SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 2
ชื่อเรื่อง       การพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้น
             ฐาน โดยใช้การจัดการความรู้
            ของโรงเรียนวัดวนาสันต์ (โศกนาคสามัคคี)
ผู้วิจัย          นายทานิน จันทะขาล
หน่วยงาน        โรงเรียนวัดวนาสันต์ (โศกนาคสามัคคี) สำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรมย์ เขต 4
                       ั
ปีการศึกษา       2552
                           บทคัดย่อ
       การวิจยครังนีมีวตถุประสงค์เพือพัฒนาโรงเรียนวัดวนาสันต์ (โศกนาค
             ั ้ ้ ั                ่
สามัคคี) ให้มีมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเมินกระบวนการ
จัดการความรู้ และศึกษาความคิดเห็นของครู นักเรียน และผู้
ปกครอง ที่มีต่อคุณภาพการศึกษา วิธีดำาเนินการวิจัยใช้การวิจัยเชิง
ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุมผูรวมปฏิบตการวิจยและให้ขอมูลหลัก
                              ่ ้่       ั ิ     ั         ้
ได้แก่ ครู นักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 และผู้ปกครองของ
                       ้
นักเรียน เครื่องมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมิน
                         ่
กระบวนการจัดการความรู้ แบบสอบถามความคิดเห็น และแบบ
บันทึกรายการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่า
เฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
       ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการดำาเนินโครงการ โรงเรียนวัดวนา
สันต์ (โศกนาคสามัคคี) มีปัญหาทั้งด้านคุณภาพการบริหาร
คุณภาพครู และคุณภาพนักเรียน การพัฒนาในวงรอบที่ 1 เริม            ่
จาก       การสร้างความรู้ความเข้าใจ และตรวจสอบสถานภาพของ
โรงเรียน จากนั้นได้จัดทำาและดำาเนินโครงการพัฒนาสถานศึกษาสู่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเมินผล และสะท้อนผลการ
พัฒนา การพัฒนาในวงรอบที่ 2 ได้ปรับลดและเพิ่มเติมโครงการ
และกิจกรรมตามสภาพบริบทของโรงเรียนและชุมชนที่เปลี่ยนไป
ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องหรือข้อจำากัดที่อาจเป็นสาเหตุทำาให้การ
ดำาเนินโครงการไม่ประสบผลสำาเร็จ ผลการพัฒนาพบว่า
       1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับดี ได้รบรางวัล ั
และเกียรติบัตรจากการร่วมแข่งขันกิจกรรมเป็นจำานวนมาก โรงเรียน
ผู้บริหารโรงเรียน และครูได้รับการพัฒนา ได้รับรางวัลและเกียรติ
บัตร เช่น โรงเรียนได้รับรางวัลมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละการสอบ O-
NET ช่วงชั้นที่ 2 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ ครูได้
รับรางวัลครูดในดวงใจ ผูบริหารได้รบรางวัลผูบริหารสถานศึกษาดีเด่น
              ี            ้        ั      ้
และจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาขันพืนฐานของ ้ ้
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ด้านการศึกษาปฐมวัย
                                   ้ ้
และด้านประถมศึกษา อยูในระดับดีมาก
                               ่
        2. ผลการประเมินกระบวนการจัดการความรู้ พบว่าโดยรวมมี
การปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้าน
การแสวงหาความรู้ รองลงมาคือ ด้านการกำาหนดความรู้ ส่วนด้าน
ที่มีค่าเฉลียตำ่าสุดคือ ด้านการนำาความรูไปใช้
            ่                           ้
        3. ผลการศึกษาความคิดเห็นของครู นักเรียน และผู้
ปกครองที่มีต่อคุณภาพการศึกษา พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก
ที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลียสูงสุดคือด้านการบริหารและจัดการศึกษา
                             ่
รองลงมาคือด้านคุณภาพผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยตำ่าที่สุดคือ
ด้านการเรียนการสอน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีพัน พัน
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาCha-am Chattraphon
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556Kapook Bank
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยkrukon
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยguest41395d
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapนิพ พิทา
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลChao Chao
 

Mais procurados (19)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
R nattapong
R nattapongR nattapong
R nattapong
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design map
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิล
 

Semelhante a บทคัดย่อทานิน

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานAon Narinchoti
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 

Semelhante a บทคัดย่อทานิน (20)

การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
B1
B1B1
B1
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
2
22
2
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 

บทคัดย่อทานิน

  • 1. ชื่อเรื่อง การพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้น ฐาน โดยใช้การจัดการความรู้ ของโรงเรียนวัดวนาสันต์ (โศกนาคสามัคคี) ผู้วิจัย นายทานิน จันทะขาล หน่วยงาน โรงเรียนวัดวนาสันต์ (โศกนาคสามัคคี) สำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาบุรีรมย์ เขต 4 ั ปีการศึกษา 2552 บทคัดย่อ การวิจยครังนีมีวตถุประสงค์เพือพัฒนาโรงเรียนวัดวนาสันต์ (โศกนาค ั ้ ้ ั ่ สามัคคี) ให้มีมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเมินกระบวนการ จัดการความรู้ และศึกษาความคิดเห็นของครู นักเรียน และผู้ ปกครอง ที่มีต่อคุณภาพการศึกษา วิธีดำาเนินการวิจัยใช้การวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุมผูรวมปฏิบตการวิจยและให้ขอมูลหลัก ่ ้่ ั ิ ั ้ ได้แก่ ครู นักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 และผู้ปกครองของ ้ นักเรียน เครื่องมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมิน ่ กระบวนการจัดการความรู้ แบบสอบถามความคิดเห็น และแบบ บันทึกรายการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่า เฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการดำาเนินโครงการ โรงเรียนวัดวนา สันต์ (โศกนาคสามัคคี) มีปัญหาทั้งด้านคุณภาพการบริหาร คุณภาพครู และคุณภาพนักเรียน การพัฒนาในวงรอบที่ 1 เริม ่ จาก การสร้างความรู้ความเข้าใจ และตรวจสอบสถานภาพของ โรงเรียน จากนั้นได้จัดทำาและดำาเนินโครงการพัฒนาสถานศึกษาสู่ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเมินผล และสะท้อนผลการ พัฒนา การพัฒนาในวงรอบที่ 2 ได้ปรับลดและเพิ่มเติมโครงการ และกิจกรรมตามสภาพบริบทของโรงเรียนและชุมชนที่เปลี่ยนไป ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องหรือข้อจำากัดที่อาจเป็นสาเหตุทำาให้การ ดำาเนินโครงการไม่ประสบผลสำาเร็จ ผลการพัฒนาพบว่า 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับดี ได้รบรางวัล ั และเกียรติบัตรจากการร่วมแข่งขันกิจกรรมเป็นจำานวนมาก โรงเรียน
  • 2. ผู้บริหารโรงเรียน และครูได้รับการพัฒนา ได้รับรางวัลและเกียรติ บัตร เช่น โรงเรียนได้รับรางวัลมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละการสอบ O- NET ช่วงชั้นที่ 2 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับประเทศ ครูได้ รับรางวัลครูดในดวงใจ ผูบริหารได้รบรางวัลผูบริหารสถานศึกษาดีเด่น ี ้ ั ้ และจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาขันพืนฐานของ ้ ้ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ด้านการศึกษาปฐมวัย ้ ้ และด้านประถมศึกษา อยูในระดับดีมาก ่ 2. ผลการประเมินกระบวนการจัดการความรู้ พบว่าโดยรวมมี การปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้าน การแสวงหาความรู้ รองลงมาคือ ด้านการกำาหนดความรู้ ส่วนด้าน ที่มีค่าเฉลียตำ่าสุดคือ ด้านการนำาความรูไปใช้ ่ ้ 3. ผลการศึกษาความคิดเห็นของครู นักเรียน และผู้ ปกครองที่มีต่อคุณภาพการศึกษา พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลียสูงสุดคือด้านการบริหารและจัดการศึกษา ่ รองลงมาคือด้านคุณภาพผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยตำ่าที่สุดคือ ด้านการเรียนการสอน