SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอน   ความหมาย  ไฮนิคส์   ( Heinich  )   และคณะ  ให้คำจำกัดความคำว่า  " สื่อ "  ไว้ดังนี้  " Media is a channel of communication ." ซึ่งสรุปความเป็นภาษาไทยได้ดังนี้  " สื่อ คือช่องทางในการติดต่อสื่อสาร "  Heinich  และคณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า   สื่อ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง  ( between )  หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งทำการบรรทุกหรือนำพาข้อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างแหล่งกำเนิดสารกับผู้รับสาร                 A. J. Romiszowski   ให้คำจำกัดความคำว่า  " สื่อ "  ไว้ดังนี้   " the carriers of  messages, from some transmitting source  ( which may be a human  being or an inanimate object )  to the receiver of the message  ( which in our case is the learner )"  ซึ่งสรุปความเป็นภาษาไทยได้ดังนี้  " ตัวนำสารจากแหล่งกำเนิดของการสื่อสาร  ( ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ หรือวัตถุที่ไม่มีชีวิต  )  ไปยังผู้รับสาร  ( ซึ่งในกรณี ของการเรียนการสอนก็คือ ผู้เรียน )"            ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าสื่อ  (  Media  )  หมายถึง    ตัวกลางหรือสิ่งที่นำเนื้อหาสาระ   หรือข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ   ในการสื่อความหมายนั้นสื่อเปรียบเหมือนพาหนะที่จะนำสาร  (  Message  )  จากผู้ส่งไปยังผู้รับ   ในทางการเรียนการสอนนั้น   เมื่อมีการนำสื่อมาใช้เป็นเครื่องช่วยการถ่ายทอดของผู้สอน    จึงเรียกสื่อนั้นว่า   " สื่อการสอน "    (  Instructional Media  )                เกอร์ลัช และอีลี  ( Gerlach and Ely )   กล่าวว่า    " สื่อการสอน "   หมายถึง   บุคคล วัสดุหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งทำให้นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนจัดเป็นสื่อการสอนทั้งสิ้น           กิดานันท์ มลิทอง     กล่าวว่า    " สื่อการสอน "   หมายถึง ตัวกลางที่ช่วยนำ   และถ่ายทอดข้อมูลความรู้จากครูผู้สอน   หรือจากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุถึง วัตถุประสงค์การเรียนที่ตั้งไว้                    ชัยยงค์ พรหมวงศ์    ให้ความหมายของ  " สื่อการสอน "   ว่า คือวัสดุ  ( สิ้นเปลือง )  อุปกรณ์  ( เครื่องมือที่ใช้ไม่ผุพังง่าย )  วิธีการ  ( กิจกรรม เกม การทดลอง ฯลฯ )  ที่ใช้สื่อกลางให้ผู้สอนสามารถส่ง หรือถ่ายทอดความรู้ เจตคติ  ( อารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ และค่านิยม )  และ ทักษะไปยังผู้เรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ           ไชยยศ เรืองสุวรรณ     กล่าวว่า  " สื่อการสอน "    หมายถึง สิ่งที่ช่วยให้การเรียนรู้ ซึ่งครูและนักเรียนเป็นผู้ใช้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น                  เปรื่อง กุมุท     กล่าวว่า   " สื่อการสอน "    หมายถึง  สิ่งต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือ   หรือ   ช่องทางสำหรับทำให้การสอน ส่งไปถึงผู้เรียน   ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่ผู้สอนวาดไว้ได้เป็นอย่างดี            ไฮนิช   (Heinich)   และคณะ     ได้ให้ความหมายของสื่อการสอนไว้ว่า    "  สื่อการสอน "    หมายถึงสื่อหรือตัวกลางชนิดใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นเทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วิดีโอแผนภูมิ ภาพนิ่ง เป็นต้น ซึ่งบรรจุเนื้อหา ข้อความเกี่ยวกับการเรียนการสอน 
สื่อการเรียนการสอน   ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า   " สื่อการสอน "  หมายถึงตัวกลางหรือช่องทางที่บรรจุเนื้อหาสาระ หรือสิ่งที่ผู้สอนต้องการถ่ายทอดไปยังผู้เรียน   ช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 1.  สื่อไม่ใช้เครื่องฉาย  ( nonprojected  materials )   เป็นสื่อที่ใช้การทางทัศนะโดยไม่ต้องใช้เครื่องฉายร่วมด้วย  แบ่งออกเป็น  3  ประเภท  ได้แก่สื่อภาพ  ( illustrative  materials )  เป็นสื่อที่สามารถถ่ายทอดเนื้อหา  เช่น  ภาพกราฟิก  กราฟ  แผนที่  ของจริง  ของจำลอง  กระดานสาธิต  ( demonstration  boards )  ใช้ในการนำเสนอเนื้อหา  เช่นกระดานชอล์ก  กระดานนิเทศ  กระดานแม่เหล็ก  กระดานผ้าสำลี  ฯลฯ  และกิจกรรม ( activites )
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 2.  สื่อเครื่องฉาย  ( projected  and  equipment )   เป็นวัสดุและอุปกรณ์  อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารด้วยภาพหรือทั้งภาพทั้งเสียง  อุปกรณ์มีทั้งแบบฉายตรงและฉายอ้อมเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะอุปกรณ์นั้นเพื่อให้เป็นภาพปรากฏขึ้นบนจอเช่นเครื่องฉายข้ามศีรษะใช้กับแผ่นโปร่งใส  เครื่องฉายสไลด์  ใช้กับแผ่นฟิล์มสไลด์  หรือให้ทั้งภาพและเสียง  เช่น  เครื่องฉายภาพยนตร์ฟิล์ม  เครื่องเล่นดีวีดีใช้กับวีซีดีและดีวีดี  เหล่านี้เป็นต้น  นอกจากนี้ยังอาจรวมเครื่องถ่ายทอดสัญญาณ  คือ  เครื่องแอลซีดีที่ใช้ถ่ายทอดสัญญาณจากคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นวีซีดี  เข้าไว้ในเครื่องด้วย  เพื่อนำสัญญาณภาพจากอุปกรณ์เหล่านั้นขึ้นจอภาพ
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 3.  สื่อเสียง  ( audio  materials  and  equipment )   เป็นวัสดุและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  เพื่อการสื่อสารด้วยเสียง อุปกรณ์เครื่องเสียงจะใช้ถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะกับอุปกรณ์นั้นเพื่อเป็นเสียงให้ได้ยิน  เช่น  เครื่องเล่นซีดีใช้กับแผ่นซีดี  เครื่องเล่น / บันทึกเทปใช้กับเทปเสียง  หรืออาจเป็นอุปกรณ์ในการถ่ายทอดสัญญาณเสียงดังเช่นวิทยุที่รับสัญญาณเสียงจากแหล่งส่งโดยไม่ต้องใช้วัสดุใดๆในการนำเสนอเสียง
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 4.  สื่อประสมเชิงโต้ตอบ  ( Interactive  Multimedia)   การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมประยุกต์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน์ เป็นต้น ผู้ใช้สามารถที่จะควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่าสื่อประสมเชิงโต้ตอบ
คุณค่าของสื่อการเรียนการสอน สื่อกับผู้เรียน -  เป็นสิ่งช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ  -  สื่อจะช่วยกระตุ้นและสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียน -  การใช้สื่อจะทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกัน -  สื่อช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน  -  สร้างเสริมลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้  -  ช่วยแก้ปัญหาเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคล
คุณค่าของสื่อการเรียนการสอน สื่อกับผู้สอน -  การใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆประกอบการเรียนการสอน  -  ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้สอนในด้านการเตรียมเนื้อหา -  เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอ
หลักการเลือกสื่อการสอน -  สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กับเนื้อหาบทเรียนและจุดมุ่งหมายที่จะสอน -  เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง  ทันสมัย  น่าสนใจ  และเป็นสื่อที่ให้ผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด  ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหานั้นได้ดีเป็นลำดับขั้นตอน -  เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย  ระดับชั้น  ความรู้  และประสบการณ์ของผู้เรียน -  สื่อนั้นควรสะดวกในการใช้  มีวิธีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป -  ต้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพ  มีเทคนิคการผลิตที่ดี  มีความชัดเจนและเป็นจริง -  มีราคาไม่แพงจนเกินไป  หรือถ้าจะผลิตเองควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน
หลักการใช้สื่อการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการใช้สื่อการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทและคุณสมบัติ สื่อการเรียนการสอน
?? Q &A
 

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุ
Asmataa
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
Pattama Poyangyuen
 

Mais procurados (20)

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัยเทคนิคการสอนแบบอุปนัย
เทคนิคการสอนแบบอุปนัย
 
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
รายงานผลการอบรมภาษาอังกฤษ53 2
 
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 

Destaque

สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
hall999
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
poonick
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
Nkidsana
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
Chess
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
Krongkaew kumpet
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
Kobwit Piriyawat
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 

Destaque (11)

สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
การผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasma
การผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasmaการผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasma
การผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasma
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Semelhante a สื่อการเรียนการสอน

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
aumkpru45
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7
paynarumon
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
aumkpru45
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
tuphung
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
vizaza
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
vizaza
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
maymymay
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
poonick
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
natwadee
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
maymymay
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Anny Hotelier
 

Semelhante a สื่อการเรียนการสอน (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่+7
บทที่+7บทที่+7
บทที่+7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)บทที่ ๗ (1)
บทที่ ๗ (1)
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Ojo
OjoOjo
Ojo
 

สื่อการเรียนการสอน

  • 2. สื่อการเรียนการสอน ความหมาย ไฮนิคส์   ( Heinich  )   และคณะ  ให้คำจำกัดความคำว่า " สื่อ " ไว้ดังนี้ " Media is a channel of communication ." ซึ่งสรุปความเป็นภาษาไทยได้ดังนี้ " สื่อ คือช่องทางในการติดต่อสื่อสาร " Heinich และคณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า   สื่อ มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง ( between ) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งทำการบรรทุกหรือนำพาข้อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างแหล่งกำเนิดสารกับผู้รับสาร                 A. J. Romiszowski   ให้คำจำกัดความคำว่า " สื่อ " ไว้ดังนี้   " the carriers of  messages, from some transmitting source ( which may be a human  being or an inanimate object ) to the receiver of the message  ( which in our case is the learner )" ซึ่งสรุปความเป็นภาษาไทยได้ดังนี้ " ตัวนำสารจากแหล่งกำเนิดของการสื่อสาร ( ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ หรือวัตถุที่ไม่มีชีวิต ) ไปยังผู้รับสาร ( ซึ่งในกรณี ของการเรียนการสอนก็คือ ผู้เรียน )"           ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าสื่อ  ( Media ) หมายถึง    ตัวกลางหรือสิ่งที่นำเนื้อหาสาระ   หรือข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ   ในการสื่อความหมายนั้นสื่อเปรียบเหมือนพาหนะที่จะนำสาร ( Message ) จากผู้ส่งไปยังผู้รับ   ในทางการเรียนการสอนนั้น   เมื่อมีการนำสื่อมาใช้เป็นเครื่องช่วยการถ่ายทอดของผู้สอน    จึงเรียกสื่อนั้นว่า   " สื่อการสอน "   ( Instructional Media )              เกอร์ลัช และอีลี  ( Gerlach and Ely )   กล่าวว่า   " สื่อการสอน "   หมายถึง   บุคคล วัสดุหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งทำให้นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนจัดเป็นสื่อการสอนทั้งสิ้น           กิดานันท์ มลิทอง     กล่าวว่า   " สื่อการสอน "   หมายถึง ตัวกลางที่ช่วยนำ   และถ่ายทอดข้อมูลความรู้จากครูผู้สอน   หรือจากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุถึง วัตถุประสงค์การเรียนที่ตั้งไว้                   ชัยยงค์ พรหมวงศ์    ให้ความหมายของ " สื่อการสอน "   ว่า คือวัสดุ ( สิ้นเปลือง ) อุปกรณ์ ( เครื่องมือที่ใช้ไม่ผุพังง่าย ) วิธีการ ( กิจกรรม เกม การทดลอง ฯลฯ ) ที่ใช้สื่อกลางให้ผู้สอนสามารถส่ง หรือถ่ายทอดความรู้ เจตคติ ( อารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ และค่านิยม ) และ ทักษะไปยังผู้เรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ           ไชยยศ เรืองสุวรรณ     กล่าวว่า " สื่อการสอน "   หมายถึง สิ่งที่ช่วยให้การเรียนรู้ ซึ่งครูและนักเรียนเป็นผู้ใช้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น                  เปรื่อง กุมุท     กล่าวว่า   " สื่อการสอน "    หมายถึง  สิ่งต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือ   หรือ   ช่องทางสำหรับทำให้การสอน ส่งไปถึงผู้เรียน   ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่ผู้สอนวาดไว้ได้เป็นอย่างดี            ไฮนิช   (Heinich)   และคณะ     ได้ให้ความหมายของสื่อการสอนไว้ว่า    " สื่อการสอน "    หมายถึงสื่อหรือตัวกลางชนิดใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นเทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วิดีโอแผนภูมิ ภาพนิ่ง เป็นต้น ซึ่งบรรจุเนื้อหา ข้อความเกี่ยวกับการเรียนการสอน 
  • 3. สื่อการเรียนการสอน ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า   " สื่อการสอน " หมายถึงตัวกลางหรือช่องทางที่บรรจุเนื้อหาสาระ หรือสิ่งที่ผู้สอนต้องการถ่ายทอดไปยังผู้เรียน   ช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 
  • 4. ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 1. สื่อไม่ใช้เครื่องฉาย ( nonprojected materials ) เป็นสื่อที่ใช้การทางทัศนะโดยไม่ต้องใช้เครื่องฉายร่วมด้วย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่สื่อภาพ ( illustrative materials ) เป็นสื่อที่สามารถถ่ายทอดเนื้อหา เช่น ภาพกราฟิก กราฟ แผนที่ ของจริง ของจำลอง กระดานสาธิต ( demonstration boards ) ใช้ในการนำเสนอเนื้อหา เช่นกระดานชอล์ก กระดานนิเทศ กระดานแม่เหล็ก กระดานผ้าสำลี ฯลฯ และกิจกรรม ( activites )
  • 5. ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 2. สื่อเครื่องฉาย ( projected and equipment ) เป็นวัสดุและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารด้วยภาพหรือทั้งภาพทั้งเสียง อุปกรณ์มีทั้งแบบฉายตรงและฉายอ้อมเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะอุปกรณ์นั้นเพื่อให้เป็นภาพปรากฏขึ้นบนจอเช่นเครื่องฉายข้ามศีรษะใช้กับแผ่นโปร่งใส เครื่องฉายสไลด์ ใช้กับแผ่นฟิล์มสไลด์ หรือให้ทั้งภาพและเสียง เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ฟิล์ม เครื่องเล่นดีวีดีใช้กับวีซีดีและดีวีดี เหล่านี้เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจรวมเครื่องถ่ายทอดสัญญาณ คือ เครื่องแอลซีดีที่ใช้ถ่ายทอดสัญญาณจากคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นวีซีดี เข้าไว้ในเครื่องด้วย เพื่อนำสัญญาณภาพจากอุปกรณ์เหล่านั้นขึ้นจอภาพ
  • 6. ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 3. สื่อเสียง ( audio materials and equipment ) เป็นวัสดุและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการสื่อสารด้วยเสียง อุปกรณ์เครื่องเสียงจะใช้ถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะกับอุปกรณ์นั้นเพื่อเป็นเสียงให้ได้ยิน เช่น เครื่องเล่นซีดีใช้กับแผ่นซีดี เครื่องเล่น / บันทึกเทปใช้กับเทปเสียง หรืออาจเป็นอุปกรณ์ในการถ่ายทอดสัญญาณเสียงดังเช่นวิทยุที่รับสัญญาณเสียงจากแหล่งส่งโดยไม่ต้องใช้วัสดุใดๆในการนำเสนอเสียง
  • 7. ประเภทของสื่อการเรียนการสอน 4. สื่อประสมเชิงโต้ตอบ ( Interactive Multimedia) การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมประยุกต์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน์ เป็นต้น ผู้ใช้สามารถที่จะควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่าสื่อประสมเชิงโต้ตอบ
  • 8. คุณค่าของสื่อการเรียนการสอน สื่อกับผู้เรียน - เป็นสิ่งช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ - สื่อจะช่วยกระตุ้นและสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียน - การใช้สื่อจะทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกัน - สื่อช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน - สร้างเสริมลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ - ช่วยแก้ปัญหาเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคล
  • 9. คุณค่าของสื่อการเรียนการสอน สื่อกับผู้สอน - การใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆประกอบการเรียนการสอน - ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้สอนในด้านการเตรียมเนื้อหา - เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอ
  • 10. หลักการเลือกสื่อการสอน - สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กับเนื้อหาบทเรียนและจุดมุ่งหมายที่จะสอน - เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็นสื่อที่ให้ผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหานั้นได้ดีเป็นลำดับขั้นตอน - เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน - สื่อนั้นควรสะดวกในการใช้ มีวิธีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป - ต้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพ มีเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนและเป็นจริง - มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ้าจะผลิตเองควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน
  • 11.
  • 12.
  • 15.