SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
Baixar para ler offline
1
การก่อการร้าย ภาวะสมัยใหม่ และความรุนแรงของระบอบประชาธิปไตย
วันที่ 11 กันยายน 2015 ที่ผ่านมา ผมได้ไปพูดในรายการ Tonight Thailand ในหัวข้อเกี่ยวกับการ
ก่อการร้ายในโลกตะวันตก และเหตุการณ์ 9/11 ซึ่งเป็นประเด็นค่อนข้างจะใหญ่มาก และด้วยเวลาที่
ค่อนข้างจากัด ทาให้ได้คิดเผยแพร่บทความนี้ต่อ เพื่อขยายความให้ชัดเจนมากขึ้น ด้วยอยากให้หายงง (แต่
อ่านแล้วอาจจะงงกว่าเดิมได้ 555)หรือไม่เข้าใจประเด็นที่จะสื่อหลักๆผิดไปโดยพูดกันตามตรงเนื้อหาที่ผม
พูดเมื่อวาน รวมถึงในนี้นั้น อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “ด้านมืด” ของภาวะสมัยใหม่ และระบอบประชาธิปไตย
แต่ผมไม่ได้มีเป้าหมายจะ “ปฏิเสธหรือลดทอนความชอบธรรม”อะไรเพียงแต่เมื่อเราต้องอยู่กับมันแล้วเรา
ก็ควรอยู่กับมันอย่ารู้เท่าทัน และเข้าใจมันให้รอบด้าน เมื่อเข้าใจด้าน “มืด” ของมันแล้ว เราจะได้เตรียมการ
รับมือกับมันได้ และหาวิธีการจัดการกับมันแบบต่างออกไป อย่างการจัดการกับการก่อการร้ายนั้น สิ่งที่ผม
พยายามจะนาเสนอเป็นอย่างยิ่งในรายการก็คือ “วิธีแบบสหรัฐอเมริกา ที่ตอบโต้ 9/11 มันผิด” และนามาสู่
ปัญหาที่เยอะขึ้น คาราคาซังมากขึ้น และหากเรารู้เท่าทันมัน เราก็อาจจะพอสามารถใช้ทางออกที่ดีกว่า
แบบกรณีประเทศนอร์เวย์ได้ เป็นต้น นี่คือจุดประสงค์หลักที่อยากจะบอกนะครับ ไม่ได้มีเป้าหมายจะบอก
ว่า “เราต้องไม่เอาโลกสมัยใหม่ กลับไปเอาโลกสมัยเก่าดีกว่า” อะไรแบบนั้น
เริ่มจากภาพคร่าวๆ ของเหตุการณ์ 9/11 ก่อน ก็คือ มีการจี้เครื่องบินโดยสาร 4 ลา โดยมี 2 ลาไปชน
อาคารแฝด World Trade Center อีก 1 ลา ไปชนปีกตะวันตกของอาคารเพนตาก้อน และลาสุดท้าย
ผู้โดยสารในเครื่องช่วยการยึดเครื่องคืนจากกลุ่มผู้ก่อการร้าย และสุดท้ายเครื่องไปตกที่ทุ่งแห่งหนึ่งในฟิลา
เดลเฟีย (จากเส้นทางบินตอนแรก คาดว่าจะพุ่งไปชนสภาคอนเกรส) สรุป มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ราวๆ
3,000 คน ซึ่งนับเป็นการเสียชีวิตจากการก่อการร้ายครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และนามาซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงในโลกในหลายๆ ด้าน แต่เนื่องจากเขียนเอา เรามีเวลามากกว่าการพูด ฉะนั้นผมจะขอเริ่ม
อธิบายคนละแบบจากในรายการละกันนะครับ ผมจะพูดภาพรวมงานของผมให้ฟัง โดยอธิบายตามลาดับ
“ความคิด” ของผมตอนเขียนงาน ว่าคาถามของผมมันเริ่มจากจุดไหน แล้วสุดท้ายเราจะเห็นความเชื่อมโยง
เอง แต่คงต้องอ่านจนจบ และขอเตือนเลยว่ายาวมากๆๆๆๆ
2
ก่อนอื่นผมอยากให้เข้าใจร่วมกันก่อนว่า เวลามีการพูดถึงเรื่อง "ก่อการร้าย" ในโลกตะวันตกตอนนี้
(ในนัยยะว่า เป็นโลกยุคหลัง 9/11 เอาจริงๆ ก็เป็นผลพวงจาก 9/11 โดยตรงนั่นแหละนะครับ) มันเป็นเรื่องที่
คอขาดบาดตายและร้ายแรงมากทีเดียว อาจจะมากที่สุดเสียด้วยซ้า มีหลายกรณีที่มีการปฏิบัติต่อนักโทษ
ในคดีก่อการร้ายแย่เสียยิ่งกว่านักโทษคดีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และในอังกฤษงี้ คดีที่เป็นคดีก่อการร้ายก็แทบจะ
เป็นไม่กี่คดีที่เหลืออยู่ที่ใช้การพิจารณาความแบบลับ และหลายครั้งนักโทษก็ถูกทรมานมากมาย แน่นอน
ความหวาดกลัวต่อการก่อการร้ายอย่างมากเหล่านี้มันมาจาก 9/11 อย่างปฏิเสธไม่ได้อยู่ แต่ความกลัวการ
ก่อการร้ายในโลกกระแสหลักมันมีมานานก่อนหน้านั้นแล้ว มันแค่มาโดนจุดระเบิดตอนเวิร์ดเทรดถล่ม และ
กลายเป็นทาให้ประเด็นการก่อการร้ายที่กลัวกันแบบ “เงียบๆ” กลายมาเป็นภัยที่กลัวกันแบบ “บ้าคลั่ง” ไป
โดยในโลกตะวันตกจะมองการก่อการร้ายในฐานะภัยคุกคามชีวิต ที่ไม่อาจควบคุมได้ คาดเดาไม่ได้
หลบหนีไม่ได้ คือคุณจะไม่รู้เลยว่ามันจะมาเมื่อไหร่ และที่ไหนและนับแต่9/11เป็นต้นมาการควบรวมเรื่อง
"ไร้เหตุผล ไร้ความเป็นมนุษย์ และมุสลิมหัวรุนแรง" ก็ถูกเหมารวมเข้าไปในกระบวนทัศน์เรื่องการก่อการร้าย
กระแสหลักมากขึ้นอย่างมากนะครับ เอาเป็นว่านี่เป็นภาพคร่าวๆ ต่อความ panic (ตื่นตระหนก) ที่โลก
ตะวันตกมีต่อการก่อการร้ายให้พอเห็นภาพกันบ้าง ซึ่งบอกตรงๆ ว่ามันต่างกับบ้านเราอยู่ ซึ่งผมคิดว่ามันมี
ที่มาที่ไป และผมจะอธิบายต่อไป
ทีนี้ไอเดียเริ่มต้นของงานผมนั้นมันเริ่มมาจากการตั้งคาถามข้อหนึ่งซึ่งดูเผินๆ แล้วแทบจะไม่เกี่ยว
อะไรกับการก่อการร้ายเลย แต่เอาเข้าจริงๆ แล้ว มันเกี่ยวข้องอย่างมาก คาถามที่ว่าก็คือ What is the goal
for the goal itself? (อะไรคือเป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง?) กล่าวคือ ในโลกสมัยใหม่ หรือในกระแสเวลา
ที่เราเรียกๆ กันว่า Liberal Modernity ที่เราอยู่กันนี้รัฐซึ่งเป็นผู้นา ซึ่งเราจะเรียกจักรวรรดิ, ชาติมหาอานาจ,
G-7, หรืออะไรก็ตามแต่นั้นล้วนแต่เป็น “เป้าหมาย (goal)” ของรัฐอื่นๆ โดยทั่วไป แต่ว่าอะไรกันล่ะที่เป็น
จุดหมายของรัฐซึ่งเป็นเป้าหมายให้แก่รัฐอื่นๆ แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐอย่างสหรัฐอเมริกา ที่อาจจะกล่าว
ได้ว่าเป็นผู้นาโลกยุคประชาธิปไตยนี้ทั้งในทางกาลังทหารเศรษฐกิจ และอิทธิพล ฉะนั้นคาถามมันก็กลับมา
ว่า “อะไรคือเป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง” ในเมื่อมันไม่มีแบบอย่างอื่นให้ยึดถือเอาเป็นเป้าหมายอีกต่อไป
3
ที่ผมได้เริ่มถามคาถามนี้ขึ้นมา เพราะผมคิดว่าโลกยุคที่เราอาศัยอยู่ตอนนี้ เป็นเรื่องที่ปฏิเสธ
ค่อนข้างยากว่าเราไม่ได้กาลังอยู่ในยุคที่ถูกเรียกรวมอย่างหลวมๆ ว่า Liberal Modernity (ประชาธิปไตย
เสรี) มันชัดเจนแน่นอน ถึงขนาดที่คนอย่างฟรานซิส ฟูกุยามะ ถึงกับออกมาประกาศก้องว่า "นี่คือจุดสุดท้าย
แล้ว โลกเราไม่มีอะไรจะเปลี่ยนอีกแล้ว" ในงานของเค้าที่ชื่อ The End of History and the Last Man หรือ
หญิงเหล็กอย่างแท็ตเชอร์ก็พาเหรดออกมาบอกในลักษณะเดียวกันว่า We have no alternative. หรือ “เรา
ไม่มีตัวเลือกอื่นอีกแล้ว” (นอกจาก Liberal Capitalism/ทุนนิยมเสรี) แม้ว่าผมเองจะไม่ได้เห็นด้วยกับแท็ต
เชอร์ว่า "เราไม่มีตัวเลือกอื่นอีกแล้ว" หรือที่ฟูกุยามะ เสนอว่าเรา "ไม่มีทางเปลี่ยนเป็นแบบอื่นอีก" และ
Liberal Modernity เอง มันก็อาจจะไม่ได้สมบูรณ์ ครอบคลุมเต็มร้อย และอาจจะมีแววที่จะเริ่มปรับไปเป็น
รูปแบบอื่นบ้าง แต่ผมคิดว่าอย่างน้อยสิ่งเหล่านี้มันก็บอกกับเราได้ว่า ความจริงที่ว่าเราในตอนนี้กาลังอยู่ใน
กระแสของยุคที่เรียกว่า Liberal Modernity นั้นมันชัด (obvious) แค่ไหน
ด้วยความที่กระแสของ Liberal Modernity มันเป็นอะไรที่โดดเด่นมาก มันจึงถูกแย่งชิงจากทุกฝ่าย
ทุกสานักคิด เพื่อที่จะได้เป็นผู้ให้คาอธิบายหลัก หรือเป็นตัวแทนอานาจเหนือ Liberal Modernity จน
บางครั้งมันก็ทาให้เราในฐานะผู้สังเกตการณ์ (และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในขบวนการแย่งชิงนี้ด้วย) อดขาไม่ได้
พวก (Globalised) Capitalist (นักทุนนิยมโลกาภิวัตน์) ก็จะอ้างว่าปัจจัยที่สาคัญที่สุดของ Liberal
Modernity ก็คือ การไหลเวียน หรือหมุนเวียนของทุนที่เป็นอิสระ ในขณะที่เหล่านักปฏิวัตินิยม
(Revolutionist) ก็จะอ้างว่าอิสรภาพต่างหากที่เป็นส่วนที่สาคัญสุด พอเป็นแบบนี้พวกนักสังคมนิยม
(Socialist) ก็จะออกมาประกาศกร้าวว่าที่สาคัญที่สุดนั่นน่ะคือความเท่าเทียมต่างหากแม้แต่พวกเผด็จการ
อานาจนิยม (Fascist/Hegemon) ก็ออกมาโวยวายจะแย่งชิงเก้าอี้ผู้นาของ LiberalModernity กับเค้าด้วย
โดยการบอกว่า Power ต่างหากที่ยังมีบทบาทสาคัญที่สุดที่พวกก่อนหน้านี้พูดมานั่นน่ะ มันเพ้อฝัน สุดท้าย
พวกโลกสวยอย่างนักสิ่งแวดล้อมนิยม (Environmentalist) ก็จะพยายามมาเบรกด้วยการเทศน์ว่าโลกเป็น
ของทุกคน พวกมึงอย่าเถียงกันเลยมาช่วยกันลดโลกร้อนเถอะ แน่นอนว่าไม่มีใครสนใจฟังมันนักอยู่แล้ว
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการถกเถียงมันจะดุเดือด รุนแรง และน่าสังเวชปานใด สิ่งหนึ่งที่เราอาจจะพอ
ย้อนกลับไปหาได้นั่นคือจุดมุ่งหมายอันเป็นเสมือนรากเหง้าของยุคสมัย คนส่วนใหญ่ก็ดูจะยอมรับ และเห็น
4
ด้วย นั่นคือ ความคิดเรื่อง Perpetual Peace หรือสันติภาพอันถาวร ของคานท์นั่นเอง ซึ่งถูกนามาใช้อย่าง
แพร่หลาย และเป็นเสาหลักทางความคิดในการพัฒนาระบบความคิดทางการเมืองมากมาย
ฉะนั้นภายใต้การแย่งชิงอันดุเดือดทางอุดมการณ์ เพื่อให้ได้มาซึ่งสันติภาพอันถาวรนี้เอง ผลิตผล
หนึ่งที่อาจจะนับได้ว่าถูกยกย่อง บูชา กันมากที่สุด (จะทาตามหรือไม่นั้นอีกเรื่อง) จนถูกมองเสมือนหนึ่งเป็น
ตัวแทนของยุคก็เกิดขึ้น และสามารถมีชัยเหนือทุกผลิตผลอื่นของยุคได้ ด้วยคุณลักษณะที่ดูเสมือนว่าจะ
สามารถนาไปสู่จุดหมายตามรากเหง้าความคิดอย่าง Perpetual Peace ได้ นั่นก็คือ “ประชาธิปไตยเสรี”
(Liberal Democracy) ด้วยการมีเงื่อนไขง่ายๆ ที่ฟังดูแล้วแสนจะประเสริฐของประชาธิปไตยเสรี ที่พยายาม
ให้คนที่แตกต่างหลากหลาย อยู่ร่วมกันอย่างแตกต่างหลากหลายได้ โดยไม่ฆ่ากันตายไปเสียข้างหนึ่ง ด้วย
หลักการที่ตรงไปตรงมา ดูเลิศเลอ พูดง่ายแต่ทาแสนยากนี้ทาให้มันเป็นที่ “ต้องตาต้องใจ” ของแทบทุกฝ่าย
บนกระดานความคิด (โดยเฉพาะทางการเมือง) และในทางหนึ่งทาให้คนพวกนี้ไม่ต้องมาฆ่ากันอีกต่อไป
เป็นระบบที่เปิดพอจะมีช่องให้ทุกฝ่ายได้แสดงความสาคัญ (หรือเบ่ง) ความคิดของตน ไม่ว่าจะเป็นการ
ไหลเวียนของทุน, อิสรภาพ, ความเสมอภาค, การต่อรองทางอานาจ ไปจนถึงการเสียสละตนเพื่อส่วนรวม
อย่างไรก็ดี แม้ว่าประชาธิปไตยเสรีจะฟังดูงดงาม น่าโหยหาอย่างว่ามา แต่ตัวมันเองนั้นกลับซุก
ซ่อน “ความขัดแย้งในตัวเอง” (Paradox) อยู่อย่างสาคัญๆ อย่างน้อยที่สุด 2 ประการ ประการแรกนั้นก็คือ
"ความย้อนแย้งภายในตัวเอง"(InternalParadox)กล่าวคือในสภาวะปกติLiberalModernity และLiberal
Democracy (ประชาธิปไตยเสรี) ในฐานะตัวแทนของยุคนั้น มีเป้าหมายในการจะพัฒนาตัวเองให้ไปสู่
จุดสูงสุด หรือก็คือการ "ตามเป้าหมาย" ให้ทัน หรือ "ไปให้ถึงเป้าหมาย" นั่นเอง
ดังที่ผมได้กล่าวมาแล้วตั้งแต่เริ่มพูด ว่าปัญหาเริ่มต้นที่ทาให้ผมนั้นเริ่มต้นงานชิ้นนี้เลย ก็คือ อะไร
คือเป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง หรือ What is the goal for the goal itself? และนี่แหละครับคือที่มาของ
คาถามดังกล่าว คือ ในเมื่อ Liberal Modernity/Democracy มีเป้าหมายในการก้าวไปสู้เป้าหมายแล้วล่ะก็
หากเมื่อไหร่ที่มันได้กลายเป็น "เป้าหมาย" (goal) แก่รัฐอื่นๆ หรือชุมชนอื่นๆ ขึ้นมาจริงๆ ล่ะ แล้วมันจะเหลือ
อะไรให้ไปต่ออีก?
5
ผมก็คิดไป อ่านไปเรื่อยๆ กับคาถามนี้จนผมได้มาพบกับงาน 2 ชิ้น ของฌ็อง โบรดิยาร์ด ชิ้นนึงกับ
สลาวอย ชิเช็กอีกชิ้นนึง ซึ่งพูดในลักษณะเดียวกัน (จริงๆ คือชิเช็กนาเอาไอเดียของโบรดิยาร์ดเรื่อง
Simulacra หรือโลกจริงจาลองมาใช้) ฉะนั้นผมเลยขอยกมาให้ดูด้วยกันเลยตรงนี้ด้วยนะครับ
ในงานที่มีชื่อว่า Welcome to the Dessert of the Real!: Five Essays on September 11 and
Related Dates ชิเช็กได้กล่าวไว้อย่างน่าคิดว่า
“...poorpeoplearoundtheworlddream aboutbecomingAmericans -sowhatdothewell-
to-do Americans, immobilised in their well-being, dream about? About the global
catastrophe that would shatter their lives.”
[เหล่าผู้ยากไร้ทั่วโลกต่างเฝ้าใฝ่ฝันกันหวังว่าจะได้มีชีวิตเยี่ยงคนอเมริกัน แล้วเหล่าชนอเมริกันผู้มี
อันจะกิน และถูกกักขังอยู่ในภาพของความสมบูรณ์พูนสุขของตนนั้นล่ะเฝ้าฝันถึงสิ่งใด? นั่นก็คงจะ
เป็นความล่มสลายของโลกที่จะมาทาให้ชีวิตของพวกเขาป่นปี้ลงได้]
ในทานองเดียวกัน โบรดิยาร์ดก็ได้กล่าวไว้ในหนังสือของเค้าที่ชื่อว่า The Spirit of Terrorism ว่า
“We dreamt of this event [9/11]. ... They did it, but we wished for it.”
(พวกเราเฝ้าฝันถึงเหตุการณ์นี้[9/11]...พวกเขาคือผู้ลงมือ ทว่าพวกเราคือผู้ซึ่งปรารถนามัน)
และคาตอบในลักษณะเดียวกันนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะกับนักคิดสายทวนกระแสอย่างพวกชิเช็ก หรือ
โบรดิยาร์ด แต่แม้แต่นักคิด Neo-Conservative ตัวพ่ออย่าง Irving Kristol (คนนี้เป็นคนพิมพ์งานของฟูกุยา
มะออกมาด้วย และมีสมญานามว่า Godfather of Neoconservativism) ก็ได้ออกมาพูดในทานองเดียวกัน
6
ก่อนเกิด 9/11 นานเลยนะครับ นั่นคือ ตอนสงครามเย็นจนลง และสหรัฐอเมริกาได้ขึ้นมาเป็น Supreme
Goal ของโลกเรียบร้อยแล้ว Kristol ก็กล่าวโดยพอสรุปความได้ว่า "บัดนี้เมื่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้จบสิ้นลงไป
แล้ว อะไรเล่าที่จะมาเป็นเป้าหมายของเราต่อไป?" ซึ่งในการตอบคาถามของตนเอง ที่ Irving ได้ตั้งไว้เองนี้
เค้าได้เสนอไว้ ดังนี้:
"We may have won the Cold War, which is nice - more than nice, it's wonderful. But this
means that now the enemy is us, not them."
เพราะฉะนั้นสาหรับผมแล้ว นี่แหละคือภาพคาตอบต่อคาถามที่ผมได้ตั้งเอาไว้ และคือคาตอบของ
ความย้อนแย้งประการแรกของ Liberal Democracy/Modernity ที่ผมเรียกว่า "ความย้อนแย้งภายใน" คือ
Liberal Modernity มันกลายเป็นรูปแบบที่พยายามพัฒนาตัวเองไปถึงที่สุด เพื่อเป้าหมายคือการทาลาย
หรือความชิบหายของตัวมันเอง แต่แน่นอนการตอบเพียงแต่ว่าเราฝันถึงการโดนทาลายจนป่นปี้ (shatter)
นั้นคงเป็นอะไรที่ลอยๆ ไปหน่อย และง่ายไปสักนิด และจุดนี้เองที่งานของผมเริ่มพยายามอธิบายว่ามันเกิด
อะไรขึ้นบ้างจาก “เป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง” (Goal for the goal itself) ที่พยายามจะทาลายตัวมันเอง
ลง และ paradox ที่ว่านี้มันไม่ใช่อะไรที่คนจะรู้สึกถึงมันได้โดยง่าย เพราะเราถูกก่อร่าง หล่อหลอม และ
ครอบคลุมเรื่อยมา ผ่าน "ภาพจาลอง" (Simulation) ต่างๆ มากมาย ทั้งภาพยนตร์ ละคร การ์ตูน นิยาย ฯลฯ
จนมันกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของโลกที่เราอยู่ หรือกลายเป็นโลกทั้งใบของเราไปโดยปริยายในที่สุด หรือ
กล่าวในอีกลักษณะหนึ่งก็คือ ประชากรส่วนใหญ่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งของรัฐซึ่งได้กลายไปเป็น
เป้าหมาย หรือ goal ของรัฐอื่นๆ หรือรัฐที่ยิ่ง modernized (ถูกทาให้ทันสมัย เข้าสู่ภาวะสมัยใหม่) มาก
เท่าไหร่นั้นได้ถูกโยกย้ายไปอยู่ในอีกโลกหนึ่งไปอยู่ใน Hyperreal World (โลกจริงล้นจริง) อย่างแยกไม่ออก
มากยิ่งขึ้นไปอีก เพราะมี Simulations มาทาหน้าที่เป็นตัวเคลื่อนย้ายประชากรไปยังโลก Hyperreal (ความ
จริงล้นจริง) นั่นเอง เพราะฉะนั้นแม้เหล่าอเมริกันชนจะฝันถึงโลกาวินาศดังโบรดิยาร์ดว่าไว้ แต่พวกเค้าไม่ได้
รู้ตัวเลยว่ากาลังฝันถึงมันอยู่ และไม่เคยนึกเลยว่า สิ่งที่พวกเขาฝันถึงนั้น มันจะมาถึงจริงๆ พวกเขาจึง
พยายามเชิดชูบูชา และสนับสนุนการขยายตัววิถีประชาธิปไตย "ในแบบของพวกเขา" ต่อไป จนในที่สุด มัน
ก็ก้าวไปถึงจุดที่ฝันเค้าเป็นจริงขึ้นมาจริงๆ
7
ด้วยความไม่รู้ตัวถึงฝันที่ตัวเองเฝ้าใฝ่หา และเกินกว่าจะคาดเดาได้ว่าฝันนั้นมันจะมาถึงจริงๆ นี้เอง
ที่ทาให้เกิดความย้อนแย้งอีกประการหนึ่งขึ้น นั่นคือสิ่งที่ผมเรียกหลวมๆ ว่า "ความย้อนแย้งภายนอก"
(External Paradox) ซึ่งมันเกิดมาจากความพยายามผลักดัน และขยายประชาธิปไตยเสรีนี่แหละ คือ เมื่อ
ประชาธิปไตยเสรี ถูกมองเป็นสิ่งทรงคุณค่าในตัวมันเองแล้ว และทุกฝ่ายต่างก็เชิดชูบูชา ทาการสนับสนุน
อย่างเต็มที่ พยายามปกป้องอย่างสุดความสามารถ พยายามจะส่งเสริมและขยายแนวคิดของเสรี
ประชาธิปไตยให้แผ่ขยายมากยิ่งขึ้น จึงทาให้เกิดการ "ฆ่ากันเพื่อปกป้อง และขยายตัวของระบอบที่สร้าง
ขึ้นมาเพื่อให้คนไม่ต้องฆ่ากันตาย" (Tofight in the name of democracy) ไม่เพียงเท่านั้นเมื่อจุดหมายของ
Liberal Democracy ในกระแส Liberal Modernity มันคือการให้ได้มาซึ่ง Perpetual Peace หรือสันติภาพ
อันถาวรนั่นย่อมหมายความถึงการต้องปกป้องเสรีประชาธิปไตยอย่างถาวรด้วย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง และถึง
ที่สุดก็คือ ความย้อนแย้งภายนอกนี้ก็คือ เสรีประชาธิปไตยได้กลายเป็นระบอบที่ต้องการสร้างความสันติสุข
อันถาวรด้วยการฆ่ากันซ้าๆ อย่างถาวรนั่นเอง คงเป็นลักษณะเดียวกันกับที่จอร์จ ออร์เวลล์ได้กล่าวไว้ใน
งานเขียนของเค้าที่ชื่อ 1984 แต่ในบริบทที่แตกต่างกันบ้าง ว่า "War is Peace. Freedom is Slavery.
Ignorance is Strength." (สงครามคือสันติภาพ, อิสรภาพคือการเป็นทาส, ความไม่รู้คือพลัง) นั่นเอง
ฉะนั้น เมื่อสันติภาพอันถาวร มันเท่ากับสงครามที่ไม่มีวันจบแล้ว เมื่อเรามองย้อนกลับไป เราก็จะ
พอเห็นเค้าลางของปรากฏการณ์ดังกล่าวได้โดยไม่ยากนัก เช่น ในทางหนึ่งมันคงเป็นการยากที่จะปฏิเสธ
บทบาทของสงครามเย็นในฐานะสงครามเพื่อปกป้องสันติภาพของประเทศตะวันตก นอกจากนี้ยังมี
สงครามยาเสพติด หรือพวก Humanitarian Intervention ต่างๆ อีก จนท้ายที่สุดก็มาถึง "สงครามต่อต้าน
การก่อการร้าย" ที่แม้จะถูกประกาศขึ้นครั้งแรกในสมัยประธานาธิบดีโรนัล เรแกน แต่ก็เพิ่งจะมาดังเอาจริงๆ
ในสมัยรัฐบาล George W Bush ด้วยอิทธิพลของเหตุการณ์ 9/11 ยิ่งไปกว่านั้นสิ่งที่ทาให้สงครามต่อต้าน
การก่อการร้ายดูจะพิเศษไปกว่าสงครามอื่นๆ ก่อนหน้านั้นก็ดูจะอยู่ที่ว่า มันเป็นสงครามที่พยายามจะระงับ
ความกลัวด้วยกระบวนการสร้างความกลัวขึ้นมานั่นเอง เพราะฉะนั้นในแง่นี้แล้ว อาจจะเรียกได้ว่ามันเป็น
สงครามที่เข้าล็อกที่สุด เหมาะสมที่สุดในการขยายพันธ์เสรีนิยมประชาธิปไตยก็เป็นได้ ในเมื่อมันทาลาย
ความกลัว ด้วยการสร้างความกลัวเอง จึงเป็นวังวนที่ไม่มีวันจบสิ้น ใช้งานกับสงครามที่ไม่มีวันจบ เพื่อ
8
สันติภาพอันถาวรได้เป็นอย่างดี ณ จุดนี้ เราอาจจะกล่าวได้ว่าเป้าหมายของการมีสันติภาพอันถาวรก็คือ
การได้มาซึ่งความหวาดกลัวที่ไร้จุดจบนั่นเอง
และเพื่อจะให้ไปถึงเป้าหมายในการเกิดความหวาดอันไร้จุดจบนี้กลไกการดูแล และบ่มเพาะความ
กลัวจึงต้องกาเนิดขึ้น เพื่อรองรับการไปถึงเป้าหมายดังกล่าว โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ที่วางตัวเองใน
ฐานะผู้นาของค่ายเสรีประชาธิปไตยแล้ว ดังเราจะเห็นได้จากการวางระบบป้องกันภัยต่างๆ มากมายที่เดิม
ก็มากอยู่แล้ว แต่ทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เหตุการณ์ 9/11 เป็นต้นมา เช่น การใช้ระบบเครื่องสแกน
Iris (ระบบสแกนม่านตา), กล้อมวงจรปิดในแทบทุกซอกหลืบมุมถนน, การดักตรวจข้อมูลอีเมลล์, การเฝ้า
ระวังการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างรุนแรง เป็นต้น ทั้งหมดนี้นั้น ก็เพื่อสิ่งที่พวกเขาอ้างว่าเป็นการ "ป้องกัน และ
รักษาความปลอดภัยให้แก่ประชาชน จากภัยเฉพาะตัวจากการก่อการร้าย"
อย่างไรก็ดี ปัญหาหนึ่งที่ตามมา และควรต้องลองคิดนั่นก็คือ หากเราจะมีระบบเพื่อ "ป้องกันภัย"
อะไรบางอย่างแล้ว อย่างน้อยที่สุดสิ่งที่พยายามป้องกันนั้นมันต้องมีอันตรายพอที่จะเรียกว่าเป็นภัยได้ พูด
ง่ายๆ คือ การที่จะป้องกันภัยอะไรได้ มันต้องมีภัยเพื่อเอามาไว้ให้ป้องกันด้วยนั่นเอง แน่นอนเมื่อเราหลงอยู่
ในโลก Hyperreal เราย่อมรู้สึกกันไปว่าการก่อการร้ายมันเป็นภัยคุกคามอันน่าหวาดหวั่น มันมีตัวตน มัน
น่าหวาดกลัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพวกประเทศตะวันตก เจริญจัดอย่างสหรัฐอเมริกา ที่ปีนึงๆ ผลิต
Simulations (สื่อ) เกี่ยวกับการก่อการร้าย และโลกาวินาศมาไม่รู้เท่าไหร่นั้นยิ่งแล้วใหญ่ สาหรับพวกเค้า
แล้ว "สถานะของความเป็นภัยของการก่อการร้าย" จึงกลายเป็นสิ่งที่ไม่ต้องการการพิสูจน์ไป แต่เมื่อเราดู
จากสถิติ ซึ่งต้องขอบอกไว้ก่อนว่าโดยปกติแล้วผมไม่ชอบการใช้สถิติอะไรพวกนี้นัก เพราะมันขึ้นกับตัว
บุคคลมากๆ ว่าอะไรจะนับ (count) ว่าเป็นสิ่งที่ศึกษาอยู่หรือไม่นั้น มัน subjective (อัตวิสัย) มาก
โดยเฉพาะประเด็นที่เป็นนามธรรมมากๆ อย่างการก่อการร้าย ที่แม้แต่นิยามว่าขนาดไหนเรียกว่าก่อการ
ร้ายยังเถียงกันไม่เคยจบเลย จะมานับสถิติกันได้อย่างไร นั่นคือปัญหาสาคัญ และทาให้ผมไม่ชอบการใช้
วิธีการสายนี้ แต่เพื่อให้รับได้กันทุกฝ่าย สถิติที่ผมนามาแสดงในครั้งนี้นั้น โดยมากจะรวบรวมมาจากทาง
ราชการของสหรัฐอเมริกาเองเลย กล่าวก็คือ เป็นการนับกรณีการก่อการร้าย แล้วทาสถิติผ่านสายตา หรือ
เลนส์ของพวกที่ "เอะอะก็ตีความว่าเป็นก่อการร้าย" ได้ง่ายที่สุดนี่แหละ และสถิติที่พบก็น่าตกใจทีเดียวครับ
9
มาดูกันว่าในระบบโลกจริงๆ การก่อการร้ายมันเป็นภัยอะไรอย่างที่กลัวกันไหม โดยผมจะเน้นไปที่อัตราการ
ตายจากการก่อการร้าย และเปรียบเทียบกับหลายๆ กรณีให้ดู ตามตารางครับ
10
เปรียบเทียบอัตราการเสียชีวิตจากการก่อการร้าย และกรณีอื่นๆ
อัตราการ
ตาย
สาเหตุการตาย
1 ใน 236 ตายจากการตกจากที่สูง (USA)
1 ใน 325 ตายจากการโดนอาวุธยิง (USA)
1 ใน 80,000 ตายจากการก่อการร้ายระหว่างประเทศ (USA)
1 ใน 80,000 ตายจากการโดนอุกกาบาตตกใส่
จานวนคน
ตาย
สาเหตุการตาย
3,547 จานวนคนตายทั้งโลกจากการก่อการร้ายในปี
2001 นอกเขตสงคราม (รวมเหตุการณ์ 9/11 ด้วย)
300 - 700 จานวนการตายโดยเฉลี่ย จากการก่อการร้ายทั่ว
โลกในแต่ละ (นับแต่ปี 1968 - ปัจจุบัน)
100 โดนกวางฆ่า (USA)
100 แพ้ถั่วลิสง (USA)
320 จมน้าในอ่างอาบน้า (USA)
40,000 จานวนคนตายทั่วโลกโดยประมาณต่อวันจากความยากจน
3 ล้าน จานวนคนตายทั่วโลกโดยประมาณต่อปี จากเชื้อ HIV
170-200
ล้าน
จานวนคนตายโดยประมาณ อันเกิดจากการฆ่าประชาชน
โดยรัฐบาลในช่วงศตวรรษที่ 20 (นอกเขตสงคราม)
17,175
(กรณี)
จานวนเหตุการณ์ (นับทั้งที่เกิดกับคน และเฉพาะสิ่งก่อสร้าง)
11
จากสถิติดังที่แสดงนะครับ หรือจริงๆ อีกตัวเลขหนึ่งที่ผมไม่ได้แสดงไว้ คืออัตราการตายจากการก่อ
การร้ายนี่ใกล้เคียงมากนะครับ กับการตายโดยโดนผึ้งต่อย หรือฟ้าผ่า ซึ่งเราน่าจะพอเห็นคาตอบเลาๆ แล้ว
ว่าไอ้สิ่งที่เรียกว่าการก่อการร้ายนั้น มันไม่น่าจะถูกเรียกว่าเป็น "ภัย" ได้เลย แม้แต่ในทางสถิติที่มาจากการ
ตีความของสหรัฐอเมริกาเอง มิเช่นนั้นแล้ว หากจะนับว่ามันเป็นภัย และใช้มาตราฐานเดียวกันกับการ
จัดการป้องกันภัยแบบเดียวกัน เป็นสแตนดาร์ดเดียวแล้วเนี่ย เราคงต้องมี War on Bee, War on
Toilet/Slipery Floor, War on Deer, War on Meteor, ฯลฯ ไปด้วย แต่ทั้งๆ ที่มันไม่ได้เป็นภัยอะไรเลย แล้ว
ทาไมมันยังต้องมีระบบมาป้องกันภัย สิ่งที่มันยากแม้แต่จะเรียกว่าเป็นภัยด้วยล่ะ? ในจุดนี้ผมคิดว่าโบรดิ
ยาร์ด และนักวิชาการด้านก่อการร้าย ชาวบาสก์ แห่งมหาวิทยาลัยเนวาด้า ที่มีชื่อว่า โจเซบ้า ซูไลก้า ได้ให้
คาตอบไว้อย่างน่าคิด และเป็นไปในทานองเดียวกันว่า "ก็เพราะแม้แต่ตัวเจ้าหน้าที่รัฐเอง ก็คิดจริงๆ เชื่อ
จริงๆ น่ะสิว่าก่อการร้ายมันเป็นภัยร้ายแรง" (จริงๆ แอบคิดถึงเล็กเชอร์ของ อ.ธงชัย ตอนมาคาบอาจารย์
ฉลอง) และซูไลก้าเอง ก็ได้พยายามนาเสนออย่างยิ่ง ในงานที่ดีมากๆ ของเค้า ที่มีชื่อว่า Terrorism: A Self-
Fulfilling Prophesy ว่า สงครามก่อการร้าย และนโยบายการก่อการร้ายอย่างที่สหรัฐอเมริกากาลังดาเนิน
อยู่นี้เอง ที่กาลังจะทาให้สิ่งที่ไม่ได้แม้แต่จะเป็นภัยอะไร กลายมาเป็นภัยจริงๆ ไป
จากความย้อนแย้งทั้งสองระดับที่นาเสนอมา ผมคิดว่าเราคงพอที่จะสรุปได้ประการหนึ่งว่า สิ่งที่
ชี้นา หรือนาทางกระบวนการ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ไม่ใช่มนุษย์คนใดคนหนึ่ง รัฐบาลใดรัฐบาลหนึ่ง หรือ
แม้แต่ประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่ผมคิดว่ามันคือการทางาน การสั่งการของภาวะสมัยใหม่ (Modernity at
large) โดยตัวมันเอง ซึ่งฝังราก (Implant) อยู่ในตัวเรา และทาให้เราต้องดาเนินไปตามนั้น โดยที่ไม่รู้ตัวใดๆ
เลย อย่างที่ผมได้บอกไปว่าในงานของซูไลก้า เขาได้ไล่เรียงหาหลักฐานต่างๆ มาแสดงว่าแม้แต่ตัวรัฐบาล
สหรัฐอเมริกาเอง ก็เชื่อฝังจิตฝังใจจริงๆ ว่าการก่อการร้ายมันเป็นภัย
ด้วยกระบวนการต่างๆ เหล่านี้ที่เกิดขึ้น มันทาให้เหล่าอเมริกันชนที่อาศัยอยู่ใน Hyperreality
(ความจริงล้นจริง) ตลอดเวลา ไม่อาจจะหลุด หรือนึก (recognise) ได้ว่าภัยที่ตัวเองกลัวอยู่นั้นมันไม่มีจริง
มันเป็น unreal threat และในที่สุด ด้วยการหลงในวังวนนี้เอง พวกเขาจะค่อยๆ ทาให้ unreal threat (ภัยที่
ไม่ได้เป็นภัยจริงๆ) ที่ว่านี้ มันกลายเป็นจริงขึ้นมา ทาให้มัน real เพื่อไปถึงจุดมุ่งหมายของภาวะสมัยใหม่
12
(modernity at large) หรือก็คือการทาลายตัวเองลง หรือก็คืออยู่ใน “กระบวนการการกลายเป็นความจริง”
(Process of becoming real)
ฉะนั้นสาหรับผมแล้ว เหตุการณ์ 9/11 มันจึงเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของจุดจบของตัวเองที่ modernity
(ภาวะสมัยใหม่) กาลังพยายามสร้างขึ้น และสิ่งที่ตามมาหลังจากนั้น มันก็ได้แสดงให้เห็นถึง "process of
becoming real" หรือกระบวนการในการกลายเป็นเรื่องจริง ต่างๆ เช่น สงครามต่อต้านการก่อการร้าย, การ
เพิ่มความเข้มข้นในระบบตรวจจับต่างๆ, หรือการเพิ่มวาทกรรมที่ลดทอนความมีเหตุผล และความชอบ
ธรรมของเหล่าผู้ต่อต้านลง สิ่งเหล่านี้เองที่สุดท้ายจะทาให้ภัยที่ไม่เคยมีจริง กลายเป็นสิ่งซึ่งจริงขึ้นมาได้ ซึ่ง
ก็คงเป็นอย่างที่ซูไลก้าว่าไว้ว่า สงครามการก่อการร้ายมันเป็นเพียงการเติมเต็มความคาดหวังอันไม่จริงให้
เกิดขึ้นจริง (Self-Fulfilling Prophecy) เท่านั้นเอง แต่ผมอยากจะเสนอต่างออกไปจากซูไลก้าอยู่บ้าง ตรงที่
สาหรับผมแล้วนี่ไม่ใช่Self-FulfillingProphecy (คาทานายที่มีขึ้นเพื่อเต็มตัวเอง) ของสหรัฐอเมริกา หากแต่
เป็นของ Modernity at large แทน
ทีนี้ เรื่องทั้งหมดมันจะชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากเราประกอบเรื่องนี้ เข้ากับเรื่องที่ผมเคยโฟนอินเข้า
รายการ Tonight Thailand รอบก่อน ที่พูดถึงการสร้างความหวาดกลัว ผมเลยขออธิบายแบบละเอียดควบ
กันไปเลยนะครับ
เอาจริงๆ ประเด็นก็เรื่องเดียวกันนี่แหละครับ เพียงแต่ว่าผมเน้นอธิบายจากคนละจุด แล้วค่อยเอา
มารวมกัน ในส่วนแรก อย่างที่พูดไปคือ ผมเน้นการพูดถึงภาพรวมของโลก และสถานการณ์ปัจจุบันที่เรา
ดารงอยู่ ว่า "โลก" ที่เราอยู่นั้นมันเป็นเช่นไร มัน "ไม่จริง" แค่ไหน ทานองนั้น
มาในส่วนนี้ ผมตั้งใจจะเน้นไปที่เรื่องของตัวตนของเราในระบบโลกมากกว่า คือ ตอนแรกเป็นการ
บอกว่าเราโดนโลกลวงตาเราว่าตัวตนของโลกเองที่แท้แล้วมันเป็นอย่างไร และในส่วนของช่วงนี้จะเป็นการ
พูดว่าเราถูกโลกลวงตาเราว่าตัวตนที่แท้ของเราเองนั้น มันเป็นอย่างไร...ทานองนั้น
13
ในส่วนนี้ผมเองก็คงจะต้องขอเริ่มต้นจากประเด็นหลักที่พูดกันในส่วนก่อนอีกเหมือนเดิมนั่นแหละ
นะครับ นั่นก็คือเรื่องของ Liberal Democracy คือ เมื่อเรานาการปรากฏตัวของ Liberal Democracy หรือ
ประชาธิปไตยเสรีเนี่ย มาวางบนเส้นเวลาในทางประวัติศาสตร์ เราจะได้เห็นถึงอิทธิพลของมันในการ
ก่อให้เกิดผลิตผลที่สาคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งของยุค Liberal Modernity นั่นก็คือ “การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข
ของมนุษย์” (The Transcendence of Human Condition) นะครับ กล่าวคือ ก่อนการกาเนิดขึ้นของ
ประชาธิปไตยเสรี สถานะของมนุษย์ในฐานะ "มนุษย์" (Human Being) นั้น ยังไม่ได้ถูกบรรจุอยู่ในความ
เข้าใจของสังคมโดยทั่วไป มนุษย์ถูกมองในฐานะที่เป็น Human Subject (เบี้ยมนุษย์) ไม่ใช่ Human Being
(มนุษย์) ซึ่งอยู่ภายใต้อานาจและการเป็นเจ้าของของคนอื่น อย่างในรัฐเผด็จการ สมบูรณาญาสิทธิราชย์
ผู้นาชนเผ่า คณาธิปไตย มนุษย์ส่วนใหญ่ในสังคมนั้นๆ อยู่ในฐานะชีวิตที่ได้รับอนุญาตให้มีชีวิตอยู่ได้ ที่
พร้อมจะถูกริบคืนได้ทุกเมื่อ พวกเขาเป็นทรัพย์สมบัติ (Property/Possession) ของผู้นาในสังคมนั้นๆ เป็น
ชีวิตซึ่งไร้ซึ่งสิทธิของตนเอง หรือพูดง่ายๆ ก็คือ มนุษย์เป็นสัตว์ปศุสัตว์ทางการเมืองนั่นเอง
ด้วยการกาเนิดขึ้นของประชาธิปไตยเสรี และอีกหนึ่งในผลิตผลสาคัญของยุคสมัยใหม่นั่นก็คือ
ระบบรัฐชาติ ได้ร่วมกันมอบคุณค่าเหนือกว่าการเป็นสมบัติในครอบครองให้กับมวลเนื้อและกระดูกขยับได้
ของ Human Subject และเปลี่ยนพวกเค้าจากการเป็นทรัพย์สิน ให้มาเป็นผู้ร่วมถือครองอานาจเหนือ
ดินแดนที่เรียกว่ารัฐอย่างเท่าเทียมกัน แต่คุณค่าและสิทธิดังว่านี้ไม่ใช่สิ่งที่ได้มาฟรีๆ นะครับ ในทางตรงกัน
ข้าม รัฐชาติและประชาธิปไตยทาหน้าที่เป็นเสมือนร้านค้า ที่ขายความปลอดภัย (Security) สิทธิ และ
เสรีภาพ โดยแลกกับความเชื่อฟัง (Obedience) และอัตลักษณ์ (Identity) ของท่าน
กระบวนการแลกเปลี่ยนนี้แสดงให้เราเห็นถึงการเปลี่ยนแปลง และเงื่อนไขระหว่างตัวประชาชน
และตัวรัฐว่า หากมนุษย์คนใดเป็นสมาชิกของรัฐ รัฐนั้นมีหน้าที่ในการปกป้องสมาชิกของรัฐทุกคน ซึ่งต่าง
จากแนวคิดของระบอบเก่าที่รัฐมีขึ้นเพื่อปกป้อง Authoritarian (ผู้ถือครองอานาจสูงสุด) ของรัฐแต่เพียงผู้
เดียว อย่างไรก็ดีในรัฐประชาธิปไตยตามรูปแบบดังว่ามานี้ การจะมาเป็นสมาชิกของรัฐได้นั้น ผู้ซึ่งเข้ามา
เป็นสมาชิกรัฐจะต้องยอมละทิ้ง "อัตลักษณ์ของตน (แบบที่ตนเลือกที่จะเป็นเอง)" ทิ้งไป แล้วยอมให้รัฐสวม
ทับด้วย "อัตลักษณ์แบบทางการของรัฐ" หรือ State's official identity เข้าไปแทนที่ และสาคัญยิ่งไปกว่านั้น
14
การ "แลกเปลี่ยน" ที่เกิดขึ้นนี้ในรัฐประชาธิปไตยเสรีนั้น เป็นการแลกเปลี่ยนแบบไม่ได้มีเจตจานงเสรี
(freewill) ในการเลือกที่จะแลกเปลี่ยน หากแต่เราโดนบังคับผ่านกระบวนการที่ถูกเรียกว่า "ระบบทะเบียน
ราษฏร์" ให้ทาการแลกเปลี่ยนนี้ เพราะนับแต่เราเกิดมา ก็จะต้องถูกบันทึกลงสู่ทะเบียนราษฏร์ให้เป็น
สมาชิกของรัฐ ผ่านสมมติฐานของรัฐประชาธิปไตยที่ว่า ทุกคนต้องการอยู่กับกู เพราะสิ่งที่ได้มาจากการ
แลกเปลี่ยนของเรา จึงเป็นเสรีภาพ (Freedom) ที่ปราศจากเจตจานงเสรี (Freewill) ไป เพราะฉะนั้นสิ่งนี้จึง
ได้กลายมาเป็นอีกหนึ่งความย้อนแย้งในตัวเองของประชาธิปไตยเสรี ที่มันพยายามจะสร้างเสรีภาพ
(Freedom) ขึ้น โดยทาลาย "เจตจานงเสรี" (freewill) ไป โดยเจตจานงเสรีที่โดนละทิ้งไปแต่แรกเกิด ก็จะถูก
สวมทับใหม่ด้วยเจตจานงเสรีตัวใหม่ที่รัฐจะมอบให้เรา นั่นก็คือ กฏเกณฑ์ของรัฐ หรือกฏหมาย
ด้วยเหตุนี้ประชนชนแห่งรัฐ (ประชาธิปไตย) จึงสามารถกลายเป็นคน ในความหมายว่าเป็น
Human Being ได้ (ไม่ใช่ Human Subject) ด้วยการละทิ้งตัวตน และทางเลือกรากฐานของตนทิ้งไป และมี
กฎหมายมาทาหน้าที่ใหม่ให้ทั้งเป็นอัตลักษณ์แทนตัวตนของเรา และเป็น "เจตจานงเสรีที่รัฐบังคับให้
(State's Given Freewill)" ด้วยหน้าที่ของการเป็นเจตจานงเสรีฉบับทางการนี้เอง ทาให้กฎหมายทาหน้าที่
ในการแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มคือ ผู้ซึ่งเชื่อฟัง (The Obedience) เจตจานงเสรีฉบับทางการ และผู้ไม่เชื่อฟัง
ในเจตจานงเสรีฉบับทางการ (The Disobedience) หรือก็คือ เป็นคนที่ยังอยู่ในครรลองของกฎหมายและ
การเมืองของรัฐ กับคนที่อยู่นอกครรลองของกฎหมายและครรลองของรัฐนั่นเอง
แต่ว่า แม้สมาชิกรัฐจะโดนรัฐ (กฎหมาย) ขับไล่ออกจากความเป็นสมาชิกรัฐไปแล้ว แต่นั่นก็ไม่ได้
ทาให้สภาพของการมีเสรีภาพโดยไร้ซึ่งเจตจานงเสรีมันหมดไป มันยังคงอยู่กับเรา ดังที่ Giorgio Agamben
ได้เสนอไว้ถึงความย้อนแย้งของอานาจและหน้าที่ของกฎหมาย คือ เมื่อมันใช้อานาจในการเอาคนออกจาก
การคุ้มครองทางกฎหมายและการเมือง เป็นพวก Out of politics แล้วนั้น สภาพ หรือสถานะดังกล่าวของ
คนซึ่งถูกไล่ออกไปนั้นจะต้องอยู่ในสถานะทั้ง "อยู่ใน และอยู่นอก" อานาจของกฎหมายในเวลาเดียวกัน (In
and out of politics at the same time) ที่ต้องอยู่ในและนอกกฎหมายและการเมืองในเวลาเดียวกันนั้นก็
เพราะเมื่อเราเกิดมา เราก็ถูกบังคับให้เข้าสู่ระบบทะเบียนราษฎร์ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ และเมื่อจะถูกให้ออกจากกฎหมาย เราจึงต้องอ้างอิงตัวเองกับคาสั่งทางกฎหมาย คือ เราถูก
15
สั่งให้อยู่นอกการเมืองและกฎหมาย โดยอานาจของกฎหมายเอง ตัวเราจะไม่อาจออกจากการเมืองและ
กฎหมายได้เลยตราบหากเราไม่มีอานาจของรัฐและกฎหมายมาอ้างอิงอยู่ นั่นแปลว่าถึงท้ายที่สุดแล้ว หาก
เราได้ย่างกรายเข้ามาสู่เงื้อมมือของประชาธิปไตยแล้ว (ซึ่งเราจาเป็นต้องเข้ามา เพราะโดนบังคับให้เข้าแต่
แรกเกิด) เราจะไม่มีวันหนีออกไปจากสภาวะของการอยู่อย่างมีเสรีภาพโดยไร้ซึ่งเจตจานงเสรีไปได้ตลอด
กาล ไม่เว้นแม้แต่ตอนตายที่ยังมิวายต้องมาแจ้งกับรัฐ และกฎหมายผ่านระบบทะเบียนราษฎร์ตัวดีนี่อีกว่า
"ตายแล้วนะ"
นอกจากนี้นะครับ ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่งที่เชื่อมโยงประเด็นสาคัญต่างๆ ในงานของผมเข้า
ด้วยกันก็คือ เรื่องที่ว่า "ใครกันแน่ที่เป็นต้นตอของความหวาดกลัว: การก่อการร้าย หรือ Liberal Modernity"
คือ ในส่วนที่แล้วผมได้อธิบายถึงภาวะ "ความเป็นภัยคุกคาม" ของการก่อการร้าย โดยอาศัยตัวเลข หรือ
อัตราการตาย เปรียบเทียบกับเหตุในการตายแบบอื่นๆ ทีนี้คาถามคือ ทาไมผมต้องเลือกเอาความตายมาชี้
วัดความเป็นภัยคุกคาม นั่นก็เพราะเราจะรู้สึกว่าอะไรมันมีอันตรายต่อเรา มันน่าหวาดกลัว มันเป็นภัย ก็
ต่อเมื่อมันอาจส่งผลเสียให้เราได้ และผลเสียที่สาคัญที่สุดที่ว่าก็คือความตาย และในส่วนนี้ก็ดังที่ผมได้ว่า
ไปนั่นก็คือ "รัฐมีหน้าที่ในการสร้างความมั่นคง ความปลอดภัยให้กับเรา" และการเกิดขึ้นของประชาธิปไตย
ได้มอบคุณค่าและสิทธิให้กับเรา (โดยที่มันเป็นสิทธิเสรีภาพแบบที่รัฐกาหนด และไร้ซึ่งเจตจานงเสรีใดๆ
ทั้งสิ้น) ซึ่งสิทธิที่สาคัญที่สุด และยุ่งยากที่สุดที่ประชาธิปไตยได้นามาให้มนุษย์นั่นก็คือ "สิทธิในการมีชีวิต"
(Right to Live a Life) อันเป็นหนึ่งในสิทธิระดับรากฐานที่สุดของรัฐประชาธิปไตย ซึ่งนั่นทาให้ทุกอย่าง
เปลี่ยนไป
เมื่อประชาธิปไตยได้มอบสิทธิในการมีชีวิตอยู่ให้กับสมาชิกของรัฐ นั่นทาให้คุณค่าของชีวิต (Virtue
of Life) เปลี่ยนไปหมดชนิดหน้ามือเป็นหลังมือ เพราะ "การมีชีวิตอยู่" ได้กลายมาเป็น virtue (คุณค่า) ใน
ระบบคิดของยุค Liberal Modernity และนั่นทาให้การกลัวจะสูญเสียซึ่งคุณค่า (virtue) นี้กลายเป็นสิ่งที่
สาคัญที่สุดไป กล่าวก็คือ ด้วยสานึกคิดแบบประชาธิปไตย สิ่งที่น่าหวาดกลัวที่สุด สิ่งที่มันเป็นความกลัว
สูงสุด (Supreme Terror) จึงเป็นการโดนพรากสิทธิในการมีชีวิตอยู่ไปนั่นเอง
16
โทมัส ฮอบบส์ (1588 - 1679) หนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลที่สุดในโลกตะวันตก และอาจจะ
เรียกว่าบังเอิญได้ที่เกิดในช่วงการเปลี่ยนผ่านของยุค (Transitional Era) พอดี อาจจะเรียกได้ว่าเป็นมนุษย์
เพียงช่วงเดียวที่อยู่ในช่วงเวลาที่เห็นเค้าลางของการกาเนิดขึ้นของประชาธิปไตย ซึ่งในจุดนี้เองฮอบบส์ได้
เสนอไว้อย่างน่าสนใจว่า:
ความกลัวต่อความตาย (fear of death) นั้นเป็นผลิตผลสาคัญของยุคสมัยใหม่ ซึ่งเพื่อนร่วมยุค
ของเขาไม่เคยตระหนักถึง เนื่องจากโดนบังตาอยู่ด้วยหลักการผิดๆ 3 ประการ นั่นคือ 1.ความหลง
ผิดว่าโลกเรานี้อยู่กันอย่างกลมเกลียวด้วยเหตุผล และความเป็นธรรมจากพระผู้เป็นเจ้า, 2. คือ
ความคิดเชิดชูมนุษย์ที่เชื่อว่าจะสามารถเป็นอมตะได้ด้วยการกระทาคุณงามความดี และ 3. การ
สั่งสอนที่ทาให้เชื่อว่าการลุกขึ้นสู้ และการตอบโต้การลุกขึ้นสู้นั้น เป็นการตายอันเป็นแบบอย่าง
เพื่อรับใช้พระผู้เป็นเจ้า อันเป็นรูปแบบหนึ่งของการเสียสละร่างกายอันยิ่งใหญ่ (Martyrdom) ซึ่ง
มันจะรับประกันการพ้นทุกข์ให้แก่ผู้กระทา
กล่าวก็คือ สาหรับฮอบบส์แล้ว ความขี้ขลาด (Cowardice) ไม่ใช่สิ่งที่น่าสมเพช ตรงกันข้ามมันเป็น
สิ่งซึ่งน่านับถือ และถูกต้อง แต่ความกล้าหาญบ้าบิ่นอย่างเพื่อนร่วมยุคของเขาต่างหากที่เป็นสิ่งที่ผิดใน
สายตาของฮอบบส์ เพราะฉะนั้นและสาหรับฮอบบส์ การเกิดเป็นคนของยุคสมัยใหม่ มันมาพร้อมกับ
เงื่อนไขในการ "ต้องกลัว" ... กลัวที่จะเสียชีวิต หรือกล่าวอีกในหนึ่งก็คือ มันคือตัว Liberal Modernity at
large (ภาวะสมัยใหม่ทั้งมวล) และเสรีประชาธิปไตยนี่เองที่มอบสิทธิในการมีชีวิตอยู่ให้กับเรา พร้อมทั้งเป็น
บ่อเกิดของความกลัวไปพร้อมๆ กัน และอาจจะเป็นความโชคดีของฮอบบส์ที่มีชีวิตในช่วงยุคเปลี่ยนผ่าน
และอาจจะพอเรียกได้ว่าเป็นกลุ่มเดียวในประวัติศาสตร์ ที่พอจะเลือกได้จริงๆ ว่าจะเป็น Modern Man
หรือไม่ แต่พวกเรานั้นไม่อาจมีเจตจานงเสรีที่จะเลือกอะไรใดๆ ได้เลย
ความกลัวตายนี้ได้กลายมาเป็นกลไกหลักในการสร้างความกลัวของระบอบประชาธิปไตย มาก
เสียยิ่งกว่าปัจจัยภายนอกใดๆ พูดไปก็คือ สิ่งที่เป็นต้นกาเนิด หรือผู้ก่อสร้างความกลัวจริงๆ มันไม่ใช่ของ
ภายนอกอย่างการก่อการร้าย หรือ 9/11 อะไรหรอก แต่มันเป็นสิ่งที่ถูกปลูกสร้าง (Implant) ในตัวเราแต่แรก
17
อยู่แล้ว นั่นก็คือความกลัวที่จะตายอันไม่อาจจะหลีกหนีได้ หากเราไม่ได้ถูกปลูกสร้างขึ้นมาด้วยผลิตผลของ
ยุคสมัยใหม่อย่างการกลัวความตายแล้วล่ะก็ ต่อให้เกิดเหตุการณ์อย่างที่เรียกๆ กันว่าการก่อการร้ายสัก
เท่าไหร่ มันก็จะไม่มีความหมายอะไรใดๆ เลย นอกเสียจาก "การลดจานวนลงของทรัพย์สมบัติใน
ครอบครอง" เท่านั้น เหมือนดั่งฝูงปศุสัตว์ที่ตายเมื่อเชื้อแอนแทร็กส์ระบาด คือ อาจจะมีความกลัวในเชิง
เศรษฐกิจบ้าง แต่มันจะไม่ใช่ความหวาดกลัวในเซนส์เดียวกับที่เรามีต่อการก่อการร้ายแบบที่เป็นอยู่เลย
ไม่ใช่ความกลัวของการสูญเสีย หรือเสี่ยงชีวิต แต่เป็นความกลัวในการสูญเสียทรัพย์สินนั่นเอง
ผลกระทบของการกลัวความตายนั้น มันไม่ได้จบลงแค่ว่ามันเป็นต้นกาเนิดของความหวาดกลัวที่
แท้จริงของมนุษย์ยุคใหม่ (Modern Man) เท่านั้น แต่มันยังเชื่อมโยงอย่างเหนียวแน่นต่อ "เป้าหมาย" ของ
"ภาวะสมัยใหม่ที่อยู่ ณ จุดสูงสุด" (Modernity at its peak) ด้วย นั่นก็คือ การทาลายตนเองของภาวะ
สมัยใหม่ ที่เราพูดถึงในส่วนก่อนหน้า ก็คือ เมื่อเราเกิดมาแล้วต้องโดนบังคับเข้าสู่ระบบการผลิตของยุค
สมัยใหม่แล้ว ทาให้ในที่สุดเราจะมองเห็นรัฐในฐานะพระเจ้าองค์ใหม่ ที่มาแทนพระเจ้าองค์เดิมที่เราเคย
กราบไหว้ และพระเจ้าใหม่นี้ก็มีพันธะสัญญาที่จะปกป้องเราให้ปลอดภัย (การอธิบายเรื่องรัฐในฐานะพระ
เจ้าใหม่นี้ก็เป็นแนวคิดของฮอบบส์ ที่ผ่านการตีความของ David Campbell) ... แล้วปลอดภัยจากอะไรล่ะ
ก็ปลอดภัยจากความกลัวที่จะต้องตายนั่นแหละครับ นั่นหมายความว่า ยิ่งเรามีความกลัวว่าจะตายได้สูง
เท่าไหร่ รัฐก็จะยิ่งมีอานาจอันชอบธรรมมากขึ้นเท่านั้นในนามของ "ความมั่นคงตามพันธะสัญญา
(Promised Security)" สูงตามไปด้วย ฉะนั้นในแง่นี้แปลว่า ความกลัวตายนี้ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการ
สร้างความชอบธรรมให้แก่การใช้อานาจในทางความมั่นคง โดยผ่านความพร้อมใจ (consent) ที่ถูกหลอก
อยู่ในโลก hyperreal ของประชาชนนั่นเอง คือ เป็น Hyperreal Consent (การพร้อมใจแบบจริงล้นจริง) ที่
บอกว่าเป็น HyperrealConsent ก็เพราะว่าโดยปกติแล้ว Consent หรือความพร้อมใจนี้มันมีนัยยะของการ
มีทางเลือกอยู่บนเจตจานงเสรี (Freewill) แต่ในเมื่อเจตจานงเสรีของเราถูกริบไปเรียบร้อยแล้วแต่แรกเกิด
และถูกแทนที่ด้วยเจตจานงฉบับทางการ นั่นทาให้ที่ยังคงเหลืออยู่เป็นเพียง Unreal reality (ความจริงอันไม่
จริง) ที่ทาให้เราหลงคิดไปว่าเจตจานงฉบับทางการนั้นเป็นเจตจานงเสรีที่แท้จริง กล่าวอีกอย่างก็คือ "ความ
พร้อมใจ" นี้มันได้กลายเป็นความจริงโดยตัวมันเอง ไม่ใช่ตัวเราทาให้มันเป็นจริง
18
เมื่อคิดตามนี้แล้ว เราจะพบว่าการเพิ่มความเข้มข้นของระบบป้องกันภัยต่างๆ (Surveillance
System) นั้นถูกสร้างขึ้นเพื่อเพิ่มพลังให้กับความหวาดกลัวต่อภัยที่จะทาให้เราตายได้ และนั่นหมายถึงการ
เสริมพลังให้กับ Hyperreality ได้ฝังรากลึกลงในสังคมเรื่อยๆ อย่างแยกไม่ออกอีกด้วย และผมคิดว่าควรจะ
เน้นอีกครั้งให้เข้าใจตรงกันนี้ว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ผมเสนอว่ามันคือการกระทาที่เหนือกว่าระบบของรัฐชาติขึ้น
ไปเสียอีก มันคือการทางานของความเป็นสมัยใหม่ที่อยู่ ณ จุดสูงสุด (Modernity at its peak) โดยตัวมันเอง
เลย ดังจะเห็นได้จากงานของซูไลก้า ที่ได้เสนออย่างชัดเจนว่า สงครามการต่อต้านการก่อการร้ายนั้น ตัว
สหรัฐอเมริกาเอง (ในฐานะรัฐ และรัฐบาล) ก็เชื่ออย่างสนิทใมจจริงๆ ถึงการมีอยู่ของการก่อการร้ายใน
ฐานะภัยนั่นเอง หรือกล่าวก็คือตัวรัฐชาติทางานในฐานะกลไก หรือฟันเฟืองหนึ่งของ Liberal Modernity
เท่านั้น ไม่ใช่ผู้ขับเคลื่อนกระบวนการเหล่านี้ด้วยตัวมันเอง
อีกสิ่งหนึ่งที่เราจะเห็นได้จากการทางานของรัฐในฐานะฟันเฟือง หรือกลไกของยุคสมัยใหม่นั้นก็คือ
การโฆษณาชวนเชื่ออย่างเกินจริง ต่อการก่อการร้ายในฐานะภัย และต้นกาเนิดแห่งความกลัวที่น่า
สยดสยอง และสังคมเองก็ตอบรับต่อการโฆษณาชวนเชื่อที่ว่านี้อย่างสุดกาลังด้วย (จริงๆ การขยายตัวของ
สาขาวิชานี้ในโลกตะวันตก และในวงการสิ่งพิมพ์ก็เป็นหลักฐานในตัวมันเองพอสมควรอยู่แล้ว) ตัวอย่าง
หนึ่งที่เห็นได้ค่อนข้างชัดเจนก็คือ ในช่วงสองปีแรกหลังจากเกิดเหตุการณ์ 9/11 ทาง Department of State
ของสหรัฐอเมริกาได้มีการออกบทสัมภาษณ์,สปีช,และ PressRelease มากกว่า6,000ฉบับซึ่งนับว่าเป็น
ตัวเลขที่สูงอย่างน่าสยดสยองพองขนกันมากทีเดียวนะครับ และพวกสปีชต่างๆ เหล่านี้เองก็ได้รับความ
สนใจจากอเมริกันชนอย่างมากมหาศาลอย่างไม่เคยประกฎมาก่อนเลยทีเดียว อย่างสปีชตัว President's
Address to Congress and American People เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2001 นี่มียอดชมมากกว่า 80 ล้าน
วิว ซึ่งนับเป็นยอดที่สูงมากๆๆๆๆ สาหรับสปีชทางการเมือง และไม่ต้องพูดถึงเนื้อหาในสปีชนี้ด้วยว่ามีการ
หยามเหยียด มี Hate Speech มีการสร้างวาทกรรมอย่าง "ไร้เหตุผล, ป่าเถื่อน, มุสลิมหัวรุนแรง" เข้ามาผสม
ใส่การก่อการร้ายมากเพียงใด คือ เรียกได้ว่าตลอดการพูดเลยทีเดียว
ด้วยความหวาดกลัวต่อความตายที่มากขึ้น ผ่านวาทกรรมการก่อการร้าย ทาให้พลังของโลกจริง
จาลอง (Simulacra) เข้มแข็งขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการทับซ้อนที่มากขึ้น เข้มข้นขึ้นของความจริงอันไม่จริงว่าเรามี
19
เจตจานงอันเสรี และความคุ้มครองอย่างเต็มที่จากรัฐเมื่อเราแลกเปลี่ยนด้วยการเชื่อฟัง มันทาให้ประชากร
มองไม่เห็น, ถูกทาให้ไม่สนใจ หรือถูกทาให้มองไม่เห็น "เนื้อหา" (content) ของการกระทา (action) แล้ว
แทนที่มัน สวมรอยมันเข้าไปใหม่ด้วยเนื้อสารที่ถูกสร้างมาจากครรลองของโลกจริงจาลอง เช่น หากมีใครสัก
คนหนึ่งบังคับให้คุณถอดเสื้อผ้าออกให้หมดแล้วก็เข้ามาสัมผัส ลูบไล้ จับต้องร่างกายคุณตามใจชอบ และขู่
ว่าหากไม่ทาตามจะยิง หรือจะจองจาไว้แล้วนั้น หากบุคคลผู้นั้นเป็น "ใครบางคนจากรัฐที่ล้าหลัง" เขาจะถูก
ตราหน้าทันทีว่าเป็นผู้ก่อการร้าย เป็นอาชญากร แต่หากผู้กระทานั้นอยู่ในชุดยูนิฟอร์มของรัฐ อย่าง
เจ้าหน้าที่ตารวจ หรือเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง การกระทาแบบเดียวกันไม่ผิดเพี้ยนนี้จะถูกมองทันทีว่า
เป็นการรักษาความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของเรา หาใช่การพรากมันไปอย่างในกรณีแรก นั่น
แปลว่าภายใต้เงื่อนไขของการโดนกล่อมเกลาโดย Hyperreality และ Modernity at its peak (ภาวะ
สมัยใหม่ ณ จุดสูงสุด) มันทาให้เราเลือกที่จะละทิ้ง "เนื้อหา" ของการกระทาใดๆ ลงสิ้น และเหลือไว้แต่เพียง
"ใครเป็นผู้กระทา" และหาก Agamben เรียก A Man without Content (มนุษย์ซึ่งปราศจากแก่นสาร) ใน
ข้อเสนอของเขาว่า Homo Sacer ผมก็คิดว่าผมคงต้องเรียกปรากฏการณ์นี้ว่าเป็น "Actio Sacra" หรือ
Action without content เพราะเนื้อหาของการกระทาใดๆ ได้สูญสิ้นความหมาย และมูลเหตุในการมีอยู่ของ
มันลง หลงเหลือเพียงแต่ว่า ใครเป็นผู้กระทามัน (จริงๆ เหตุการณ์ในประเทศไทยในช่วงหลายปีมานี้ก็
แสดงออกถึงปรากฏการณ์นี้ค่อนข้างชัด) สรุปก็คือ ด้วยผลผลิตของแนวคิดเสรีประชาธิปไตยอย่าง "การ
กลัวความตาย" ที่ทาให้ประชากรเรียกร้องหาการปกป้องตามพันธะสัญญาจากรัฐอย่างเข้มข้นขึ้นนั้น มันได้
ทาให้เกิดความเข้มข้นขึ้นของภาพลวงตาว่า "เรากับรัฐได้แลกเปลี่ยนกันอย่างเท่าเทียม และเป็นระบบ" (คือ
อัตลักษณ์และการเชื่อฟัง แลกกับสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครอง) และยิ่งภาพลวงตานี้เข้มข้นขึ้นเท่าไหร่ ก็
ยิ่งยากขึ้นเรื่อยๆ ที่จะมองทะลุมันได้
จุดนี้เองที่ยิ่งเป็นการตอกย้าถึงประเด็นที่ผมได้เสนอไปก่อนหน้านี้ นั่นก็คือ จุดเริ่มต้นของความ
หวาดกลัว หรือ Terror นั้น มันหาได้มาจากปัจจัยภายนอกใดๆ แต่มันมาจากความกลัวตาย ที่ผมบอกว่ามัน
สนับสนุนกันก็เพราะว่าในโลกของ Hyperrealityนั้นการกระทาใดๆได้หมดความหมายในเชิงเนื้อหาของมัน
ลงไปแล้ว เราไม่รู้ตัวหรอกว่าต้นเหตุของความหวาดกลัวของเรานั้น มาจากการเกิดขึ้นของแนวคิด
ประชาธิปไตยเองเพราะเราอยู่ใน Hyperrealityเราจะหลงไปกลัว Form ofDoersหรือรูปลักษณ์/ตัวตนของ
ผู้กระทาการไปเสีย นั่นเพราะตัวเนื้อหาของการกระทาภายนอกใดๆ ไม่ได้มีความหมาย และไม่ใช่สิ่งที่สร้าง
ขยายความ 9 11 ในรายการ tonight thailand
ขยายความ 9 11 ในรายการ tonight thailand
ขยายความ 9 11 ในรายการ tonight thailand
ขยายความ 9 11 ในรายการ tonight thailand

Mais conteúdo relacionado

Destaque (12)

9-11 S E P T
9-11  S E P T9-11  S E P T
9-11 S E P T
 
9 мая 2015 года в Сагарчинской СОШ.
9 мая 2015 года в Сагарчинской СОШ.9 мая 2015 года в Сагарчинской СОШ.
9 мая 2015 года в Сагарчинской СОШ.
 
903 921-1-pb
903 921-1-pb903 921-1-pb
903 921-1-pb
 
Профессии 9 класс на конкурс
Профессии 9 класс на конкурсПрофессии 9 класс на конкурс
Профессии 9 класс на конкурс
 
900020411 5 sayiin guilgee
900020411   5 sayiin guilgee900020411   5 sayiin guilgee
900020411 5 sayiin guilgee
 
навигатор 91
навигатор 91навигатор 91
навигатор 91
 
9 2 I periodo
9 2 I periodo9 2 I periodo
9 2 I periodo
 
90 dicas de_administração_do_tempo_
90 dicas de_administração_do_tempo_90 dicas de_administração_do_tempo_
90 dicas de_administração_do_tempo_
 
инф 9 демо 2015
инф 9 демо 2015инф 9 демо 2015
инф 9 демо 2015
 
9-13-16 www.joc.com New Orleans latest port to finance cleaner trucks
9-13-16 www.joc.com New Orleans latest port to finance cleaner trucks9-13-16 www.joc.com New Orleans latest port to finance cleaner trucks
9-13-16 www.joc.com New Orleans latest port to finance cleaner trucks
 
94 183-1-sm gestion de la biodiversidad
94 183-1-sm gestion de la biodiversidad94 183-1-sm gestion de la biodiversidad
94 183-1-sm gestion de la biodiversidad
 
9365 bsr gateway
9365 bsr gateway9365 bsr gateway
9365 bsr gateway
 

Mais de goffaree

Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...
Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...
Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...
goffaree
 

Mais de goffaree (11)

The clear proofs for refuting the doubts of the people of takfeer and bombing
The clear proofs for refuting the doubts of the people of takfeer and bombingThe clear proofs for refuting the doubts of the people of takfeer and bombing
The clear proofs for refuting the doubts of the people of takfeer and bombing
 
Does islam need_a_reformation_i_era_dont_hate_debate
Does islam need_a_reformation_i_era_dont_hate_debateDoes islam need_a_reformation_i_era_dont_hate_debate
Does islam need_a_reformation_i_era_dont_hate_debate
 
A critique of the methodology of anwar al awlaki and his errors in the issue ...
A critique of the methodology of anwar al awlaki and his errors in the issue ...A critique of the methodology of anwar al awlaki and his errors in the issue ...
A critique of the methodology of anwar al awlaki and his errors in the issue ...
 
Does the ends justify the means
Does the ends justify the meansDoes the ends justify the means
Does the ends justify the means
 
Extremism the causes effect and the cure
Extremism the causes effect and the cureExtremism the causes effect and the cure
Extremism the causes effect and the cure
 
The kharijites historical roots of the ideology of extremism and terrorism
The kharijites historical roots of the ideology of extremism and terrorismThe kharijites historical roots of the ideology of extremism and terrorism
The kharijites historical roots of the ideology of extremism and terrorism
 
Warning againt extremism
Warning againt extremismWarning againt extremism
Warning againt extremism
 
Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...
Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...
Islam came to protect society from criminals and not to protect criminals at ...
 
Apostasy and islam
Apostasy and islamApostasy and islam
Apostasy and islam
 
Who own sthe_universal_rights_to_the_terms_moderation_or_moderate_muslim
Who own sthe_universal_rights_to_the_terms_moderation_or_moderate_muslimWho own sthe_universal_rights_to_the_terms_moderation_or_moderate_muslim
Who own sthe_universal_rights_to_the_terms_moderation_or_moderate_muslim
 
What is a tāghūt
What is a tāghūtWhat is a tāghūt
What is a tāghūt
 

ขยายความ 9 11 ในรายการ tonight thailand

  • 1. 1 การก่อการร้าย ภาวะสมัยใหม่ และความรุนแรงของระบอบประชาธิปไตย วันที่ 11 กันยายน 2015 ที่ผ่านมา ผมได้ไปพูดในรายการ Tonight Thailand ในหัวข้อเกี่ยวกับการ ก่อการร้ายในโลกตะวันตก และเหตุการณ์ 9/11 ซึ่งเป็นประเด็นค่อนข้างจะใหญ่มาก และด้วยเวลาที่ ค่อนข้างจากัด ทาให้ได้คิดเผยแพร่บทความนี้ต่อ เพื่อขยายความให้ชัดเจนมากขึ้น ด้วยอยากให้หายงง (แต่ อ่านแล้วอาจจะงงกว่าเดิมได้ 555)หรือไม่เข้าใจประเด็นที่จะสื่อหลักๆผิดไปโดยพูดกันตามตรงเนื้อหาที่ผม พูดเมื่อวาน รวมถึงในนี้นั้น อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “ด้านมืด” ของภาวะสมัยใหม่ และระบอบประชาธิปไตย แต่ผมไม่ได้มีเป้าหมายจะ “ปฏิเสธหรือลดทอนความชอบธรรม”อะไรเพียงแต่เมื่อเราต้องอยู่กับมันแล้วเรา ก็ควรอยู่กับมันอย่ารู้เท่าทัน และเข้าใจมันให้รอบด้าน เมื่อเข้าใจด้าน “มืด” ของมันแล้ว เราจะได้เตรียมการ รับมือกับมันได้ และหาวิธีการจัดการกับมันแบบต่างออกไป อย่างการจัดการกับการก่อการร้ายนั้น สิ่งที่ผม พยายามจะนาเสนอเป็นอย่างยิ่งในรายการก็คือ “วิธีแบบสหรัฐอเมริกา ที่ตอบโต้ 9/11 มันผิด” และนามาสู่ ปัญหาที่เยอะขึ้น คาราคาซังมากขึ้น และหากเรารู้เท่าทันมัน เราก็อาจจะพอสามารถใช้ทางออกที่ดีกว่า แบบกรณีประเทศนอร์เวย์ได้ เป็นต้น นี่คือจุดประสงค์หลักที่อยากจะบอกนะครับ ไม่ได้มีเป้าหมายจะบอก ว่า “เราต้องไม่เอาโลกสมัยใหม่ กลับไปเอาโลกสมัยเก่าดีกว่า” อะไรแบบนั้น เริ่มจากภาพคร่าวๆ ของเหตุการณ์ 9/11 ก่อน ก็คือ มีการจี้เครื่องบินโดยสาร 4 ลา โดยมี 2 ลาไปชน อาคารแฝด World Trade Center อีก 1 ลา ไปชนปีกตะวันตกของอาคารเพนตาก้อน และลาสุดท้าย ผู้โดยสารในเครื่องช่วยการยึดเครื่องคืนจากกลุ่มผู้ก่อการร้าย และสุดท้ายเครื่องไปตกที่ทุ่งแห่งหนึ่งในฟิลา เดลเฟีย (จากเส้นทางบินตอนแรก คาดว่าจะพุ่งไปชนสภาคอนเกรส) สรุป มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ราวๆ 3,000 คน ซึ่งนับเป็นการเสียชีวิตจากการก่อการร้ายครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และนามาซึ่งการ เปลี่ยนแปลงในโลกในหลายๆ ด้าน แต่เนื่องจากเขียนเอา เรามีเวลามากกว่าการพูด ฉะนั้นผมจะขอเริ่ม อธิบายคนละแบบจากในรายการละกันนะครับ ผมจะพูดภาพรวมงานของผมให้ฟัง โดยอธิบายตามลาดับ “ความคิด” ของผมตอนเขียนงาน ว่าคาถามของผมมันเริ่มจากจุดไหน แล้วสุดท้ายเราจะเห็นความเชื่อมโยง เอง แต่คงต้องอ่านจนจบ และขอเตือนเลยว่ายาวมากๆๆๆๆ
  • 2. 2 ก่อนอื่นผมอยากให้เข้าใจร่วมกันก่อนว่า เวลามีการพูดถึงเรื่อง "ก่อการร้าย" ในโลกตะวันตกตอนนี้ (ในนัยยะว่า เป็นโลกยุคหลัง 9/11 เอาจริงๆ ก็เป็นผลพวงจาก 9/11 โดยตรงนั่นแหละนะครับ) มันเป็นเรื่องที่ คอขาดบาดตายและร้ายแรงมากทีเดียว อาจจะมากที่สุดเสียด้วยซ้า มีหลายกรณีที่มีการปฏิบัติต่อนักโทษ ในคดีก่อการร้ายแย่เสียยิ่งกว่านักโทษคดีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และในอังกฤษงี้ คดีที่เป็นคดีก่อการร้ายก็แทบจะ เป็นไม่กี่คดีที่เหลืออยู่ที่ใช้การพิจารณาความแบบลับ และหลายครั้งนักโทษก็ถูกทรมานมากมาย แน่นอน ความหวาดกลัวต่อการก่อการร้ายอย่างมากเหล่านี้มันมาจาก 9/11 อย่างปฏิเสธไม่ได้อยู่ แต่ความกลัวการ ก่อการร้ายในโลกกระแสหลักมันมีมานานก่อนหน้านั้นแล้ว มันแค่มาโดนจุดระเบิดตอนเวิร์ดเทรดถล่ม และ กลายเป็นทาให้ประเด็นการก่อการร้ายที่กลัวกันแบบ “เงียบๆ” กลายมาเป็นภัยที่กลัวกันแบบ “บ้าคลั่ง” ไป โดยในโลกตะวันตกจะมองการก่อการร้ายในฐานะภัยคุกคามชีวิต ที่ไม่อาจควบคุมได้ คาดเดาไม่ได้ หลบหนีไม่ได้ คือคุณจะไม่รู้เลยว่ามันจะมาเมื่อไหร่ และที่ไหนและนับแต่9/11เป็นต้นมาการควบรวมเรื่อง "ไร้เหตุผล ไร้ความเป็นมนุษย์ และมุสลิมหัวรุนแรง" ก็ถูกเหมารวมเข้าไปในกระบวนทัศน์เรื่องการก่อการร้าย กระแสหลักมากขึ้นอย่างมากนะครับ เอาเป็นว่านี่เป็นภาพคร่าวๆ ต่อความ panic (ตื่นตระหนก) ที่โลก ตะวันตกมีต่อการก่อการร้ายให้พอเห็นภาพกันบ้าง ซึ่งบอกตรงๆ ว่ามันต่างกับบ้านเราอยู่ ซึ่งผมคิดว่ามันมี ที่มาที่ไป และผมจะอธิบายต่อไป ทีนี้ไอเดียเริ่มต้นของงานผมนั้นมันเริ่มมาจากการตั้งคาถามข้อหนึ่งซึ่งดูเผินๆ แล้วแทบจะไม่เกี่ยว อะไรกับการก่อการร้ายเลย แต่เอาเข้าจริงๆ แล้ว มันเกี่ยวข้องอย่างมาก คาถามที่ว่าก็คือ What is the goal for the goal itself? (อะไรคือเป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง?) กล่าวคือ ในโลกสมัยใหม่ หรือในกระแสเวลา ที่เราเรียกๆ กันว่า Liberal Modernity ที่เราอยู่กันนี้รัฐซึ่งเป็นผู้นา ซึ่งเราจะเรียกจักรวรรดิ, ชาติมหาอานาจ, G-7, หรืออะไรก็ตามแต่นั้นล้วนแต่เป็น “เป้าหมาย (goal)” ของรัฐอื่นๆ โดยทั่วไป แต่ว่าอะไรกันล่ะที่เป็น จุดหมายของรัฐซึ่งเป็นเป้าหมายให้แก่รัฐอื่นๆ แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐอย่างสหรัฐอเมริกา ที่อาจจะกล่าว ได้ว่าเป็นผู้นาโลกยุคประชาธิปไตยนี้ทั้งในทางกาลังทหารเศรษฐกิจ และอิทธิพล ฉะนั้นคาถามมันก็กลับมา ว่า “อะไรคือเป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง” ในเมื่อมันไม่มีแบบอย่างอื่นให้ยึดถือเอาเป็นเป้าหมายอีกต่อไป
  • 3. 3 ที่ผมได้เริ่มถามคาถามนี้ขึ้นมา เพราะผมคิดว่าโลกยุคที่เราอาศัยอยู่ตอนนี้ เป็นเรื่องที่ปฏิเสธ ค่อนข้างยากว่าเราไม่ได้กาลังอยู่ในยุคที่ถูกเรียกรวมอย่างหลวมๆ ว่า Liberal Modernity (ประชาธิปไตย เสรี) มันชัดเจนแน่นอน ถึงขนาดที่คนอย่างฟรานซิส ฟูกุยามะ ถึงกับออกมาประกาศก้องว่า "นี่คือจุดสุดท้าย แล้ว โลกเราไม่มีอะไรจะเปลี่ยนอีกแล้ว" ในงานของเค้าที่ชื่อ The End of History and the Last Man หรือ หญิงเหล็กอย่างแท็ตเชอร์ก็พาเหรดออกมาบอกในลักษณะเดียวกันว่า We have no alternative. หรือ “เรา ไม่มีตัวเลือกอื่นอีกแล้ว” (นอกจาก Liberal Capitalism/ทุนนิยมเสรี) แม้ว่าผมเองจะไม่ได้เห็นด้วยกับแท็ต เชอร์ว่า "เราไม่มีตัวเลือกอื่นอีกแล้ว" หรือที่ฟูกุยามะ เสนอว่าเรา "ไม่มีทางเปลี่ยนเป็นแบบอื่นอีก" และ Liberal Modernity เอง มันก็อาจจะไม่ได้สมบูรณ์ ครอบคลุมเต็มร้อย และอาจจะมีแววที่จะเริ่มปรับไปเป็น รูปแบบอื่นบ้าง แต่ผมคิดว่าอย่างน้อยสิ่งเหล่านี้มันก็บอกกับเราได้ว่า ความจริงที่ว่าเราในตอนนี้กาลังอยู่ใน กระแสของยุคที่เรียกว่า Liberal Modernity นั้นมันชัด (obvious) แค่ไหน ด้วยความที่กระแสของ Liberal Modernity มันเป็นอะไรที่โดดเด่นมาก มันจึงถูกแย่งชิงจากทุกฝ่าย ทุกสานักคิด เพื่อที่จะได้เป็นผู้ให้คาอธิบายหลัก หรือเป็นตัวแทนอานาจเหนือ Liberal Modernity จน บางครั้งมันก็ทาให้เราในฐานะผู้สังเกตการณ์ (และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในขบวนการแย่งชิงนี้ด้วย) อดขาไม่ได้ พวก (Globalised) Capitalist (นักทุนนิยมโลกาภิวัตน์) ก็จะอ้างว่าปัจจัยที่สาคัญที่สุดของ Liberal Modernity ก็คือ การไหลเวียน หรือหมุนเวียนของทุนที่เป็นอิสระ ในขณะที่เหล่านักปฏิวัตินิยม (Revolutionist) ก็จะอ้างว่าอิสรภาพต่างหากที่เป็นส่วนที่สาคัญสุด พอเป็นแบบนี้พวกนักสังคมนิยม (Socialist) ก็จะออกมาประกาศกร้าวว่าที่สาคัญที่สุดนั่นน่ะคือความเท่าเทียมต่างหากแม้แต่พวกเผด็จการ อานาจนิยม (Fascist/Hegemon) ก็ออกมาโวยวายจะแย่งชิงเก้าอี้ผู้นาของ LiberalModernity กับเค้าด้วย โดยการบอกว่า Power ต่างหากที่ยังมีบทบาทสาคัญที่สุดที่พวกก่อนหน้านี้พูดมานั่นน่ะ มันเพ้อฝัน สุดท้าย พวกโลกสวยอย่างนักสิ่งแวดล้อมนิยม (Environmentalist) ก็จะพยายามมาเบรกด้วยการเทศน์ว่าโลกเป็น ของทุกคน พวกมึงอย่าเถียงกันเลยมาช่วยกันลดโลกร้อนเถอะ แน่นอนว่าไม่มีใครสนใจฟังมันนักอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการถกเถียงมันจะดุเดือด รุนแรง และน่าสังเวชปานใด สิ่งหนึ่งที่เราอาจจะพอ ย้อนกลับไปหาได้นั่นคือจุดมุ่งหมายอันเป็นเสมือนรากเหง้าของยุคสมัย คนส่วนใหญ่ก็ดูจะยอมรับ และเห็น
  • 4. 4 ด้วย นั่นคือ ความคิดเรื่อง Perpetual Peace หรือสันติภาพอันถาวร ของคานท์นั่นเอง ซึ่งถูกนามาใช้อย่าง แพร่หลาย และเป็นเสาหลักทางความคิดในการพัฒนาระบบความคิดทางการเมืองมากมาย ฉะนั้นภายใต้การแย่งชิงอันดุเดือดทางอุดมการณ์ เพื่อให้ได้มาซึ่งสันติภาพอันถาวรนี้เอง ผลิตผล หนึ่งที่อาจจะนับได้ว่าถูกยกย่อง บูชา กันมากที่สุด (จะทาตามหรือไม่นั้นอีกเรื่อง) จนถูกมองเสมือนหนึ่งเป็น ตัวแทนของยุคก็เกิดขึ้น และสามารถมีชัยเหนือทุกผลิตผลอื่นของยุคได้ ด้วยคุณลักษณะที่ดูเสมือนว่าจะ สามารถนาไปสู่จุดหมายตามรากเหง้าความคิดอย่าง Perpetual Peace ได้ นั่นก็คือ “ประชาธิปไตยเสรี” (Liberal Democracy) ด้วยการมีเงื่อนไขง่ายๆ ที่ฟังดูแล้วแสนจะประเสริฐของประชาธิปไตยเสรี ที่พยายาม ให้คนที่แตกต่างหลากหลาย อยู่ร่วมกันอย่างแตกต่างหลากหลายได้ โดยไม่ฆ่ากันตายไปเสียข้างหนึ่ง ด้วย หลักการที่ตรงไปตรงมา ดูเลิศเลอ พูดง่ายแต่ทาแสนยากนี้ทาให้มันเป็นที่ “ต้องตาต้องใจ” ของแทบทุกฝ่าย บนกระดานความคิด (โดยเฉพาะทางการเมือง) และในทางหนึ่งทาให้คนพวกนี้ไม่ต้องมาฆ่ากันอีกต่อไป เป็นระบบที่เปิดพอจะมีช่องให้ทุกฝ่ายได้แสดงความสาคัญ (หรือเบ่ง) ความคิดของตน ไม่ว่าจะเป็นการ ไหลเวียนของทุน, อิสรภาพ, ความเสมอภาค, การต่อรองทางอานาจ ไปจนถึงการเสียสละตนเพื่อส่วนรวม อย่างไรก็ดี แม้ว่าประชาธิปไตยเสรีจะฟังดูงดงาม น่าโหยหาอย่างว่ามา แต่ตัวมันเองนั้นกลับซุก ซ่อน “ความขัดแย้งในตัวเอง” (Paradox) อยู่อย่างสาคัญๆ อย่างน้อยที่สุด 2 ประการ ประการแรกนั้นก็คือ "ความย้อนแย้งภายในตัวเอง"(InternalParadox)กล่าวคือในสภาวะปกติLiberalModernity และLiberal Democracy (ประชาธิปไตยเสรี) ในฐานะตัวแทนของยุคนั้น มีเป้าหมายในการจะพัฒนาตัวเองให้ไปสู่ จุดสูงสุด หรือก็คือการ "ตามเป้าหมาย" ให้ทัน หรือ "ไปให้ถึงเป้าหมาย" นั่นเอง ดังที่ผมได้กล่าวมาแล้วตั้งแต่เริ่มพูด ว่าปัญหาเริ่มต้นที่ทาให้ผมนั้นเริ่มต้นงานชิ้นนี้เลย ก็คือ อะไร คือเป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง หรือ What is the goal for the goal itself? และนี่แหละครับคือที่มาของ คาถามดังกล่าว คือ ในเมื่อ Liberal Modernity/Democracy มีเป้าหมายในการก้าวไปสู้เป้าหมายแล้วล่ะก็ หากเมื่อไหร่ที่มันได้กลายเป็น "เป้าหมาย" (goal) แก่รัฐอื่นๆ หรือชุมชนอื่นๆ ขึ้นมาจริงๆ ล่ะ แล้วมันจะเหลือ อะไรให้ไปต่ออีก?
  • 5. 5 ผมก็คิดไป อ่านไปเรื่อยๆ กับคาถามนี้จนผมได้มาพบกับงาน 2 ชิ้น ของฌ็อง โบรดิยาร์ด ชิ้นนึงกับ สลาวอย ชิเช็กอีกชิ้นนึง ซึ่งพูดในลักษณะเดียวกัน (จริงๆ คือชิเช็กนาเอาไอเดียของโบรดิยาร์ดเรื่อง Simulacra หรือโลกจริงจาลองมาใช้) ฉะนั้นผมเลยขอยกมาให้ดูด้วยกันเลยตรงนี้ด้วยนะครับ ในงานที่มีชื่อว่า Welcome to the Dessert of the Real!: Five Essays on September 11 and Related Dates ชิเช็กได้กล่าวไว้อย่างน่าคิดว่า “...poorpeoplearoundtheworlddream aboutbecomingAmericans -sowhatdothewell- to-do Americans, immobilised in their well-being, dream about? About the global catastrophe that would shatter their lives.” [เหล่าผู้ยากไร้ทั่วโลกต่างเฝ้าใฝ่ฝันกันหวังว่าจะได้มีชีวิตเยี่ยงคนอเมริกัน แล้วเหล่าชนอเมริกันผู้มี อันจะกิน และถูกกักขังอยู่ในภาพของความสมบูรณ์พูนสุขของตนนั้นล่ะเฝ้าฝันถึงสิ่งใด? นั่นก็คงจะ เป็นความล่มสลายของโลกที่จะมาทาให้ชีวิตของพวกเขาป่นปี้ลงได้] ในทานองเดียวกัน โบรดิยาร์ดก็ได้กล่าวไว้ในหนังสือของเค้าที่ชื่อว่า The Spirit of Terrorism ว่า “We dreamt of this event [9/11]. ... They did it, but we wished for it.” (พวกเราเฝ้าฝันถึงเหตุการณ์นี้[9/11]...พวกเขาคือผู้ลงมือ ทว่าพวกเราคือผู้ซึ่งปรารถนามัน) และคาตอบในลักษณะเดียวกันนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะกับนักคิดสายทวนกระแสอย่างพวกชิเช็ก หรือ โบรดิยาร์ด แต่แม้แต่นักคิด Neo-Conservative ตัวพ่ออย่าง Irving Kristol (คนนี้เป็นคนพิมพ์งานของฟูกุยา มะออกมาด้วย และมีสมญานามว่า Godfather of Neoconservativism) ก็ได้ออกมาพูดในทานองเดียวกัน
  • 6. 6 ก่อนเกิด 9/11 นานเลยนะครับ นั่นคือ ตอนสงครามเย็นจนลง และสหรัฐอเมริกาได้ขึ้นมาเป็น Supreme Goal ของโลกเรียบร้อยแล้ว Kristol ก็กล่าวโดยพอสรุปความได้ว่า "บัดนี้เมื่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้จบสิ้นลงไป แล้ว อะไรเล่าที่จะมาเป็นเป้าหมายของเราต่อไป?" ซึ่งในการตอบคาถามของตนเอง ที่ Irving ได้ตั้งไว้เองนี้ เค้าได้เสนอไว้ ดังนี้: "We may have won the Cold War, which is nice - more than nice, it's wonderful. But this means that now the enemy is us, not them." เพราะฉะนั้นสาหรับผมแล้ว นี่แหละคือภาพคาตอบต่อคาถามที่ผมได้ตั้งเอาไว้ และคือคาตอบของ ความย้อนแย้งประการแรกของ Liberal Democracy/Modernity ที่ผมเรียกว่า "ความย้อนแย้งภายใน" คือ Liberal Modernity มันกลายเป็นรูปแบบที่พยายามพัฒนาตัวเองไปถึงที่สุด เพื่อเป้าหมายคือการทาลาย หรือความชิบหายของตัวมันเอง แต่แน่นอนการตอบเพียงแต่ว่าเราฝันถึงการโดนทาลายจนป่นปี้ (shatter) นั้นคงเป็นอะไรที่ลอยๆ ไปหน่อย และง่ายไปสักนิด และจุดนี้เองที่งานของผมเริ่มพยายามอธิบายว่ามันเกิด อะไรขึ้นบ้างจาก “เป้าหมายของตัวเป้าหมายเอง” (Goal for the goal itself) ที่พยายามจะทาลายตัวมันเอง ลง และ paradox ที่ว่านี้มันไม่ใช่อะไรที่คนจะรู้สึกถึงมันได้โดยง่าย เพราะเราถูกก่อร่าง หล่อหลอม และ ครอบคลุมเรื่อยมา ผ่าน "ภาพจาลอง" (Simulation) ต่างๆ มากมาย ทั้งภาพยนตร์ ละคร การ์ตูน นิยาย ฯลฯ จนมันกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของโลกที่เราอยู่ หรือกลายเป็นโลกทั้งใบของเราไปโดยปริยายในที่สุด หรือ กล่าวในอีกลักษณะหนึ่งก็คือ ประชากรส่วนใหญ่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งของรัฐซึ่งได้กลายไปเป็น เป้าหมาย หรือ goal ของรัฐอื่นๆ หรือรัฐที่ยิ่ง modernized (ถูกทาให้ทันสมัย เข้าสู่ภาวะสมัยใหม่) มาก เท่าไหร่นั้นได้ถูกโยกย้ายไปอยู่ในอีกโลกหนึ่งไปอยู่ใน Hyperreal World (โลกจริงล้นจริง) อย่างแยกไม่ออก มากยิ่งขึ้นไปอีก เพราะมี Simulations มาทาหน้าที่เป็นตัวเคลื่อนย้ายประชากรไปยังโลก Hyperreal (ความ จริงล้นจริง) นั่นเอง เพราะฉะนั้นแม้เหล่าอเมริกันชนจะฝันถึงโลกาวินาศดังโบรดิยาร์ดว่าไว้ แต่พวกเค้าไม่ได้ รู้ตัวเลยว่ากาลังฝันถึงมันอยู่ และไม่เคยนึกเลยว่า สิ่งที่พวกเขาฝันถึงนั้น มันจะมาถึงจริงๆ พวกเขาจึง พยายามเชิดชูบูชา และสนับสนุนการขยายตัววิถีประชาธิปไตย "ในแบบของพวกเขา" ต่อไป จนในที่สุด มัน ก็ก้าวไปถึงจุดที่ฝันเค้าเป็นจริงขึ้นมาจริงๆ
  • 7. 7 ด้วยความไม่รู้ตัวถึงฝันที่ตัวเองเฝ้าใฝ่หา และเกินกว่าจะคาดเดาได้ว่าฝันนั้นมันจะมาถึงจริงๆ นี้เอง ที่ทาให้เกิดความย้อนแย้งอีกประการหนึ่งขึ้น นั่นคือสิ่งที่ผมเรียกหลวมๆ ว่า "ความย้อนแย้งภายนอก" (External Paradox) ซึ่งมันเกิดมาจากความพยายามผลักดัน และขยายประชาธิปไตยเสรีนี่แหละ คือ เมื่อ ประชาธิปไตยเสรี ถูกมองเป็นสิ่งทรงคุณค่าในตัวมันเองแล้ว และทุกฝ่ายต่างก็เชิดชูบูชา ทาการสนับสนุน อย่างเต็มที่ พยายามปกป้องอย่างสุดความสามารถ พยายามจะส่งเสริมและขยายแนวคิดของเสรี ประชาธิปไตยให้แผ่ขยายมากยิ่งขึ้น จึงทาให้เกิดการ "ฆ่ากันเพื่อปกป้อง และขยายตัวของระบอบที่สร้าง ขึ้นมาเพื่อให้คนไม่ต้องฆ่ากันตาย" (Tofight in the name of democracy) ไม่เพียงเท่านั้นเมื่อจุดหมายของ Liberal Democracy ในกระแส Liberal Modernity มันคือการให้ได้มาซึ่ง Perpetual Peace หรือสันติภาพ อันถาวรนั่นย่อมหมายความถึงการต้องปกป้องเสรีประชาธิปไตยอย่างถาวรด้วย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง และถึง ที่สุดก็คือ ความย้อนแย้งภายนอกนี้ก็คือ เสรีประชาธิปไตยได้กลายเป็นระบอบที่ต้องการสร้างความสันติสุข อันถาวรด้วยการฆ่ากันซ้าๆ อย่างถาวรนั่นเอง คงเป็นลักษณะเดียวกันกับที่จอร์จ ออร์เวลล์ได้กล่าวไว้ใน งานเขียนของเค้าที่ชื่อ 1984 แต่ในบริบทที่แตกต่างกันบ้าง ว่า "War is Peace. Freedom is Slavery. Ignorance is Strength." (สงครามคือสันติภาพ, อิสรภาพคือการเป็นทาส, ความไม่รู้คือพลัง) นั่นเอง ฉะนั้น เมื่อสันติภาพอันถาวร มันเท่ากับสงครามที่ไม่มีวันจบแล้ว เมื่อเรามองย้อนกลับไป เราก็จะ พอเห็นเค้าลางของปรากฏการณ์ดังกล่าวได้โดยไม่ยากนัก เช่น ในทางหนึ่งมันคงเป็นการยากที่จะปฏิเสธ บทบาทของสงครามเย็นในฐานะสงครามเพื่อปกป้องสันติภาพของประเทศตะวันตก นอกจากนี้ยังมี สงครามยาเสพติด หรือพวก Humanitarian Intervention ต่างๆ อีก จนท้ายที่สุดก็มาถึง "สงครามต่อต้าน การก่อการร้าย" ที่แม้จะถูกประกาศขึ้นครั้งแรกในสมัยประธานาธิบดีโรนัล เรแกน แต่ก็เพิ่งจะมาดังเอาจริงๆ ในสมัยรัฐบาล George W Bush ด้วยอิทธิพลของเหตุการณ์ 9/11 ยิ่งไปกว่านั้นสิ่งที่ทาให้สงครามต่อต้าน การก่อการร้ายดูจะพิเศษไปกว่าสงครามอื่นๆ ก่อนหน้านั้นก็ดูจะอยู่ที่ว่า มันเป็นสงครามที่พยายามจะระงับ ความกลัวด้วยกระบวนการสร้างความกลัวขึ้นมานั่นเอง เพราะฉะนั้นในแง่นี้แล้ว อาจจะเรียกได้ว่ามันเป็น สงครามที่เข้าล็อกที่สุด เหมาะสมที่สุดในการขยายพันธ์เสรีนิยมประชาธิปไตยก็เป็นได้ ในเมื่อมันทาลาย ความกลัว ด้วยการสร้างความกลัวเอง จึงเป็นวังวนที่ไม่มีวันจบสิ้น ใช้งานกับสงครามที่ไม่มีวันจบ เพื่อ
  • 8. 8 สันติภาพอันถาวรได้เป็นอย่างดี ณ จุดนี้ เราอาจจะกล่าวได้ว่าเป้าหมายของการมีสันติภาพอันถาวรก็คือ การได้มาซึ่งความหวาดกลัวที่ไร้จุดจบนั่นเอง และเพื่อจะให้ไปถึงเป้าหมายในการเกิดความหวาดอันไร้จุดจบนี้กลไกการดูแล และบ่มเพาะความ กลัวจึงต้องกาเนิดขึ้น เพื่อรองรับการไปถึงเป้าหมายดังกล่าว โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ที่วางตัวเองใน ฐานะผู้นาของค่ายเสรีประชาธิปไตยแล้ว ดังเราจะเห็นได้จากการวางระบบป้องกันภัยต่างๆ มากมายที่เดิม ก็มากอยู่แล้ว แต่ทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เหตุการณ์ 9/11 เป็นต้นมา เช่น การใช้ระบบเครื่องสแกน Iris (ระบบสแกนม่านตา), กล้อมวงจรปิดในแทบทุกซอกหลืบมุมถนน, การดักตรวจข้อมูลอีเมลล์, การเฝ้า ระวังการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างรุนแรง เป็นต้น ทั้งหมดนี้นั้น ก็เพื่อสิ่งที่พวกเขาอ้างว่าเป็นการ "ป้องกัน และ รักษาความปลอดภัยให้แก่ประชาชน จากภัยเฉพาะตัวจากการก่อการร้าย" อย่างไรก็ดี ปัญหาหนึ่งที่ตามมา และควรต้องลองคิดนั่นก็คือ หากเราจะมีระบบเพื่อ "ป้องกันภัย" อะไรบางอย่างแล้ว อย่างน้อยที่สุดสิ่งที่พยายามป้องกันนั้นมันต้องมีอันตรายพอที่จะเรียกว่าเป็นภัยได้ พูด ง่ายๆ คือ การที่จะป้องกันภัยอะไรได้ มันต้องมีภัยเพื่อเอามาไว้ให้ป้องกันด้วยนั่นเอง แน่นอนเมื่อเราหลงอยู่ ในโลก Hyperreal เราย่อมรู้สึกกันไปว่าการก่อการร้ายมันเป็นภัยคุกคามอันน่าหวาดหวั่น มันมีตัวตน มัน น่าหวาดกลัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพวกประเทศตะวันตก เจริญจัดอย่างสหรัฐอเมริกา ที่ปีนึงๆ ผลิต Simulations (สื่อ) เกี่ยวกับการก่อการร้าย และโลกาวินาศมาไม่รู้เท่าไหร่นั้นยิ่งแล้วใหญ่ สาหรับพวกเค้า แล้ว "สถานะของความเป็นภัยของการก่อการร้าย" จึงกลายเป็นสิ่งที่ไม่ต้องการการพิสูจน์ไป แต่เมื่อเราดู จากสถิติ ซึ่งต้องขอบอกไว้ก่อนว่าโดยปกติแล้วผมไม่ชอบการใช้สถิติอะไรพวกนี้นัก เพราะมันขึ้นกับตัว บุคคลมากๆ ว่าอะไรจะนับ (count) ว่าเป็นสิ่งที่ศึกษาอยู่หรือไม่นั้น มัน subjective (อัตวิสัย) มาก โดยเฉพาะประเด็นที่เป็นนามธรรมมากๆ อย่างการก่อการร้าย ที่แม้แต่นิยามว่าขนาดไหนเรียกว่าก่อการ ร้ายยังเถียงกันไม่เคยจบเลย จะมานับสถิติกันได้อย่างไร นั่นคือปัญหาสาคัญ และทาให้ผมไม่ชอบการใช้ วิธีการสายนี้ แต่เพื่อให้รับได้กันทุกฝ่าย สถิติที่ผมนามาแสดงในครั้งนี้นั้น โดยมากจะรวบรวมมาจากทาง ราชการของสหรัฐอเมริกาเองเลย กล่าวก็คือ เป็นการนับกรณีการก่อการร้าย แล้วทาสถิติผ่านสายตา หรือ เลนส์ของพวกที่ "เอะอะก็ตีความว่าเป็นก่อการร้าย" ได้ง่ายที่สุดนี่แหละ และสถิติที่พบก็น่าตกใจทีเดียวครับ
  • 10. 10 เปรียบเทียบอัตราการเสียชีวิตจากการก่อการร้าย และกรณีอื่นๆ อัตราการ ตาย สาเหตุการตาย 1 ใน 236 ตายจากการตกจากที่สูง (USA) 1 ใน 325 ตายจากการโดนอาวุธยิง (USA) 1 ใน 80,000 ตายจากการก่อการร้ายระหว่างประเทศ (USA) 1 ใน 80,000 ตายจากการโดนอุกกาบาตตกใส่ จานวนคน ตาย สาเหตุการตาย 3,547 จานวนคนตายทั้งโลกจากการก่อการร้ายในปี 2001 นอกเขตสงคราม (รวมเหตุการณ์ 9/11 ด้วย) 300 - 700 จานวนการตายโดยเฉลี่ย จากการก่อการร้ายทั่ว โลกในแต่ละ (นับแต่ปี 1968 - ปัจจุบัน) 100 โดนกวางฆ่า (USA) 100 แพ้ถั่วลิสง (USA) 320 จมน้าในอ่างอาบน้า (USA) 40,000 จานวนคนตายทั่วโลกโดยประมาณต่อวันจากความยากจน 3 ล้าน จานวนคนตายทั่วโลกโดยประมาณต่อปี จากเชื้อ HIV 170-200 ล้าน จานวนคนตายโดยประมาณ อันเกิดจากการฆ่าประชาชน โดยรัฐบาลในช่วงศตวรรษที่ 20 (นอกเขตสงคราม) 17,175 (กรณี) จานวนเหตุการณ์ (นับทั้งที่เกิดกับคน และเฉพาะสิ่งก่อสร้าง)
  • 11. 11 จากสถิติดังที่แสดงนะครับ หรือจริงๆ อีกตัวเลขหนึ่งที่ผมไม่ได้แสดงไว้ คืออัตราการตายจากการก่อ การร้ายนี่ใกล้เคียงมากนะครับ กับการตายโดยโดนผึ้งต่อย หรือฟ้าผ่า ซึ่งเราน่าจะพอเห็นคาตอบเลาๆ แล้ว ว่าไอ้สิ่งที่เรียกว่าการก่อการร้ายนั้น มันไม่น่าจะถูกเรียกว่าเป็น "ภัย" ได้เลย แม้แต่ในทางสถิติที่มาจากการ ตีความของสหรัฐอเมริกาเอง มิเช่นนั้นแล้ว หากจะนับว่ามันเป็นภัย และใช้มาตราฐานเดียวกันกับการ จัดการป้องกันภัยแบบเดียวกัน เป็นสแตนดาร์ดเดียวแล้วเนี่ย เราคงต้องมี War on Bee, War on Toilet/Slipery Floor, War on Deer, War on Meteor, ฯลฯ ไปด้วย แต่ทั้งๆ ที่มันไม่ได้เป็นภัยอะไรเลย แล้ว ทาไมมันยังต้องมีระบบมาป้องกันภัย สิ่งที่มันยากแม้แต่จะเรียกว่าเป็นภัยด้วยล่ะ? ในจุดนี้ผมคิดว่าโบรดิ ยาร์ด และนักวิชาการด้านก่อการร้าย ชาวบาสก์ แห่งมหาวิทยาลัยเนวาด้า ที่มีชื่อว่า โจเซบ้า ซูไลก้า ได้ให้ คาตอบไว้อย่างน่าคิด และเป็นไปในทานองเดียวกันว่า "ก็เพราะแม้แต่ตัวเจ้าหน้าที่รัฐเอง ก็คิดจริงๆ เชื่อ จริงๆ น่ะสิว่าก่อการร้ายมันเป็นภัยร้ายแรง" (จริงๆ แอบคิดถึงเล็กเชอร์ของ อ.ธงชัย ตอนมาคาบอาจารย์ ฉลอง) และซูไลก้าเอง ก็ได้พยายามนาเสนออย่างยิ่ง ในงานที่ดีมากๆ ของเค้า ที่มีชื่อว่า Terrorism: A Self- Fulfilling Prophesy ว่า สงครามก่อการร้าย และนโยบายการก่อการร้ายอย่างที่สหรัฐอเมริกากาลังดาเนิน อยู่นี้เอง ที่กาลังจะทาให้สิ่งที่ไม่ได้แม้แต่จะเป็นภัยอะไร กลายมาเป็นภัยจริงๆ ไป จากความย้อนแย้งทั้งสองระดับที่นาเสนอมา ผมคิดว่าเราคงพอที่จะสรุปได้ประการหนึ่งว่า สิ่งที่ ชี้นา หรือนาทางกระบวนการ และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ไม่ใช่มนุษย์คนใดคนหนึ่ง รัฐบาลใดรัฐบาลหนึ่ง หรือ แม้แต่ประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่ผมคิดว่ามันคือการทางาน การสั่งการของภาวะสมัยใหม่ (Modernity at large) โดยตัวมันเอง ซึ่งฝังราก (Implant) อยู่ในตัวเรา และทาให้เราต้องดาเนินไปตามนั้น โดยที่ไม่รู้ตัวใดๆ เลย อย่างที่ผมได้บอกไปว่าในงานของซูไลก้า เขาได้ไล่เรียงหาหลักฐานต่างๆ มาแสดงว่าแม้แต่ตัวรัฐบาล สหรัฐอเมริกาเอง ก็เชื่อฝังจิตฝังใจจริงๆ ว่าการก่อการร้ายมันเป็นภัย ด้วยกระบวนการต่างๆ เหล่านี้ที่เกิดขึ้น มันทาให้เหล่าอเมริกันชนที่อาศัยอยู่ใน Hyperreality (ความจริงล้นจริง) ตลอดเวลา ไม่อาจจะหลุด หรือนึก (recognise) ได้ว่าภัยที่ตัวเองกลัวอยู่นั้นมันไม่มีจริง มันเป็น unreal threat และในที่สุด ด้วยการหลงในวังวนนี้เอง พวกเขาจะค่อยๆ ทาให้ unreal threat (ภัยที่ ไม่ได้เป็นภัยจริงๆ) ที่ว่านี้ มันกลายเป็นจริงขึ้นมา ทาให้มัน real เพื่อไปถึงจุดมุ่งหมายของภาวะสมัยใหม่
  • 12. 12 (modernity at large) หรือก็คือการทาลายตัวเองลง หรือก็คืออยู่ใน “กระบวนการการกลายเป็นความจริง” (Process of becoming real) ฉะนั้นสาหรับผมแล้ว เหตุการณ์ 9/11 มันจึงเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของจุดจบของตัวเองที่ modernity (ภาวะสมัยใหม่) กาลังพยายามสร้างขึ้น และสิ่งที่ตามมาหลังจากนั้น มันก็ได้แสดงให้เห็นถึง "process of becoming real" หรือกระบวนการในการกลายเป็นเรื่องจริง ต่างๆ เช่น สงครามต่อต้านการก่อการร้าย, การ เพิ่มความเข้มข้นในระบบตรวจจับต่างๆ, หรือการเพิ่มวาทกรรมที่ลดทอนความมีเหตุผล และความชอบ ธรรมของเหล่าผู้ต่อต้านลง สิ่งเหล่านี้เองที่สุดท้ายจะทาให้ภัยที่ไม่เคยมีจริง กลายเป็นสิ่งซึ่งจริงขึ้นมาได้ ซึ่ง ก็คงเป็นอย่างที่ซูไลก้าว่าไว้ว่า สงครามการก่อการร้ายมันเป็นเพียงการเติมเต็มความคาดหวังอันไม่จริงให้ เกิดขึ้นจริง (Self-Fulfilling Prophecy) เท่านั้นเอง แต่ผมอยากจะเสนอต่างออกไปจากซูไลก้าอยู่บ้าง ตรงที่ สาหรับผมแล้วนี่ไม่ใช่Self-FulfillingProphecy (คาทานายที่มีขึ้นเพื่อเต็มตัวเอง) ของสหรัฐอเมริกา หากแต่ เป็นของ Modernity at large แทน ทีนี้ เรื่องทั้งหมดมันจะชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากเราประกอบเรื่องนี้ เข้ากับเรื่องที่ผมเคยโฟนอินเข้า รายการ Tonight Thailand รอบก่อน ที่พูดถึงการสร้างความหวาดกลัว ผมเลยขออธิบายแบบละเอียดควบ กันไปเลยนะครับ เอาจริงๆ ประเด็นก็เรื่องเดียวกันนี่แหละครับ เพียงแต่ว่าผมเน้นอธิบายจากคนละจุด แล้วค่อยเอา มารวมกัน ในส่วนแรก อย่างที่พูดไปคือ ผมเน้นการพูดถึงภาพรวมของโลก และสถานการณ์ปัจจุบันที่เรา ดารงอยู่ ว่า "โลก" ที่เราอยู่นั้นมันเป็นเช่นไร มัน "ไม่จริง" แค่ไหน ทานองนั้น มาในส่วนนี้ ผมตั้งใจจะเน้นไปที่เรื่องของตัวตนของเราในระบบโลกมากกว่า คือ ตอนแรกเป็นการ บอกว่าเราโดนโลกลวงตาเราว่าตัวตนของโลกเองที่แท้แล้วมันเป็นอย่างไร และในส่วนของช่วงนี้จะเป็นการ พูดว่าเราถูกโลกลวงตาเราว่าตัวตนที่แท้ของเราเองนั้น มันเป็นอย่างไร...ทานองนั้น
  • 13. 13 ในส่วนนี้ผมเองก็คงจะต้องขอเริ่มต้นจากประเด็นหลักที่พูดกันในส่วนก่อนอีกเหมือนเดิมนั่นแหละ นะครับ นั่นก็คือเรื่องของ Liberal Democracy คือ เมื่อเรานาการปรากฏตัวของ Liberal Democracy หรือ ประชาธิปไตยเสรีเนี่ย มาวางบนเส้นเวลาในทางประวัติศาสตร์ เราจะได้เห็นถึงอิทธิพลของมันในการ ก่อให้เกิดผลิตผลที่สาคัญที่สุดอีกอย่างหนึ่งของยุค Liberal Modernity นั่นก็คือ “การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ของมนุษย์” (The Transcendence of Human Condition) นะครับ กล่าวคือ ก่อนการกาเนิดขึ้นของ ประชาธิปไตยเสรี สถานะของมนุษย์ในฐานะ "มนุษย์" (Human Being) นั้น ยังไม่ได้ถูกบรรจุอยู่ในความ เข้าใจของสังคมโดยทั่วไป มนุษย์ถูกมองในฐานะที่เป็น Human Subject (เบี้ยมนุษย์) ไม่ใช่ Human Being (มนุษย์) ซึ่งอยู่ภายใต้อานาจและการเป็นเจ้าของของคนอื่น อย่างในรัฐเผด็จการ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ผู้นาชนเผ่า คณาธิปไตย มนุษย์ส่วนใหญ่ในสังคมนั้นๆ อยู่ในฐานะชีวิตที่ได้รับอนุญาตให้มีชีวิตอยู่ได้ ที่ พร้อมจะถูกริบคืนได้ทุกเมื่อ พวกเขาเป็นทรัพย์สมบัติ (Property/Possession) ของผู้นาในสังคมนั้นๆ เป็น ชีวิตซึ่งไร้ซึ่งสิทธิของตนเอง หรือพูดง่ายๆ ก็คือ มนุษย์เป็นสัตว์ปศุสัตว์ทางการเมืองนั่นเอง ด้วยการกาเนิดขึ้นของประชาธิปไตยเสรี และอีกหนึ่งในผลิตผลสาคัญของยุคสมัยใหม่นั่นก็คือ ระบบรัฐชาติ ได้ร่วมกันมอบคุณค่าเหนือกว่าการเป็นสมบัติในครอบครองให้กับมวลเนื้อและกระดูกขยับได้ ของ Human Subject และเปลี่ยนพวกเค้าจากการเป็นทรัพย์สิน ให้มาเป็นผู้ร่วมถือครองอานาจเหนือ ดินแดนที่เรียกว่ารัฐอย่างเท่าเทียมกัน แต่คุณค่าและสิทธิดังว่านี้ไม่ใช่สิ่งที่ได้มาฟรีๆ นะครับ ในทางตรงกัน ข้าม รัฐชาติและประชาธิปไตยทาหน้าที่เป็นเสมือนร้านค้า ที่ขายความปลอดภัย (Security) สิทธิ และ เสรีภาพ โดยแลกกับความเชื่อฟัง (Obedience) และอัตลักษณ์ (Identity) ของท่าน กระบวนการแลกเปลี่ยนนี้แสดงให้เราเห็นถึงการเปลี่ยนแปลง และเงื่อนไขระหว่างตัวประชาชน และตัวรัฐว่า หากมนุษย์คนใดเป็นสมาชิกของรัฐ รัฐนั้นมีหน้าที่ในการปกป้องสมาชิกของรัฐทุกคน ซึ่งต่าง จากแนวคิดของระบอบเก่าที่รัฐมีขึ้นเพื่อปกป้อง Authoritarian (ผู้ถือครองอานาจสูงสุด) ของรัฐแต่เพียงผู้ เดียว อย่างไรก็ดีในรัฐประชาธิปไตยตามรูปแบบดังว่ามานี้ การจะมาเป็นสมาชิกของรัฐได้นั้น ผู้ซึ่งเข้ามา เป็นสมาชิกรัฐจะต้องยอมละทิ้ง "อัตลักษณ์ของตน (แบบที่ตนเลือกที่จะเป็นเอง)" ทิ้งไป แล้วยอมให้รัฐสวม ทับด้วย "อัตลักษณ์แบบทางการของรัฐ" หรือ State's official identity เข้าไปแทนที่ และสาคัญยิ่งไปกว่านั้น
  • 14. 14 การ "แลกเปลี่ยน" ที่เกิดขึ้นนี้ในรัฐประชาธิปไตยเสรีนั้น เป็นการแลกเปลี่ยนแบบไม่ได้มีเจตจานงเสรี (freewill) ในการเลือกที่จะแลกเปลี่ยน หากแต่เราโดนบังคับผ่านกระบวนการที่ถูกเรียกว่า "ระบบทะเบียน ราษฏร์" ให้ทาการแลกเปลี่ยนนี้ เพราะนับแต่เราเกิดมา ก็จะต้องถูกบันทึกลงสู่ทะเบียนราษฏร์ให้เป็น สมาชิกของรัฐ ผ่านสมมติฐานของรัฐประชาธิปไตยที่ว่า ทุกคนต้องการอยู่กับกู เพราะสิ่งที่ได้มาจากการ แลกเปลี่ยนของเรา จึงเป็นเสรีภาพ (Freedom) ที่ปราศจากเจตจานงเสรี (Freewill) ไป เพราะฉะนั้นสิ่งนี้จึง ได้กลายมาเป็นอีกหนึ่งความย้อนแย้งในตัวเองของประชาธิปไตยเสรี ที่มันพยายามจะสร้างเสรีภาพ (Freedom) ขึ้น โดยทาลาย "เจตจานงเสรี" (freewill) ไป โดยเจตจานงเสรีที่โดนละทิ้งไปแต่แรกเกิด ก็จะถูก สวมทับใหม่ด้วยเจตจานงเสรีตัวใหม่ที่รัฐจะมอบให้เรา นั่นก็คือ กฏเกณฑ์ของรัฐ หรือกฏหมาย ด้วยเหตุนี้ประชนชนแห่งรัฐ (ประชาธิปไตย) จึงสามารถกลายเป็นคน ในความหมายว่าเป็น Human Being ได้ (ไม่ใช่ Human Subject) ด้วยการละทิ้งตัวตน และทางเลือกรากฐานของตนทิ้งไป และมี กฎหมายมาทาหน้าที่ใหม่ให้ทั้งเป็นอัตลักษณ์แทนตัวตนของเรา และเป็น "เจตจานงเสรีที่รัฐบังคับให้ (State's Given Freewill)" ด้วยหน้าที่ของการเป็นเจตจานงเสรีฉบับทางการนี้เอง ทาให้กฎหมายทาหน้าที่ ในการแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่มคือ ผู้ซึ่งเชื่อฟัง (The Obedience) เจตจานงเสรีฉบับทางการ และผู้ไม่เชื่อฟัง ในเจตจานงเสรีฉบับทางการ (The Disobedience) หรือก็คือ เป็นคนที่ยังอยู่ในครรลองของกฎหมายและ การเมืองของรัฐ กับคนที่อยู่นอกครรลองของกฎหมายและครรลองของรัฐนั่นเอง แต่ว่า แม้สมาชิกรัฐจะโดนรัฐ (กฎหมาย) ขับไล่ออกจากความเป็นสมาชิกรัฐไปแล้ว แต่นั่นก็ไม่ได้ ทาให้สภาพของการมีเสรีภาพโดยไร้ซึ่งเจตจานงเสรีมันหมดไป มันยังคงอยู่กับเรา ดังที่ Giorgio Agamben ได้เสนอไว้ถึงความย้อนแย้งของอานาจและหน้าที่ของกฎหมาย คือ เมื่อมันใช้อานาจในการเอาคนออกจาก การคุ้มครองทางกฎหมายและการเมือง เป็นพวก Out of politics แล้วนั้น สภาพ หรือสถานะดังกล่าวของ คนซึ่งถูกไล่ออกไปนั้นจะต้องอยู่ในสถานะทั้ง "อยู่ใน และอยู่นอก" อานาจของกฎหมายในเวลาเดียวกัน (In and out of politics at the same time) ที่ต้องอยู่ในและนอกกฎหมายและการเมืองในเวลาเดียวกันนั้นก็ เพราะเมื่อเราเกิดมา เราก็ถูกบังคับให้เข้าสู่ระบบทะเบียนราษฎร์ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ และเมื่อจะถูกให้ออกจากกฎหมาย เราจึงต้องอ้างอิงตัวเองกับคาสั่งทางกฎหมาย คือ เราถูก
  • 15. 15 สั่งให้อยู่นอกการเมืองและกฎหมาย โดยอานาจของกฎหมายเอง ตัวเราจะไม่อาจออกจากการเมืองและ กฎหมายได้เลยตราบหากเราไม่มีอานาจของรัฐและกฎหมายมาอ้างอิงอยู่ นั่นแปลว่าถึงท้ายที่สุดแล้ว หาก เราได้ย่างกรายเข้ามาสู่เงื้อมมือของประชาธิปไตยแล้ว (ซึ่งเราจาเป็นต้องเข้ามา เพราะโดนบังคับให้เข้าแต่ แรกเกิด) เราจะไม่มีวันหนีออกไปจากสภาวะของการอยู่อย่างมีเสรีภาพโดยไร้ซึ่งเจตจานงเสรีไปได้ตลอด กาล ไม่เว้นแม้แต่ตอนตายที่ยังมิวายต้องมาแจ้งกับรัฐ และกฎหมายผ่านระบบทะเบียนราษฎร์ตัวดีนี่อีกว่า "ตายแล้วนะ" นอกจากนี้นะครับ ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่งที่เชื่อมโยงประเด็นสาคัญต่างๆ ในงานของผมเข้า ด้วยกันก็คือ เรื่องที่ว่า "ใครกันแน่ที่เป็นต้นตอของความหวาดกลัว: การก่อการร้าย หรือ Liberal Modernity" คือ ในส่วนที่แล้วผมได้อธิบายถึงภาวะ "ความเป็นภัยคุกคาม" ของการก่อการร้าย โดยอาศัยตัวเลข หรือ อัตราการตาย เปรียบเทียบกับเหตุในการตายแบบอื่นๆ ทีนี้คาถามคือ ทาไมผมต้องเลือกเอาความตายมาชี้ วัดความเป็นภัยคุกคาม นั่นก็เพราะเราจะรู้สึกว่าอะไรมันมีอันตรายต่อเรา มันน่าหวาดกลัว มันเป็นภัย ก็ ต่อเมื่อมันอาจส่งผลเสียให้เราได้ และผลเสียที่สาคัญที่สุดที่ว่าก็คือความตาย และในส่วนนี้ก็ดังที่ผมได้ว่า ไปนั่นก็คือ "รัฐมีหน้าที่ในการสร้างความมั่นคง ความปลอดภัยให้กับเรา" และการเกิดขึ้นของประชาธิปไตย ได้มอบคุณค่าและสิทธิให้กับเรา (โดยที่มันเป็นสิทธิเสรีภาพแบบที่รัฐกาหนด และไร้ซึ่งเจตจานงเสรีใดๆ ทั้งสิ้น) ซึ่งสิทธิที่สาคัญที่สุด และยุ่งยากที่สุดที่ประชาธิปไตยได้นามาให้มนุษย์นั่นก็คือ "สิทธิในการมีชีวิต" (Right to Live a Life) อันเป็นหนึ่งในสิทธิระดับรากฐานที่สุดของรัฐประชาธิปไตย ซึ่งนั่นทาให้ทุกอย่าง เปลี่ยนไป เมื่อประชาธิปไตยได้มอบสิทธิในการมีชีวิตอยู่ให้กับสมาชิกของรัฐ นั่นทาให้คุณค่าของชีวิต (Virtue of Life) เปลี่ยนไปหมดชนิดหน้ามือเป็นหลังมือ เพราะ "การมีชีวิตอยู่" ได้กลายมาเป็น virtue (คุณค่า) ใน ระบบคิดของยุค Liberal Modernity และนั่นทาให้การกลัวจะสูญเสียซึ่งคุณค่า (virtue) นี้กลายเป็นสิ่งที่ สาคัญที่สุดไป กล่าวก็คือ ด้วยสานึกคิดแบบประชาธิปไตย สิ่งที่น่าหวาดกลัวที่สุด สิ่งที่มันเป็นความกลัว สูงสุด (Supreme Terror) จึงเป็นการโดนพรากสิทธิในการมีชีวิตอยู่ไปนั่นเอง
  • 16. 16 โทมัส ฮอบบส์ (1588 - 1679) หนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลที่สุดในโลกตะวันตก และอาจจะ เรียกว่าบังเอิญได้ที่เกิดในช่วงการเปลี่ยนผ่านของยุค (Transitional Era) พอดี อาจจะเรียกได้ว่าเป็นมนุษย์ เพียงช่วงเดียวที่อยู่ในช่วงเวลาที่เห็นเค้าลางของการกาเนิดขึ้นของประชาธิปไตย ซึ่งในจุดนี้เองฮอบบส์ได้ เสนอไว้อย่างน่าสนใจว่า: ความกลัวต่อความตาย (fear of death) นั้นเป็นผลิตผลสาคัญของยุคสมัยใหม่ ซึ่งเพื่อนร่วมยุค ของเขาไม่เคยตระหนักถึง เนื่องจากโดนบังตาอยู่ด้วยหลักการผิดๆ 3 ประการ นั่นคือ 1.ความหลง ผิดว่าโลกเรานี้อยู่กันอย่างกลมเกลียวด้วยเหตุผล และความเป็นธรรมจากพระผู้เป็นเจ้า, 2. คือ ความคิดเชิดชูมนุษย์ที่เชื่อว่าจะสามารถเป็นอมตะได้ด้วยการกระทาคุณงามความดี และ 3. การ สั่งสอนที่ทาให้เชื่อว่าการลุกขึ้นสู้ และการตอบโต้การลุกขึ้นสู้นั้น เป็นการตายอันเป็นแบบอย่าง เพื่อรับใช้พระผู้เป็นเจ้า อันเป็นรูปแบบหนึ่งของการเสียสละร่างกายอันยิ่งใหญ่ (Martyrdom) ซึ่ง มันจะรับประกันการพ้นทุกข์ให้แก่ผู้กระทา กล่าวก็คือ สาหรับฮอบบส์แล้ว ความขี้ขลาด (Cowardice) ไม่ใช่สิ่งที่น่าสมเพช ตรงกันข้ามมันเป็น สิ่งซึ่งน่านับถือ และถูกต้อง แต่ความกล้าหาญบ้าบิ่นอย่างเพื่อนร่วมยุคของเขาต่างหากที่เป็นสิ่งที่ผิดใน สายตาของฮอบบส์ เพราะฉะนั้นและสาหรับฮอบบส์ การเกิดเป็นคนของยุคสมัยใหม่ มันมาพร้อมกับ เงื่อนไขในการ "ต้องกลัว" ... กลัวที่จะเสียชีวิต หรือกล่าวอีกในหนึ่งก็คือ มันคือตัว Liberal Modernity at large (ภาวะสมัยใหม่ทั้งมวล) และเสรีประชาธิปไตยนี่เองที่มอบสิทธิในการมีชีวิตอยู่ให้กับเรา พร้อมทั้งเป็น บ่อเกิดของความกลัวไปพร้อมๆ กัน และอาจจะเป็นความโชคดีของฮอบบส์ที่มีชีวิตในช่วงยุคเปลี่ยนผ่าน และอาจจะพอเรียกได้ว่าเป็นกลุ่มเดียวในประวัติศาสตร์ ที่พอจะเลือกได้จริงๆ ว่าจะเป็น Modern Man หรือไม่ แต่พวกเรานั้นไม่อาจมีเจตจานงเสรีที่จะเลือกอะไรใดๆ ได้เลย ความกลัวตายนี้ได้กลายมาเป็นกลไกหลักในการสร้างความกลัวของระบอบประชาธิปไตย มาก เสียยิ่งกว่าปัจจัยภายนอกใดๆ พูดไปก็คือ สิ่งที่เป็นต้นกาเนิด หรือผู้ก่อสร้างความกลัวจริงๆ มันไม่ใช่ของ ภายนอกอย่างการก่อการร้าย หรือ 9/11 อะไรหรอก แต่มันเป็นสิ่งที่ถูกปลูกสร้าง (Implant) ในตัวเราแต่แรก
  • 17. 17 อยู่แล้ว นั่นก็คือความกลัวที่จะตายอันไม่อาจจะหลีกหนีได้ หากเราไม่ได้ถูกปลูกสร้างขึ้นมาด้วยผลิตผลของ ยุคสมัยใหม่อย่างการกลัวความตายแล้วล่ะก็ ต่อให้เกิดเหตุการณ์อย่างที่เรียกๆ กันว่าการก่อการร้ายสัก เท่าไหร่ มันก็จะไม่มีความหมายอะไรใดๆ เลย นอกเสียจาก "การลดจานวนลงของทรัพย์สมบัติใน ครอบครอง" เท่านั้น เหมือนดั่งฝูงปศุสัตว์ที่ตายเมื่อเชื้อแอนแทร็กส์ระบาด คือ อาจจะมีความกลัวในเชิง เศรษฐกิจบ้าง แต่มันจะไม่ใช่ความหวาดกลัวในเซนส์เดียวกับที่เรามีต่อการก่อการร้ายแบบที่เป็นอยู่เลย ไม่ใช่ความกลัวของการสูญเสีย หรือเสี่ยงชีวิต แต่เป็นความกลัวในการสูญเสียทรัพย์สินนั่นเอง ผลกระทบของการกลัวความตายนั้น มันไม่ได้จบลงแค่ว่ามันเป็นต้นกาเนิดของความหวาดกลัวที่ แท้จริงของมนุษย์ยุคใหม่ (Modern Man) เท่านั้น แต่มันยังเชื่อมโยงอย่างเหนียวแน่นต่อ "เป้าหมาย" ของ "ภาวะสมัยใหม่ที่อยู่ ณ จุดสูงสุด" (Modernity at its peak) ด้วย นั่นก็คือ การทาลายตนเองของภาวะ สมัยใหม่ ที่เราพูดถึงในส่วนก่อนหน้า ก็คือ เมื่อเราเกิดมาแล้วต้องโดนบังคับเข้าสู่ระบบการผลิตของยุค สมัยใหม่แล้ว ทาให้ในที่สุดเราจะมองเห็นรัฐในฐานะพระเจ้าองค์ใหม่ ที่มาแทนพระเจ้าองค์เดิมที่เราเคย กราบไหว้ และพระเจ้าใหม่นี้ก็มีพันธะสัญญาที่จะปกป้องเราให้ปลอดภัย (การอธิบายเรื่องรัฐในฐานะพระ เจ้าใหม่นี้ก็เป็นแนวคิดของฮอบบส์ ที่ผ่านการตีความของ David Campbell) ... แล้วปลอดภัยจากอะไรล่ะ ก็ปลอดภัยจากความกลัวที่จะต้องตายนั่นแหละครับ นั่นหมายความว่า ยิ่งเรามีความกลัวว่าจะตายได้สูง เท่าไหร่ รัฐก็จะยิ่งมีอานาจอันชอบธรรมมากขึ้นเท่านั้นในนามของ "ความมั่นคงตามพันธะสัญญา (Promised Security)" สูงตามไปด้วย ฉะนั้นในแง่นี้แปลว่า ความกลัวตายนี้ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการ สร้างความชอบธรรมให้แก่การใช้อานาจในทางความมั่นคง โดยผ่านความพร้อมใจ (consent) ที่ถูกหลอก อยู่ในโลก hyperreal ของประชาชนนั่นเอง คือ เป็น Hyperreal Consent (การพร้อมใจแบบจริงล้นจริง) ที่ บอกว่าเป็น HyperrealConsent ก็เพราะว่าโดยปกติแล้ว Consent หรือความพร้อมใจนี้มันมีนัยยะของการ มีทางเลือกอยู่บนเจตจานงเสรี (Freewill) แต่ในเมื่อเจตจานงเสรีของเราถูกริบไปเรียบร้อยแล้วแต่แรกเกิด และถูกแทนที่ด้วยเจตจานงฉบับทางการ นั่นทาให้ที่ยังคงเหลืออยู่เป็นเพียง Unreal reality (ความจริงอันไม่ จริง) ที่ทาให้เราหลงคิดไปว่าเจตจานงฉบับทางการนั้นเป็นเจตจานงเสรีที่แท้จริง กล่าวอีกอย่างก็คือ "ความ พร้อมใจ" นี้มันได้กลายเป็นความจริงโดยตัวมันเอง ไม่ใช่ตัวเราทาให้มันเป็นจริง
  • 18. 18 เมื่อคิดตามนี้แล้ว เราจะพบว่าการเพิ่มความเข้มข้นของระบบป้องกันภัยต่างๆ (Surveillance System) นั้นถูกสร้างขึ้นเพื่อเพิ่มพลังให้กับความหวาดกลัวต่อภัยที่จะทาให้เราตายได้ และนั่นหมายถึงการ เสริมพลังให้กับ Hyperreality ได้ฝังรากลึกลงในสังคมเรื่อยๆ อย่างแยกไม่ออกอีกด้วย และผมคิดว่าควรจะ เน้นอีกครั้งให้เข้าใจตรงกันนี้ว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ผมเสนอว่ามันคือการกระทาที่เหนือกว่าระบบของรัฐชาติขึ้น ไปเสียอีก มันคือการทางานของความเป็นสมัยใหม่ที่อยู่ ณ จุดสูงสุด (Modernity at its peak) โดยตัวมันเอง เลย ดังจะเห็นได้จากงานของซูไลก้า ที่ได้เสนออย่างชัดเจนว่า สงครามการต่อต้านการก่อการร้ายนั้น ตัว สหรัฐอเมริกาเอง (ในฐานะรัฐ และรัฐบาล) ก็เชื่ออย่างสนิทใมจจริงๆ ถึงการมีอยู่ของการก่อการร้ายใน ฐานะภัยนั่นเอง หรือกล่าวก็คือตัวรัฐชาติทางานในฐานะกลไก หรือฟันเฟืองหนึ่งของ Liberal Modernity เท่านั้น ไม่ใช่ผู้ขับเคลื่อนกระบวนการเหล่านี้ด้วยตัวมันเอง อีกสิ่งหนึ่งที่เราจะเห็นได้จากการทางานของรัฐในฐานะฟันเฟือง หรือกลไกของยุคสมัยใหม่นั้นก็คือ การโฆษณาชวนเชื่ออย่างเกินจริง ต่อการก่อการร้ายในฐานะภัย และต้นกาเนิดแห่งความกลัวที่น่า สยดสยอง และสังคมเองก็ตอบรับต่อการโฆษณาชวนเชื่อที่ว่านี้อย่างสุดกาลังด้วย (จริงๆ การขยายตัวของ สาขาวิชานี้ในโลกตะวันตก และในวงการสิ่งพิมพ์ก็เป็นหลักฐานในตัวมันเองพอสมควรอยู่แล้ว) ตัวอย่าง หนึ่งที่เห็นได้ค่อนข้างชัดเจนก็คือ ในช่วงสองปีแรกหลังจากเกิดเหตุการณ์ 9/11 ทาง Department of State ของสหรัฐอเมริกาได้มีการออกบทสัมภาษณ์,สปีช,และ PressRelease มากกว่า6,000ฉบับซึ่งนับว่าเป็น ตัวเลขที่สูงอย่างน่าสยดสยองพองขนกันมากทีเดียวนะครับ และพวกสปีชต่างๆ เหล่านี้เองก็ได้รับความ สนใจจากอเมริกันชนอย่างมากมหาศาลอย่างไม่เคยประกฎมาก่อนเลยทีเดียว อย่างสปีชตัว President's Address to Congress and American People เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2001 นี่มียอดชมมากกว่า 80 ล้าน วิว ซึ่งนับเป็นยอดที่สูงมากๆๆๆๆ สาหรับสปีชทางการเมือง และไม่ต้องพูดถึงเนื้อหาในสปีชนี้ด้วยว่ามีการ หยามเหยียด มี Hate Speech มีการสร้างวาทกรรมอย่าง "ไร้เหตุผล, ป่าเถื่อน, มุสลิมหัวรุนแรง" เข้ามาผสม ใส่การก่อการร้ายมากเพียงใด คือ เรียกได้ว่าตลอดการพูดเลยทีเดียว ด้วยความหวาดกลัวต่อความตายที่มากขึ้น ผ่านวาทกรรมการก่อการร้าย ทาให้พลังของโลกจริง จาลอง (Simulacra) เข้มแข็งขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการทับซ้อนที่มากขึ้น เข้มข้นขึ้นของความจริงอันไม่จริงว่าเรามี
  • 19. 19 เจตจานงอันเสรี และความคุ้มครองอย่างเต็มที่จากรัฐเมื่อเราแลกเปลี่ยนด้วยการเชื่อฟัง มันทาให้ประชากร มองไม่เห็น, ถูกทาให้ไม่สนใจ หรือถูกทาให้มองไม่เห็น "เนื้อหา" (content) ของการกระทา (action) แล้ว แทนที่มัน สวมรอยมันเข้าไปใหม่ด้วยเนื้อสารที่ถูกสร้างมาจากครรลองของโลกจริงจาลอง เช่น หากมีใครสัก คนหนึ่งบังคับให้คุณถอดเสื้อผ้าออกให้หมดแล้วก็เข้ามาสัมผัส ลูบไล้ จับต้องร่างกายคุณตามใจชอบ และขู่ ว่าหากไม่ทาตามจะยิง หรือจะจองจาไว้แล้วนั้น หากบุคคลผู้นั้นเป็น "ใครบางคนจากรัฐที่ล้าหลัง" เขาจะถูก ตราหน้าทันทีว่าเป็นผู้ก่อการร้าย เป็นอาชญากร แต่หากผู้กระทานั้นอยู่ในชุดยูนิฟอร์มของรัฐ อย่าง เจ้าหน้าที่ตารวจ หรือเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง การกระทาแบบเดียวกันไม่ผิดเพี้ยนนี้จะถูกมองทันทีว่า เป็นการรักษาความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของเรา หาใช่การพรากมันไปอย่างในกรณีแรก นั่น แปลว่าภายใต้เงื่อนไขของการโดนกล่อมเกลาโดย Hyperreality และ Modernity at its peak (ภาวะ สมัยใหม่ ณ จุดสูงสุด) มันทาให้เราเลือกที่จะละทิ้ง "เนื้อหา" ของการกระทาใดๆ ลงสิ้น และเหลือไว้แต่เพียง "ใครเป็นผู้กระทา" และหาก Agamben เรียก A Man without Content (มนุษย์ซึ่งปราศจากแก่นสาร) ใน ข้อเสนอของเขาว่า Homo Sacer ผมก็คิดว่าผมคงต้องเรียกปรากฏการณ์นี้ว่าเป็น "Actio Sacra" หรือ Action without content เพราะเนื้อหาของการกระทาใดๆ ได้สูญสิ้นความหมาย และมูลเหตุในการมีอยู่ของ มันลง หลงเหลือเพียงแต่ว่า ใครเป็นผู้กระทามัน (จริงๆ เหตุการณ์ในประเทศไทยในช่วงหลายปีมานี้ก็ แสดงออกถึงปรากฏการณ์นี้ค่อนข้างชัด) สรุปก็คือ ด้วยผลผลิตของแนวคิดเสรีประชาธิปไตยอย่าง "การ กลัวความตาย" ที่ทาให้ประชากรเรียกร้องหาการปกป้องตามพันธะสัญญาจากรัฐอย่างเข้มข้นขึ้นนั้น มันได้ ทาให้เกิดความเข้มข้นขึ้นของภาพลวงตาว่า "เรากับรัฐได้แลกเปลี่ยนกันอย่างเท่าเทียม และเป็นระบบ" (คือ อัตลักษณ์และการเชื่อฟัง แลกกับสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครอง) และยิ่งภาพลวงตานี้เข้มข้นขึ้นเท่าไหร่ ก็ ยิ่งยากขึ้นเรื่อยๆ ที่จะมองทะลุมันได้ จุดนี้เองที่ยิ่งเป็นการตอกย้าถึงประเด็นที่ผมได้เสนอไปก่อนหน้านี้ นั่นก็คือ จุดเริ่มต้นของความ หวาดกลัว หรือ Terror นั้น มันหาได้มาจากปัจจัยภายนอกใดๆ แต่มันมาจากความกลัวตาย ที่ผมบอกว่ามัน สนับสนุนกันก็เพราะว่าในโลกของ Hyperrealityนั้นการกระทาใดๆได้หมดความหมายในเชิงเนื้อหาของมัน ลงไปแล้ว เราไม่รู้ตัวหรอกว่าต้นเหตุของความหวาดกลัวของเรานั้น มาจากการเกิดขึ้นของแนวคิด ประชาธิปไตยเองเพราะเราอยู่ใน Hyperrealityเราจะหลงไปกลัว Form ofDoersหรือรูปลักษณ์/ตัวตนของ ผู้กระทาการไปเสีย นั่นเพราะตัวเนื้อหาของการกระทาภายนอกใดๆ ไม่ได้มีความหมาย และไม่ใช่สิ่งที่สร้าง