SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
แนวทาง การจัดทําแผนการดําเนินงาน (Action Plan)
                                        กรอบแนวคิดในการจัดทํา Action Plan

                                                  นโยบายกลยุทธ
                                              และแผนงานประจําป 548
                                                                 2 2550
                                              และแผนธุรกิจขององคกร
                                                  และแผนวิสาหกิจ
           ผลการทบทวนแผนแมบท                องคกร ป 2550ป 2549-            นโยบายเทคโนโลยีสสารสนเทศ
                                                                                นโยบายเทคโนโลยีารสนเทศ
         เทคโนโลยีสารสนเทศ                                                              แหงชาติ
                                                                                       แหงชาติ
             ป 2550 - 2554



       เกณฑการประเมินผลการ                        ยุทธศาสตร ICT                      วิเคราะหสถานภาพICT
                                                                                                 ถานภาพ ICT
     บริหารจัดการสารสนเทศของ                          ขององคกร                      ขององคกร (SWOT)(SWOT)
     กระทรวงการคลัง ป 2550


                                                เปาหมายและแผนงาน


                                                 แผนแมบทเทคโนโลยี
                                               สารสนเทศและการสื่อสาร
                                                    ป 25482552
                                                        2550 - 2554
                                                           -


         เพื่อใหเกิดผลสําเร็จสูงสุด และมีการดําเนินการในทางปฏิบัติจริงไดอยางตอเนื่องแกองคกร จึงไดนําเสนอ
แนวทางในการจัดทําแผนการดําเนินการเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการขององคกรที่สามารถนําไปปรับปรุงและปฏิบัติ
ได โดยพิจารณาถึง
         1. ยุทธศาสตร ICT ขององคกร
         2. นโยบายกลยุทธและแผนงานประจําป 2550 และแผนธุรกิจขององคกร
         3. นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ หรือหนวยงานกํากับ/คูคาและมาตรฐานที่เกี่ยวของ
         4. การวิเคราะหสถานภาพการบริหารจัดการสารสนเทศขององคกร
         5. ผลทบทวนแผนแมบทขององคกรป 2550 - 2554
         6. เกณฑการประเมินผลการบริหารจัดการสารสนเทศตามเกณฑกระทรวงการคลัง ป 2550
         7. ผลการประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศองคกร ป 2550

        เพื่ อกํ าหนดเป าหมายและแผนการดํ าเนิ นงานขององค กรและจะนํ าไปสู การปรั บปรุ งแผนแม บ ทสารสนเทศ
แผนปฏิบัติการ / แผนการดําเนินงาน ในระดับองคกร เพื่อใหสอดคลองกับขอพิจารณาดังกลาวขางตน ทั้งนี้เพื่อเปนแนวทางใน
การกําหนดแผนการดําเนินงานขององคกรตอไป



                                                                                                                 23
1. แนวทางในการจัดทําแผนดําเนินงานบริหารจัดการสารสนเทศ (IT Management)
         1.1 การจัดลําดับความสําคัญของแผนงาน / โครงการ
                การจัดลําดับความสําคัญของแผนงานการบริหารจัดการสารสนเทศ มีแนวทางดังนี้
                1. จัดลําดับความสําคัญใหมีความสัมพันธกับยุทธศาสตรในแผนธุรกิจขององคกรในสวนที่เกี่ยวของ
                2. จัดลําดับความสําคัญใหมีความสัมพันธและสนับสนุนนโยบายเรงดวน
                3. จัดลําดับความสําคัญตามเกณฑการประเมินของหนวยงานภาครัฐ และ/หรือหนวยงานกํากับ
                4. จัดลําดับความสําคัญใหมีความสัมพันธสอดคลองกับทรัพยากรที่องคกรมีอยู
                จากแนวทางดังกลาวสามารถนํามาผสมผสานเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการจัดลําดับความสําคัญของ
แผนงานและโครงการในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2550 - 2554 ดังตอไปนี้
                1. ระดับความสําคัญสูงสุด หมายถึง ความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่เปนนโยบายสําคัญของ
องคกรมีผลตอความสามารถในการแขงขันขององคกรหรือสนับสนุนนโยบายขององคกร และตองดําเนินการทันที
                2. ระดับความสําคัญสูง หมายถึง ความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่มีความจําเปนตองดําเนินการเพื่อ
สนับสนุนปจ จัย พื้นฐานในการเพิ่มประสิท ธิภาพ ประสิทธิผล และศักยภาพในการแขงขันขององคกร ซึ่งจําเปนตอ ง
ดําเนินการทันทีที่มีความพรอมทางดานทรัพยากรหลังจากจัดสรรการดําเนินการในขอ 1. แลว
                3. ระดับความสําคัญปานกลาง หมายถึง ความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่สนับสนุนและอํานวย
ความสะดวก ตอการปฏิบัติงานภายในขององคกร ซึ่งการดําเนินงานไมจําเปนตองกระทําในทันที

        1.2        การกําหนดตัวชี้วัดขององคกร
                   โดยพิจารณาจากวัตถุประสงคของโครงการเปนหลัก โดยมีหลักการของการกําหนดตัวชี้วัดดังนี้
                   1. คํานึงถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนงาน/โครงการเปนสําคัญ
                   2. แผนงาน/โครงการใด ที่สามารถบรรลุผลไดในป 2550 ตัวชี้วัดจะชัดเจน โดยพิจารณาจากความสําเร็จ
ของแผนงานนั้น ๆ
                   3. ถาแผนงาน/โครงการใด เปนแผนงานคาบเกี่ยวขามป 2550 เชน แผนงานคาบเกี่ยวระหวางป 2550 -
2554 และแผนงาน/โครงการใดที่มีลักษณะเปนนามธรรม องคกรจะใชตัวชี้วัดความสําเร็จจากกิจกรรมที่ทําในคาบปที่
เกี่ยวของ เปนสิ่งสําคัญ เพราะวัตถุประสงคโดยรวมยังไมสงผลสําเร็จจากกิจกรรมในปตอ ๆ ไป
                                                        
                   สรุปหลักการในการกําหนดตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะสามารถวัดผลความสําเร็จเทียบกับเปาหมายหรือ
กิจกรรม ที่สามารถติดตามได ตรวจสอบได รายงานเชิงเปรียบเทียบ และสั่งการแกไข หรือปรับปรุงไดชัดเจน

2. การทําแผนงาน/โครงการดานบริหารจัดการสารสนเทศ (IT Management)
         1. กําหนดแผนงาน / โครงการ ที่ถายทอดเปนแผนแมบท (IT Master Plan) ขององคกรไดอยางเหมาะสม โดย
มีการจัดกลุมลําดับความสําคัญ ตามแนวทางที่ไดพิจารณาในเบื้องตน โดยปรากฏในแผนงาน / โครงการดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ ป 2550 - 2554
         2. แผนงานและโครงการที่ไดปรับปรุงแผนนั้นใหสอดคลองกับเกณฑการประเมินภาครัฐ จะปรากฏแผนงาน
ประกอบผลการดําเนินงาน การบริหารจัดการองคกร-การบริหารจัดการสารสนเทศ ประจําปบัญชี 2550




                                                                                                           24
ตัวอยางโครงการและแผนงานที่คณะทํางานขององคกรรวมกันพิจารณา เพื่อปรับปรุงแผน
         ณ ที่นี้จะนําเสนอแนวทางการจัดทําแผนการดําเนินงาน (Action Plan) ในสวนของการบริหารจัดการสารสนเทศ
เฉพาะระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง เพื่อเปนแนวทางเทานั้น

         2.1       แผนงานการตอบสนองตอความตองการขององคกรและนโยบาย
                   แนวทางปฏิบัติที่ดี ก็คือ การนําแผนธุรกิจ 2550 ขององคกร มาพิจารณารวมกับแผนแมบทเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการสื่อสารขององคกร พ.ศ. 2550 – 2554 กับปจจัยอื่น ๆ ตาม กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนการปฏิบัติงาน
รวมกันในการทํา Action Plan โดยมีแนวทางดังนี้
                   2.1.1 วัตถุประสงค
                            เพื่อยกระดับการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ป 2550 โดยมีเปาหมายใหอยูในระดับ ที่ดี
                   2.1.2 กรอบงานในภาพกวางตามโครงการ ป 2550
                            จัดทํา Gap Analysis เปรียบเทียบเกณฑการประเมินผลการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในป 2550 ของหนวยงานกํากับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติที่เปนอยูขององคกร ที่อาจปรับปรุงไดในทุกปจจัย เพื่อนํามา
กําหนด Action Plan ใหเหมาะสม โดยพิจารณาการดําเนินการตาม IT Master Plan ควบคูกันไปดวย
                   2.1.3 ระยะเวลาดําเนินงาน
                            เริ่มตั้งแตไตรมาสแรก – ไตรมาสสุดทาย ของป 2550 โดยนําแนวทางการดําเนินงานที่องคกร
ดําเนินการอยู ตั้งแตตนป 2550 มาปรับปรุงใหเหมาะสม เพื่อบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
                       
                   2.1.4 ผูรับผิดชอบ
                            สายเทคโนโลยีสารสนเทศ และฝายที่เกี่ยวของ
                   2.1.5 ผลการดําเนินงาน
                            หลายแผนงาน / โครงการ เปนไปตามแผนปฏิบัติงาน
                   2.1.6 วิธีการดําเนินงาน (Implementation)
                            เปนการปรับปรุงเพิ่มเติมจากการปฏิบัติในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจําป 2550
นอกเหนือจากการดําเนินการของผูบริหารและผูปฏิบัติการที่เกี่ยวของขององคกร ตั้งแตชวงป 2549 - 2550




                                                                                                               25
การ            ระยะเวลาดําเนินงาน
        ขั้นตอนและกิจกรรม                   ผูดําเนินการ/      ดําเนินงาน   ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.
           ในการดําเนินงาน                     ผูปฏิบัติ       ขององคกร      -     -      -       - ป 51
                                                                    - -      มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค.
1. ปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยี สายเทคโนโลยี
สารสนเทศ ป 2550 - 2554 ให สารสนเทศ และ
สอดคล อ งกับ แผนธุ ร กิจ องค ก ร ป ฝายที่เกี่ยวของ
2550 เพื่อ การยกระดั บ การบริ ห าร
ให เ ป น ไปตามเกณฑ ก ารประเมิ น
ของภาครั ฐ และ/หรื อ หน ว ยงาน
กํากับที่เกี่ยวของ
       1 . 1 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี
สารสนเทศสนั บ สนุ น การบริ ห าร สารสนเทศและ
ขององคกร                                  ฝายสํานักกลยุทธ
       1 . 2 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี
สารสนเทศสนับสนุนแผนงานการ                     สารสนเทศ
บริหารความเสี่ยงที่ชัดเจนยิ่งขึ้น           และฝายบริหาร
                                               ความเสี่ยง
       1 . 3 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี
สารสนเทศสนับสนุนแผนงานการ                     สารสนเทศ
ตรวจสอบภายในมากขึ้น                             และฝาย
                                           ตรวจสอบภายใน
       1 . 4 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี
ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น สารสนเทศและ
แผนงานดานการบริหารบุคลากร                   ฝายทรัพยากร
                                                 บุคคล
       1 . 5 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี
สารสนเทศสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น สารสนเทศ และ
ตาม พรก. พ.ศ.2546 และนโยบาย ฝายที่เกี่ยวของ
ตาง ๆ ของรัฐ
       1 . 6 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี
สารสนเทศสนับสนุนความตองการ สารสนเทศ และ
ภายในและภายนอกองคกร                        ฝายที่เกี่ยวของ




                                                                                                              26
การ                 ระยะเวลาดําเนินงาน
            ขั้นตอนและกิจกรรม                    ผูดําเนินการ/       ดําเนินงาน        ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.
               ในการดําเนินงาน                      ผูปฏิบัติ        ขององคกร           -     -      -       - ป 51
                                                                          - -           มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค.
    2. ทบทวนแผนแมบทสารสนเทศ                   สายเทคโนโลยี
    ใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม และ               สารสนเทศ และ
    เทคโนโลยี ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง         ฝายที่เกี่ยวของ
    อยางตอเนื่อง โดยยึดหลักแผนธุรกิจ
    องคกร 2550 เปนหลัก
    สัญลักษณ         ยังไมดําเนินการ        ดําเนินการไดบางสวน ณ ชวงเวลาจัดทําแผนฯ                เสร็จสมบูรณ
    กิจกรรม              กิจกรรมตอเนื่อง

                  2.1.7       ตัวชี้วัด
                              ปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยีส ารสนเทศ ป 2550 - 2554 ใหส อดคลองกับแผนธุร กิจของ
องคกร ป 2550 ตัวชี้วัดคือ
                              - ความสอดคลองกับแผนธุรกิจขององคกรเต็มตามศักยภาพของระบบสารสนเทศ
                              - การเพิ่มประสิทธิภาพ และ/หรือ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
                              - ประชาชน/ผูใชบริการไดรับความสะดวกและไดรับการตอบสนองตามความตองการ
                              - มีการใชขอมูลรวมกัน
                  2.1.8       ทรัพยากรที่ใช
                              ใชทรัพยากรขององคกร ที่มีอยู

          2.2     แผนงานการจัดทําระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บขอมูลพื้นฐานที่ใชในการบริหารและจัดการความ
เสี่ยง
                     แนวทางปฏิบัติที่ดี ก็คือ ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บขอมูลพื้นฐานและประมวลผลขอมูล ซึ่ง
ปญหาของการเก็บขอมูลในระบบคือ ขอมูลในระบบอาจถูกนําเสนออยางไมเที่ยงตรงและไมมีความสอดคลองกับการ
นําเสนอขอมูลในสวนอื่นของระบบ และขาวสารบางสวนอาจมีขอผิดพลาด คลุมเครือ หรือไมไดรับการแบงแยกอยาง
เหมาะสมสําหรับการนําเสนอทางธุรกิจ
                     ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมจึงเปนสิ่งสําคัญในการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานในแตละหนวยงานของ
องค ก ร ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให มี ศู น ย ก ลางในการรวบรวมข อ มู ล จากหน ว ยงานต า ง ๆ ในองค ก ร เพื่ อ ให แ ต ล ะหน ว ยสามารถ
แลกเปลี่ยนขอมูลกันได และเพื่อใหผูบริหารสามารถดึงขอมูลที่ตองการเพื่อใชเปนแนวทางในการตัดสินใจในการบริหาร
ความเสี่ยงใน แตละหนวยงาน และเชื่อมโยงถึงการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององคกร
                     2.2.1 วัตถุประสงค
                                     เพื่อใหเปนไปตามคําแนะนําและขอสังเกตของหนวยงานประเมินและหนวยงานกํากับภาครัฐฯ
และเพื่อใหมีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บขอมูลพื้นฐานที่ใชในการบริหารและจัดการความเสี่ยง เพื่อใชเปน
แนวทางในการตัดสินใจในการบริหารความเสี่ยงได


                                                                                                                                 27
2.2.2    กรอบงาน
                       ระบบสารสนเทศที่สามารถรวบรวมขอมูลจากหนวยงานตาง ๆ ในองคกร เพื่อเปนศูนยกลางในการ
รวบรวม แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงาน และเพื่อใหผูบริหารสามารถใชขอมูลเพื่อเปนแนวทางตัดสินใจในการบริหาร
ความเสี่ยงได
                      แนวการปรับปรุง
                      - ปรับปรุงการเก็บขอมูลพื้นฐานที่ใชในการบริหารและจัดการความเสี่ยง
                      - ปรับปรุงการจัดทําโครงการ / แผนงานดานการบริหารความเสี่ยงใหมีรายละเอียดที่ชัดเจน
ตามเกณฑที่กําหนดของทางการ
               2.2.3 ระยะเวลาดําเนินงาน
                      กันยายน – ธันวาคม 2550
               2.2.4 ผูรับผิดชอบ
                      ฝายบริหารความเสี่ยง และสายเทคโนโลยีสารสนเทศ
               2.2.5 ผลการดําเนินงาน
                      ฝายบริหารความเสี่ยงไดดําเนินการตามกรอบและแนวทางการปรับปรุงเปนที่เรียบรอยแลว
               2.3.6 วิธีการดําเนินงาน (Implementation)
                      เปนการปรับปรุงเพิ่มเติมจากการปฏิบัติในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจําป 2550 และ
ตามความตองการขององคกร

                                                                 การ               ระยะเวลาดําเนินงาน
          ขั้นตอนและกิจกรรม               ผูดําเนินการ/     ดําเนินงาน      ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค.
             ในการดําเนินงาน                 ผูปฏิบัติ      ขององคกร         -      -     -       - ป 51
                                                                 - -         มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค.
   1. ฝายบริหารความเสี่ยงแจงวาได ฝายบริหารความ
   จัดทําโครงการพัฒนาระบบประเมิน                 เสี่ยง และ
   ค ว า ม เ สี่ ย ง ร ะ ดั บ อ ง ค ก ร แ ล ะ สายเทคโนโลยี
   ห น ว ย ง า น โ ด ย ทํ า ก า ร พั ฒ น า     สารสนเทศ
   ประมวลความเสี่ยงระดับองคกร
        สายเทคโนโลยีสารสนเทศได
   สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานดั ง กล า ว
   ขางตน
   สัญลักษณ              ยังไมดําเนินการ ดําเนินการไดบางสวน ณ ชวงเวลาจัดทําแผนฯ    เสร็จสมบูรณ
   กิจกรรม                    กิจกรรมตอเนื่อง

               2.2.7    ตัวชี้วัด



                                                                                                              28
-   ระบบสารสนเทศมีขอมูลทางดานการบริหารความเสี่ยงของแตละหนวยงานในรูปแบบ
เดียวกัน
                       -   หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถเรียกขอมูลไปตัดสินใจในสวนที่เกี่ยวของกับการบริหารความ
เสี่ยงได
              2.2.8    ทรัพยากรที่ใช
                       ใชทรัพยากรขององคกร ที่มีอยู และนําโปรแกรมพัฒนาระบบประเมินความเสี่ยงมาประยุกตใช
ใหเหมาะสมกับการดําเนินงานขององคกร




                                                                                                           29

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
Paew Tongpanya
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
dnavaroj
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
Samorn Tara
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
Nattakorn Sunkdon
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
Jane Janjira
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mais procurados (20)

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
Stp การตลาด
Stp การตลาดStp การตลาด
Stp การตลาด
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 

Semelhante a Action plan gap

Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
 Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
nawaporn khamseanwong
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
KKU Library
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมืองLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดลLoadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล
ปลั๊ก พิมวิเศษ
 

Semelhante a Action plan gap (20)

3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร3.2.1 ผู้บริหาร
3.2.1 ผู้บริหาร
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
 Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ สถาปนิกปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
 
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมืองLoadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
Loadแนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ กรมโยธาธิการและผังเมือง
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
 
14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดลLoadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล
Loadแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยมหิดล
 
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
คู่มือขั้นตอนการดำิเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ภายในสพป.สพม.
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
แผนสารสนเทศกองคลัง
แผนสารสนเทศกองคลังแผนสารสนเทศกองคลัง
แผนสารสนเทศกองคลัง
 

Mais de i_cavalry

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
i_cavalry
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
i_cavalry
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
i_cavalry
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์
i_cavalry
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
i_cavalry
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
i_cavalry
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
i_cavalry
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
i_cavalry
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013
i_cavalry
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
i_cavalry
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinking
i_cavalry
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horse
i_cavalry
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน ..
i_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
i_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
i_cavalry
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
i_cavalry
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
i_cavalry
 

Mais de i_cavalry (20)

ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ระเบียบปี 56 การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
 
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการลา พ.ศ.2556
 
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพหลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
หลักเกณฑ์ในการขอพระราชทานเพลิงศพ
 
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการเอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
เอกสาร : การควบคุมภายในภาคราชการ
 
โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์โครงการประกวดเว็บไซต์
โครงการประกวดเว็บไซต์
 
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
แบบ ปม กรมการสัตว์ทหารบก 2555
 
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
 
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร๒๘ มีนาคม  วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
๒๘ มีนาคม วันคล้ายวันสถาปนา ศูนย์การสุนัขทหาร
 
Culture
CultureCulture
Culture
 
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน
 
Cobragold 2013
Cobragold 2013Cobragold 2013
Cobragold 2013
 
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหารการประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
การประเมินประสิทธิภาพหน่วยทหาร
 
Negative thinking
Negative thinkingNegative thinking
Negative thinking
 
Introduction of horse
Introduction of horseIntroduction of horse
Introduction of horse
 
งาน ..
งาน .. งาน ..
งาน ..
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2 กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ ๑ กรมการสัตว์ทหารบก
 
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบกประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
ประวัติกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 กรมการสัตว์ทหารบก
 
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
กรมการสัตว์ทหารบก ทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
 
Retreat s.
Retreat s.Retreat s.
Retreat s.
 

Action plan gap

  • 1. แนวทาง การจัดทําแผนการดําเนินงาน (Action Plan) กรอบแนวคิดในการจัดทํา Action Plan นโยบายกลยุทธ และแผนงานประจําป 548 2 2550 และแผนธุรกิจขององคกร และแผนวิสาหกิจ ผลการทบทวนแผนแมบท องคกร ป 2550ป 2549- นโยบายเทคโนโลยีสสารสนเทศ นโยบายเทคโนโลยีารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหงชาติ แหงชาติ ป 2550 - 2554 เกณฑการประเมินผลการ ยุทธศาสตร ICT วิเคราะหสถานภาพICT ถานภาพ ICT บริหารจัดการสารสนเทศของ ขององคกร ขององคกร (SWOT)(SWOT) กระทรวงการคลัง ป 2550 เปาหมายและแผนงาน แผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ป 25482552 2550 - 2554 - เพื่อใหเกิดผลสําเร็จสูงสุด และมีการดําเนินการในทางปฏิบัติจริงไดอยางตอเนื่องแกองคกร จึงไดนําเสนอ แนวทางในการจัดทําแผนการดําเนินการเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการขององคกรที่สามารถนําไปปรับปรุงและปฏิบัติ ได โดยพิจารณาถึง 1. ยุทธศาสตร ICT ขององคกร 2. นโยบายกลยุทธและแผนงานประจําป 2550 และแผนธุรกิจขององคกร 3. นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ หรือหนวยงานกํากับ/คูคาและมาตรฐานที่เกี่ยวของ 4. การวิเคราะหสถานภาพการบริหารจัดการสารสนเทศขององคกร 5. ผลทบทวนแผนแมบทขององคกรป 2550 - 2554 6. เกณฑการประเมินผลการบริหารจัดการสารสนเทศตามเกณฑกระทรวงการคลัง ป 2550 7. ผลการประเมินการบริหารจัดการสารสนเทศองคกร ป 2550 เพื่ อกํ าหนดเป าหมายและแผนการดํ าเนิ นงานขององค กรและจะนํ าไปสู การปรั บปรุ งแผนแม บ ทสารสนเทศ แผนปฏิบัติการ / แผนการดําเนินงาน ในระดับองคกร เพื่อใหสอดคลองกับขอพิจารณาดังกลาวขางตน ทั้งนี้เพื่อเปนแนวทางใน การกําหนดแผนการดําเนินงานขององคกรตอไป 23
  • 2. 1. แนวทางในการจัดทําแผนดําเนินงานบริหารจัดการสารสนเทศ (IT Management) 1.1 การจัดลําดับความสําคัญของแผนงาน / โครงการ การจัดลําดับความสําคัญของแผนงานการบริหารจัดการสารสนเทศ มีแนวทางดังนี้ 1. จัดลําดับความสําคัญใหมีความสัมพันธกับยุทธศาสตรในแผนธุรกิจขององคกรในสวนที่เกี่ยวของ 2. จัดลําดับความสําคัญใหมีความสัมพันธและสนับสนุนนโยบายเรงดวน 3. จัดลําดับความสําคัญตามเกณฑการประเมินของหนวยงานภาครัฐ และ/หรือหนวยงานกํากับ 4. จัดลําดับความสําคัญใหมีความสัมพันธสอดคลองกับทรัพยากรที่องคกรมีอยู จากแนวทางดังกลาวสามารถนํามาผสมผสานเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการจัดลําดับความสําคัญของ แผนงานและโครงการในแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2550 - 2554 ดังตอไปนี้ 1. ระดับความสําคัญสูงสุด หมายถึง ความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่เปนนโยบายสําคัญของ องคกรมีผลตอความสามารถในการแขงขันขององคกรหรือสนับสนุนนโยบายขององคกร และตองดําเนินการทันที 2. ระดับความสําคัญสูง หมายถึง ความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่มีความจําเปนตองดําเนินการเพื่อ สนับสนุนปจ จัย พื้นฐานในการเพิ่มประสิท ธิภาพ ประสิทธิผล และศักยภาพในการแขงขันขององคกร ซึ่งจําเปนตอ ง ดําเนินการทันทีที่มีความพรอมทางดานทรัพยากรหลังจากจัดสรรการดําเนินการในขอ 1. แลว 3. ระดับความสําคัญปานกลาง หมายถึง ความสําคัญของแผนงาน / โครงการที่สนับสนุนและอํานวย ความสะดวก ตอการปฏิบัติงานภายในขององคกร ซึ่งการดําเนินงานไมจําเปนตองกระทําในทันที 1.2 การกําหนดตัวชี้วัดขององคกร โดยพิจารณาจากวัตถุประสงคของโครงการเปนหลัก โดยมีหลักการของการกําหนดตัวชี้วัดดังนี้ 1. คํานึงถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนงาน/โครงการเปนสําคัญ 2. แผนงาน/โครงการใด ที่สามารถบรรลุผลไดในป 2550 ตัวชี้วัดจะชัดเจน โดยพิจารณาจากความสําเร็จ ของแผนงานนั้น ๆ 3. ถาแผนงาน/โครงการใด เปนแผนงานคาบเกี่ยวขามป 2550 เชน แผนงานคาบเกี่ยวระหวางป 2550 - 2554 และแผนงาน/โครงการใดที่มีลักษณะเปนนามธรรม องคกรจะใชตัวชี้วัดความสําเร็จจากกิจกรรมที่ทําในคาบปที่ เกี่ยวของ เปนสิ่งสําคัญ เพราะวัตถุประสงคโดยรวมยังไมสงผลสําเร็จจากกิจกรรมในปตอ ๆ ไป  สรุปหลักการในการกําหนดตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะสามารถวัดผลความสําเร็จเทียบกับเปาหมายหรือ กิจกรรม ที่สามารถติดตามได ตรวจสอบได รายงานเชิงเปรียบเทียบ และสั่งการแกไข หรือปรับปรุงไดชัดเจน 2. การทําแผนงาน/โครงการดานบริหารจัดการสารสนเทศ (IT Management) 1. กําหนดแผนงาน / โครงการ ที่ถายทอดเปนแผนแมบท (IT Master Plan) ขององคกรไดอยางเหมาะสม โดย มีการจัดกลุมลําดับความสําคัญ ตามแนวทางที่ไดพิจารณาในเบื้องตน โดยปรากฏในแผนงาน / โครงการดานเทคโนโลยี สารสนเทศ ป 2550 - 2554 2. แผนงานและโครงการที่ไดปรับปรุงแผนนั้นใหสอดคลองกับเกณฑการประเมินภาครัฐ จะปรากฏแผนงาน ประกอบผลการดําเนินงาน การบริหารจัดการองคกร-การบริหารจัดการสารสนเทศ ประจําปบัญชี 2550 24
  • 3. ตัวอยางโครงการและแผนงานที่คณะทํางานขององคกรรวมกันพิจารณา เพื่อปรับปรุงแผน ณ ที่นี้จะนําเสนอแนวทางการจัดทําแผนการดําเนินงาน (Action Plan) ในสวนของการบริหารจัดการสารสนเทศ เฉพาะระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารความเสี่ยง เพื่อเปนแนวทางเทานั้น 2.1 แผนงานการตอบสนองตอความตองการขององคกรและนโยบาย แนวทางปฏิบัติที่ดี ก็คือ การนําแผนธุรกิจ 2550 ขององคกร มาพิจารณารวมกับแผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารขององคกร พ.ศ. 2550 – 2554 กับปจจัยอื่น ๆ ตาม กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนการปฏิบัติงาน รวมกันในการทํา Action Plan โดยมีแนวทางดังนี้ 2.1.1 วัตถุประสงค เพื่อยกระดับการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ป 2550 โดยมีเปาหมายใหอยูในระดับ ที่ดี 2.1.2 กรอบงานในภาพกวางตามโครงการ ป 2550 จัดทํา Gap Analysis เปรียบเทียบเกณฑการประเมินผลการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในป 2550 ของหนวยงานกํากับที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติที่เปนอยูขององคกร ที่อาจปรับปรุงไดในทุกปจจัย เพื่อนํามา กําหนด Action Plan ใหเหมาะสม โดยพิจารณาการดําเนินการตาม IT Master Plan ควบคูกันไปดวย 2.1.3 ระยะเวลาดําเนินงาน เริ่มตั้งแตไตรมาสแรก – ไตรมาสสุดทาย ของป 2550 โดยนําแนวทางการดําเนินงานที่องคกร ดําเนินการอยู ตั้งแตตนป 2550 มาปรับปรุงใหเหมาะสม เพื่อบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคที่ชัดเจนยิ่งขึ้น  2.1.4 ผูรับผิดชอบ สายเทคโนโลยีสารสนเทศ และฝายที่เกี่ยวของ 2.1.5 ผลการดําเนินงาน หลายแผนงาน / โครงการ เปนไปตามแผนปฏิบัติงาน 2.1.6 วิธีการดําเนินงาน (Implementation) เปนการปรับปรุงเพิ่มเติมจากการปฏิบัติในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจําป 2550 นอกเหนือจากการดําเนินการของผูบริหารและผูปฏิบัติการที่เกี่ยวของขององคกร ตั้งแตชวงป 2549 - 2550 25
  • 4. การ ระยะเวลาดําเนินงาน ขั้นตอนและกิจกรรม ผูดําเนินการ/ ดําเนินงาน ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ในการดําเนินงาน ผูปฏิบัติ ขององคกร - - - - ป 51 - - มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค. 1. ปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยี สายเทคโนโลยี สารสนเทศ ป 2550 - 2554 ให สารสนเทศ และ สอดคล อ งกับ แผนธุ ร กิจ องค ก ร ป ฝายที่เกี่ยวของ 2550 เพื่อ การยกระดั บ การบริ ห าร ให เ ป น ไปตามเกณฑ ก ารประเมิ น ของภาครั ฐ และ/หรื อ หน ว ยงาน กํากับที่เกี่ยวของ 1 . 1 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี สารสนเทศสนั บ สนุ น การบริ ห าร สารสนเทศและ ขององคกร ฝายสํานักกลยุทธ 1 . 2 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี สารสนเทศสนับสนุนแผนงานการ สารสนเทศ บริหารความเสี่ยงที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และฝายบริหาร ความเสี่ยง 1 . 3 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี สารสนเทศสนับสนุนแผนงานการ สารสนเทศ ตรวจสอบภายในมากขึ้น และฝาย ตรวจสอบภายใน 1 . 4 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น สารสนเทศและ แผนงานดานการบริหารบุคลากร ฝายทรัพยากร บุคคล 1 . 5 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี สารสนเทศสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น สารสนเทศ และ ตาม พรก. พ.ศ.2546 และนโยบาย ฝายที่เกี่ยวของ ตาง ๆ ของรัฐ 1 . 6 . ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สายเทคโนโลยี สารสนเทศสนับสนุนความตองการ สารสนเทศ และ ภายในและภายนอกองคกร ฝายที่เกี่ยวของ 26
  • 5. การ ระยะเวลาดําเนินงาน ขั้นตอนและกิจกรรม ผูดําเนินการ/ ดําเนินงาน ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ในการดําเนินงาน ผูปฏิบัติ ขององคกร - - - - ป 51 - - มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค. 2. ทบทวนแผนแมบทสารสนเทศ สายเทคโนโลยี ใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม และ สารสนเทศ และ เทคโนโลยี ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง ฝายที่เกี่ยวของ อยางตอเนื่อง โดยยึดหลักแผนธุรกิจ องคกร 2550 เปนหลัก สัญลักษณ ยังไมดําเนินการ ดําเนินการไดบางสวน ณ ชวงเวลาจัดทําแผนฯ เสร็จสมบูรณ กิจกรรม กิจกรรมตอเนื่อง 2.1.7 ตัวชี้วัด ปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยีส ารสนเทศ ป 2550 - 2554 ใหส อดคลองกับแผนธุร กิจของ องคกร ป 2550 ตัวชี้วัดคือ - ความสอดคลองกับแผนธุรกิจขององคกรเต็มตามศักยภาพของระบบสารสนเทศ - การเพิ่มประสิทธิภาพ และ/หรือ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน - ประชาชน/ผูใชบริการไดรับความสะดวกและไดรับการตอบสนองตามความตองการ - มีการใชขอมูลรวมกัน 2.1.8 ทรัพยากรที่ใช ใชทรัพยากรขององคกร ที่มีอยู 2.2 แผนงานการจัดทําระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บขอมูลพื้นฐานที่ใชในการบริหารและจัดการความ เสี่ยง แนวทางปฏิบัติที่ดี ก็คือ ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บขอมูลพื้นฐานและประมวลผลขอมูล ซึ่ง ปญหาของการเก็บขอมูลในระบบคือ ขอมูลในระบบอาจถูกนําเสนออยางไมเที่ยงตรงและไมมีความสอดคลองกับการ นําเสนอขอมูลในสวนอื่นของระบบ และขาวสารบางสวนอาจมีขอผิดพลาด คลุมเครือ หรือไมไดรับการแบงแยกอยาง เหมาะสมสําหรับการนําเสนอทางธุรกิจ ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมจึงเปนสิ่งสําคัญในการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานในแตละหนวยงานของ องค ก ร ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให มี ศู น ย ก ลางในการรวบรวมข อ มู ล จากหน ว ยงานต า ง ๆ ในองค ก ร เพื่ อ ให แ ต ล ะหน ว ยสามารถ แลกเปลี่ยนขอมูลกันได และเพื่อใหผูบริหารสามารถดึงขอมูลที่ตองการเพื่อใชเปนแนวทางในการตัดสินใจในการบริหาร ความเสี่ยงใน แตละหนวยงาน และเชื่อมโยงถึงการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององคกร 2.2.1 วัตถุประสงค เพื่อใหเปนไปตามคําแนะนําและขอสังเกตของหนวยงานประเมินและหนวยงานกํากับภาครัฐฯ และเพื่อใหมีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บขอมูลพื้นฐานที่ใชในการบริหารและจัดการความเสี่ยง เพื่อใชเปน แนวทางในการตัดสินใจในการบริหารความเสี่ยงได 27
  • 6. 2.2.2 กรอบงาน ระบบสารสนเทศที่สามารถรวบรวมขอมูลจากหนวยงานตาง ๆ ในองคกร เพื่อเปนศูนยกลางในการ รวบรวม แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงาน และเพื่อใหผูบริหารสามารถใชขอมูลเพื่อเปนแนวทางตัดสินใจในการบริหาร ความเสี่ยงได แนวการปรับปรุง - ปรับปรุงการเก็บขอมูลพื้นฐานที่ใชในการบริหารและจัดการความเสี่ยง - ปรับปรุงการจัดทําโครงการ / แผนงานดานการบริหารความเสี่ยงใหมีรายละเอียดที่ชัดเจน ตามเกณฑที่กําหนดของทางการ 2.2.3 ระยะเวลาดําเนินงาน กันยายน – ธันวาคม 2550 2.2.4 ผูรับผิดชอบ ฝายบริหารความเสี่ยง และสายเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2.5 ผลการดําเนินงาน ฝายบริหารความเสี่ยงไดดําเนินการตามกรอบและแนวทางการปรับปรุงเปนที่เรียบรอยแลว 2.3.6 วิธีการดําเนินงาน (Implementation) เปนการปรับปรุงเพิ่มเติมจากการปฏิบัติในการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจําป 2550 และ ตามความตองการขององคกร การ ระยะเวลาดําเนินงาน ขั้นตอนและกิจกรรม ผูดําเนินการ/ ดําเนินงาน ม.ค. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ในการดําเนินงาน ผูปฏิบัติ ขององคกร - - - - ป 51 - - มี.ค. มิ.ย. ก.ย. ธ.ค. 1. ฝายบริหารความเสี่ยงแจงวาได ฝายบริหารความ จัดทําโครงการพัฒนาระบบประเมิน เสี่ยง และ ค ว า ม เ สี่ ย ง ร ะ ดั บ อ ง ค ก ร แ ล ะ สายเทคโนโลยี ห น ว ย ง า น โ ด ย ทํ า ก า ร พั ฒ น า สารสนเทศ ประมวลความเสี่ยงระดับองคกร สายเทคโนโลยีสารสนเทศได สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานดั ง กล า ว ขางตน สัญลักษณ ยังไมดําเนินการ ดําเนินการไดบางสวน ณ ชวงเวลาจัดทําแผนฯ เสร็จสมบูรณ กิจกรรม กิจกรรมตอเนื่อง 2.2.7 ตัวชี้วัด 28
  • 7. - ระบบสารสนเทศมีขอมูลทางดานการบริหารความเสี่ยงของแตละหนวยงานในรูปแบบ เดียวกัน - หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถเรียกขอมูลไปตัดสินใจในสวนที่เกี่ยวของกับการบริหารความ เสี่ยงได 2.2.8 ทรัพยากรที่ใช ใชทรัพยากรขององคกร ที่มีอยู และนําโปรแกรมพัฒนาระบบประเมินความเสี่ยงมาประยุกตใช ใหเหมาะสมกับการดําเนินงานขององคกร 29