณที่ภายหลังผานการฆาเชื้อแลวไม
สามารถแสดงใหเห็นถึงความสมบูรณของ
การทํางานได
• 4.อุปกรณถูกเปดออกและปนเปอนหาม
นํามาใชจนกวาจะผานการ Reprocessing
• 5.วัสดุอุปกรณที่ทางผูผลิตเห็นวาไมให
นํามาใชซ้ําเนื่องจากคุณสมบัติของวัสดุ
เปลี่ยนไปภายหลังผานการ Reuse
Can we reuse of SUDs??
1. อุปกรณนั้นตองคงสภาพการใชงานใกลเคียงครั้งแรก ไมชํารุด ไมมีสาร
ตกคางเมื่อผานกระบวนการทําใหปราศจากเชื้อ
2. อุปกรณนั้นสามารถลางทําความสะอาดได
3. อุปกรณนั้นสามารถทําใหปราศจากเชื้อดวยเทคโนโลยีที่ รพ. มี
4. กําหนดจํานวนครั้งการใชงาน โดยพิจารณาจาก Cost and Patient
Safety Analysis
5. ติดตาม ผป. ที่มีการใช SUDs
Inspection & assembly
Inspection& assembly
- ปองกันความเสียหายของอุปกรณเครื่องมือ
- ชวยคงสภาพความปราศจากเชื้อตราบจนเปดใชงานกับผูปวย
Sterilization Process
Packing
วัสดุที่ใช
Reuse
ผา Woven
rigid container
Metal drum
!!!!!
Disposable
Medical
grader paper
Non woven
Peel pouches
plastic roll
Polyethylene
film
Polyamide :
nylon film
ขอพิจารณาเพื่อการเลือกหีบหอเครื่องมือ
- ชนิดและลักษณะของเครื่องมือ
- การนําไปใชงาน
- วิธีการทําใหปราศจากเชื้อ
- สภาวะในการเก็บรักษาหอ
อุปกรณปราศจากเชื้อ
- การแจกจายอุปกรณปราศจากเชื้อ
- งบประมาณ
เทคนิค & ขอควรระวัง
-ขนาด 12x12x20นิ้ว
-น้ําหนัก ผา ไมเกิน 5.5 กก.
-เครื่องมือ ไมเกิน 11.35 กก.
-ชุดเครื่องมือที่ยืมจากบริษัท
-การปดผนึกหออุปกรณ
การปดฉลากหออุปกรณ
การจัดเรียงหออุปกรณใน loading car
การตรวจสอบ Packing
ตัวชี้วัดขั้นตอนการจัดชุดอุปกรณ
มีการชํารุดเสียหายของเครื่องมือ
จัดชุดสลับ Set เครื่องมือหาย
มีการปริ แยก ของรอยผนึกซอง peel pouch
การจัดชุดเครื่องผามี นน. และขนาดเกินมาตรฐาน
การจัดวาง indicator ภายในผิดตําแหนง ลืมใส
เลือกวัสดุไมเหมาะสมกับการจัดชุดอุปกรณ
ไมมีตัวบงชี้เคมีภายนอก หรือมีขนาดสั้นเกินไป
Loading of Sterilizer
การตรวจสอบ Loading of sterilizer
จัดเรียงอุปกรณผิดวิธี
ชุดอุปกรณเปยกชื้น
ผาหอกระดํากระดาง ไมไดรับการซักหลัง
ใชงาน
How to sterilization !!!!
เครื่องมือมีหลากหลายจะเลือกวิธีไหนดี....
Heat is the best .
การเลือกวิธีการทําใหปราศจากเชื้อ
พิจารณาการทนตอ
ความรอนของอุปกรณ
เครื่องมือ
ทนความรอนสูงได
Steam Dry Heat
ทนความรอนไมได
Gas น้ํายาเคมี
Monitoring of sterilization
เพื่อใหมั่นใจวาอุปกรณการแพทยปราศจากเชื้อ
เพื่อคนหาสิ่งผิดปกติ ขอบกพรองที่เกิดจากกระบวนการทําใหปราศจากเชื้ออยางรวดเร็วและสามารถ
แกไขไดอยางทันทวงที
เพื่อใหสามารถนําหออุปกรณที่เกิดความผิดพลาดในการทําใหปราศจากเชื้อกลับคืนจากหนวยงาน
กอนที่จะถูกนําไปใชกับผูปวย
เพื่อใหโรงพยาบาลมีมาตรฐานในการทําใหปราศจากเชื้อ
ตรวจสอบทางกลไก Mechanical Monitoring
ตรวจสอบทางเคมี Chemical Monitoring
ตรวจสอบทางชีวภาพ Biological Monitoring
ตรวจสอบทางกลไก Mechanical Monitoring
ตรวจสอบความผิดพลาดของการทํางานของเครื่อง Sterilizer
ดูจากมาตรวัด อุณหภูมิ ความดัน
เวลา Printout
ตรวจสอบทางเคมี Chemical Monitoring
ตัวบงชี้ทางเคมี Chemical indicator
ตรวจสอบวาสารที่เปนตัวกลางทําใหปราศจากเชื้อ : ไอน้ํา Gas ไดสัมผัส
แทรกซึมเขาไปในหออุปกรณหรือไม ดูการเปลี่ยนสี ภายนอก /ใน
ใชทดสอบการทําใหเกิดภาวะสุญญากาศในชองอบเครื่องนึ่งไอนา Bowie
dick test
ตรวจสอบความผิดพลาดที่มีผลจาก
@ การหออุปกรณไมถูกวิธี จัดเรียงหอไมถูกวิธี
@ การมีอากาศอยูในเครื่อง
อากาศเปนตัวกั้นไมใหไอน้ําแทรกซึมเขาสูหออุปกรณ
ตรวจสอบทางเคมี Chemical Monitoring
ตรวจสอบทางเคมี Chemical Monitoring
ภายนอก
Gas: EO , H2O2 , ไอนา
ภายใน
ตรวจสอบทางชีวภาพ Biological Monitoring
H2O2 , EO , ไอน้ํา Test pack ไอน้ํา Test pack Gas
Product Recall
การเรียกของกลับคืนเมื่อผลการตรวจสอบคุณภาพการทําให
ปราศจากเชื้อทางชีวภาพไมผาน ทุกรอบจนถึงรอบสุดทายที่ใหผล
เปนลบ (ผาน)
Storage and distribution of sterile packing
T = 18-22 c Hum. = 35-70 % สูงจากพื้น 8 ฝาผนัง 2 ฝาเพดาน18 นิ้ว
ระยะเวลาคงสภาพปลอดเชื้อ
วิธีการหอ
หอดวยผา หรือ
กระดาษ
หอดวยซอง
พลาสติก - กระดาษ
ระยะเวลาที่เก็บได
1 เดือน
1 ป
หมายเหตุ: เก็บในอุณหภูมิ 18-22 c ความชื้นสัมพัทธ 35-70%
การตรวจสอบก่อนการใช้เครืองมือปราศจากเชือ
- สภาพหอบรรจุ
- ฉลากบนหอบรรจุ ว/ด/ป ผลิตและหมดอายุ
- External Indicator /เทปลาย
- Internal Indicator
Shelf life
นโยบาย และวิธีปฏิบัติและการตรวจสอบ
สถานที่ในการจัดเก็บ
วัสดุและเทคนิคในการหอ ตองสามารถกั้นเชื้อโรค และความชื้นได
สภาพของหออุปกรณ ไมฉีกขาดหลุดลุยหรือ เปยก (Wet Pack)
การหยิบจับอุปกรณ หยิบจับแตนอย เนนการลางมือกอนหยิบ
ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพการทําใหปราศจากเชื้อ
ความรูการใชเครื่องนึ่ง ไมปฏิบัติตามขั้นตอน
การทําความสะอาดและการจัดเตรียมอุปกรณทั้งขนาดและปริมาณในแตละหอ
การเลือกวิธีการทําใหปราศจากเชื้อใหเหมาะสมกับประเภทและลักษณะของ
อุปกรณ
การจัดเรียงหออุปกรณเขาเครื่อง STERILIZER
การดูแลบํารุงรักษาเครื่องมือ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บMy Parents
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 

Mais procurados (20)

VAP
VAPVAP
VAP
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ34การเย็บฝีเย็บ
34การเย็บฝีเย็บ
 
SSI
SSISSI
SSI
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 

Mais de งานควบคุมโรคต รพ.ธรรมศาสตร์

การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดงานควบคุมโรคต รพ.ธรรมศาสตร์
 

Mais de งานควบคุมโรคต รพ.ธรรมศาสตร์ (8)

The successful handwashing in ophthalmology ward
The successful handwashing in ophthalmology wardThe successful handwashing in ophthalmology ward
The successful handwashing in ophthalmology ward
 
Emerging infectious disease
Emerging infectious diseaseEmerging infectious disease
Emerging infectious disease
 
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพหลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
หลักการใช้ยาต้านจุลชีพ
 
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
 
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาลการติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
Definitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infectionDefinitions of nosocomial infection
Definitions of nosocomial infection
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 

การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ