Início
Conheça mais
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
Anúncio
ทักษ์ดนัย
Denunciar
gemini_17
Seguir
15 de Sep de 2011
•
0 gostou
0 gostaram
×
Seja o primeiro a gostar disto
mostrar mais
•
405 visualizações
visualizações
×
Vistos totais
0
No Slideshare
0
De incorporações
0
Número de incorporações
0
Check these out next
เครื่องดนตรีไทย
love5710
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guest98f4132
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guest03bcafe
ดนตรีอีสานเหนือ
nongklongdondaeng school khonkaen 3
พิณ
bawtho
ความหมายของเครื่องดนตรี
leemeanxun
Khone
kruyome
เครื่องดนตรีสากล
อำนาจ ศรีทิม
1
de
10
Top clipped slide
ทักษ์ดนัย
15 de Sep de 2011
•
0 gostou
0 gostaram
×
Seja o primeiro a gostar disto
mostrar mais
•
405 visualizações
visualizações
×
Vistos totais
0
No Slideshare
0
De incorporações
0
Número de incorporações
0
Baixar agora
Baixar para ler offline
Denunciar
gemini_17
Seguir
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Recomendados
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
Mint'moy Mimi
9.6K visualizações
•
25 slides
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guestec5984
1.3K visualizações
•
17 slides
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guestec5984
2.6K visualizações
•
18 slides
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guestec5984
698 visualizações
•
18 slides
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guestec5984
2.5K visualizações
•
18 slides
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guestec5984
486 visualizações
•
18 slides
Mais conteúdo relacionado
Similar a ทักษ์ดนัย
(20)
เครื่องดนตรีไทย
love5710
•
6.3K visualizações
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guest98f4132
•
2.5K visualizações
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
guest03bcafe
•
9.3K visualizações
ดนตรีอีสานเหนือ
nongklongdondaeng school khonkaen 3
•
5.5K visualizações
พิณ
bawtho
•
2.8K visualizações
ความหมายของเครื่องดนตรี
leemeanxun
•
1.8K visualizações
Khone
kruyome
•
722 visualizações
เครื่องดนตรีสากล
อำนาจ ศรีทิม
•
4.5K visualizações
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
Aim Itsarisari
•
5.2K visualizações
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
Aim Itsarisari
•
12.5K visualizações
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
nongklongdondaeng school khonkaen 3
•
6.3K visualizações
หมอลำ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
•
1.1K visualizações
โขน
leemeanxun
•
985 visualizações
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
krunoree.wordpress.com
•
38.8K visualizações
แบบฝึกการเป่าโหวด
bawtho
•
8.3K visualizações
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
peter dontoom
•
1.1K visualizações
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
Thanakrit Muangjun
•
6.6K visualizações
แบบฝึกการตีโปงลาง
bawtho
•
4.2K visualizações
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
Sitthisak Thapsri
•
8.5K visualizações
ดนตรีล้านนา
บ่าวเมือง เจียงฮาย
•
347 visualizações
Mais de gemini_17
(8)
พ.ค.สัมพันธ์ 15-9-55
gemini_17
•
391 visualizações
รูป คุรุสดุดี ผอ
gemini_17
•
411 visualizações
การใช้โปรแกรม InDesign เบื้องต้น
gemini_17
•
160K visualizações
ห้องสมุดน่ารู้
gemini_17
•
692 visualizações
View pdf
gemini_17
•
456 visualizações
View pdf
gemini_17
•
216 visualizações
View pdf
gemini_17
•
242 visualizações
ศิริธร
gemini_17
•
208 visualizações
Anúncio
ทักษ์ดนัย
ดนตรี ไทย
เครื่ องดนตรี ไทย
คือ สิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับทาเสี ยงให้เป็ นทานอง หรื อจังหวะ วิธีที่ทา ให้มีเสี ยงดังขึ้นนั้นมีอยู่ ๔ วิธีคือ ใช้มือหรื อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งดีดที่สาย แล้วเกิดเสี ยงดังขึ้น สิ่ งที่มีสายสาหรับดีด เรี ยกว่า "เครื่ องดีด" ใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้นรวมกันสี ไปมาที่สาย แล้วเกิดเสี ยงดังขึ้น สิ่ งที่มี สายแล้วใช้เส้นหางม้าสี ให้เกิดเสี ยง เรี ยกว่า "เครื่ องสี " ใช้มือหรื อไม้ตีที่สิ่งนั้น แล้วเกิดเสี ยงดังขึ้น สิ่ งที่ใช้ไม้หรื อมือตี เรี ยกว่า "เครื่ องตี" ใช้ปากเป่ าลมเข้าไปในสิ่ งนั้น แล้วเกิดเสี ยงดังขึ้น สิ่ งที่เป่ าลมเข้าไปแล้ว เกิดเสี ยงเรี ยกว่า"เครื่ องเป่ า" เครื่ องทุกอย่างที่กล่าวแล้วรวมเรี ยกว่า เครื่ องดีด สี ตี เป่ า
เครื่องดีด
เครื่ องดีดทุกอย่างจะต้องมีส่วนที่เป็ นกระพุงเสี ยง บางทีกเ็ รี ยกว่า กะโหลก ้ สาหรับทาให้เสี ยงที่ดีดนั้นก้องวานดังขึ้นอีก เครื่ องดีดของไทยที่ใช้ในวงดนตรี แต่โบราณ ่ เรี ยกว่า "พิณ" ซึ่ งมาจากภาษาของชาวอินเดียที่วา "วีณา" ในสมัยหลังๆ ต่อมาจึงบัญญัติชื่อ เป็ นอย่างอื่น ตามรู ปร่ างบ้างตามภาษาของชาติใกล้เคียงบ้าง เช่น "กระจับปี่ " ซึ่ งมีกระพุงเสี ยง้ รู ปแบน ด้านหน้าและด้านหลังกลมรี คล้ายรู ปไข่ มีคนต่อยาวเรี ยวขึ้นไป ตอนปลายบานและ ั งอนโค้งไปข้างหลังเรี ยกว่า ทวน มีสายทาด้วยเอ็นหรื อไหม ๔ สาย ขึงผ่านหน้ากะโหลกตาม คันขึ้นไปจนถึงลูกบิด ๔ อัน ผูกปลายสายอันละสาย มีนมติดตามคันทวนสาหรับกดสายลง ไปติดสันนม ให้เกิดเสี ยงสู งต่าตามประสงค์ผดีดต้องนังพับเพียบทางขวา วางตัวกระจับปี่ ู้ ่ (กะโหลก) ลงตรงหน้าขาขวา กดนิ้วตามสายด้วยมือซ้าย ดีดด้วยมือขวา รู ปกระจับปี่ (หรื อ พิณ) ของไทยมีลกษณะดังในภาพ ั ั ่ เครื่ องดีดของไทยที่ใช้กนอยูอย่างแพร่ หลายในปั จจุบนก็คือ "จะเข้" จะเข้เป็ นเครื่ อง ั ดีดที่วางนอนตามพื้นราบ ทาด้วยไม้ท่อนขุดเป็ นโพรงภายใน ไม้แก่นขนุนเป็ นดีที่สุด ด้านล่างมีกระ-ดานแปะเป็ นพื้นท้อง เจาะรู ระบายอากาศพอสมควร มีเท้าตอนหัว ๔ เท้า ตอนท้าย ๑ เท้า รวมเป็ น ๕ เท้า มีสาย ๓ สาย สายเอก (เสี ยงสู ง) กับสายกลางทาด้วยเอ็นหรื อ ไหม สายต่าสุ ด ทาด้วยลวดทองเหลืองเรี ยกว่า สายลวด ขึงจากหลักตอนหัวผ่านโต๊ะและนม ไปลอดหย่อง แล้วพันกับลูกบิดสายละลูก มีนมตั้งเรี ยงลาดับบนหลัง ๑๑ นม สาหรับกดสาย ให้แตะเป็ นเสี ยงสู งต่าตามต้องการ การดีดต้องใช้ไม้ดีดทาด้วยงาช้างหรื อกระดูกสัตว์ เหลา กลม เรี ยวแหลม ผูกพันติดกับนิ้วชี้มือขวา ดีดปั ดสายไปมา ส่ วนมือซ้ายใช้นิ้วกดสายตรงสัน นมต่างๆ ตามต้องการ
เครื่องสี
เครื่ องดนตรี ที่ต้องใช้ เส้ นหางม้ าหลายๆ เส้ นรวมกัน สีไปบนสายซึงทาด้ วยไหม ่ หรื อเอ็นนี ้โดยมากเรี ยกว่า "ซอ" ทังนัน ซอของไทยที่มีมาแต่โบราณก็คือ "ซอสามสาย" ้ ้ ใช้ บรรเลงประกอบในพระราชพีธีสมโภชต่างๆ ซอสามสายนี ้กะโหลกสาหรับอุ้มเสียง ทาด้ วยกะลามะพร้ าวตัดขวางให้ เหลือพูทงสามอยูด้านหลัง ขึงหน้ าด้ วยหนังแพะหรื อ ั้ ่ หนังลูกวัว มีคน (ทวน) ตังต่อจากกะโหลกขึ ้นไปยาวประมาณ ๑.๒๐ เมตร ทาด้ วย ั ้ งาช้ างหรื อไม้ แก่น กลึงตอนปลายให้ สวยงาม มีลกบิดสอดขวางคันทวน ๓ อัน ู สาหรับพันปลายสาย เร่งให้ ตงหรื อหย่อนตามต้ องการ มีทวนล่างต่อลงไปจาก ึ กะโหลก กลึงให้ เรี ยวเล็กลงไปจนแหลม เลี่ยมโลหะตอนปลายเพื่อให้ แข็งแรงสาหรับ ปั กลงกับพื ้น สายทังสามนันทาด้ วยไหมหรื อเอ็น ขึงจากทวนล่างผ่านหน้ าซอซึงมี ้ ้ ่ หย่องรองรับขึ ้นไปตามทวนและร้ อยเข้ าในรูไปพันลูกบิดสายละอัน ส่วนคันชักหรื อคัน สีนน ทาคล้ ายคันกระสุน ขึงด้ วยเส้ นหางม้ าหลายๆ เส้ น สีไปมาบนสายทังสามตาม ั้ ้ ต้ องการ สิงสาคัญของซอสามสายอย่างหนึง คือ"ถ่วงหน้ า" ถ่วงหน้ านี ้ทาด้ วยโลหะ ่ ่ ประดิษฐ์ ให้ สวยงาม บางทีถึงแก่ฝังเพชรพลอยก็มี แต่จะต้ องมีน ้าหนักได้ สวนสัมพันธ์ ่ กับหน้ าซอ สาหรับติดตรงหน้ าซอตอนบนด้ านซ้ าย ถ้ าไม่มีถ่วงหน้ าแล้ วเสียงจะดังอู้อี ้ ไม่ไพเราะ
เครื่ องตี
เครื่ องดนตรี ที่ตีแล้วดังเป็ นเพลงหรื อเป็ นจังหวะมีมากมาย จะกล่าวเฉพาะที่ควรจะรู ้จก ั ั ่ ั่ และใช้กนอยูทวไป คือ ่ กรับ เป็ นเครื่ องตีที่เมื่อตีแล้วดัง กรับ - กรับ กรับอย่างหนึ่งเป็ นไม้ไผ่ผาซี ก ๒ อัน ถือ มือละอัน แล้วเอาทางผิวไม้ตีกน เรี ยกว่า "กรับคู่" หรื อ "กรับละคร" เพราะโดยมากใช้ ั ประกอบการเล่นละคร อีกอย่างหนึ่ง เป็ นกรับที่ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรื องาช้าง เป็ นซี กหนาๆ ประกบ ๒ ข้าง ่ ้ แล้วมีแผ่นโลหะ หรื อไม้ หรื องา ทาเป็ นแผ่นบางๆ หลายๆ อันซ้อนกันอยูขางใน เจาะรู ตอนโคน ร้อยเชือกเหมือนพัด เรี ยกว่า "กรับพวง" ระนาด เป็ นเครื่ องตีที่ทาด้วยไม้หรื อเหล็กหรื อทองเหลืองหลายๆ อัน เรี ยงเป็ นลาดับ กันบางอย่างก็ร้อยเชือกหัวท้ายแขวน บางอย่างก็วางเรี ยงกันเฉยๆ ระนาดเอก ลูกระนาดทาด้วยไม้ไผ่บง หรื อไม้ชิงชัง ไม้พะยูง และไม้มะหาด ลูก ระนาดฝานหัวท้ายและท้องตอนกลาง ตัดให้มีความยาวลดหลันกันตามลาดับของเสี ยง โดยปกติ ่ มี ๒๑ ลูกเรี ยงเสี ยงต่าสูงตามลาดับ ลูกระนาดทุกลูกเจาะรู ร้อยเชือกหัวท้ายแขวนบนรางซึ่งมีรูป โค้งขึ้น มีเท้ารู ปสี่ เหลี่ยม ตรงกลางสาหรับตั้ง ไม้สาหรับตีมี ๒ อย่างคือ ไม้แข็ง (เมื่อต้องการ เสี ยงดังแกร่ งกร้าว) และไม้นวม (เมื่อต้องการเสี ยงเบาและนุ่มนวล) ระนาดทุม ลูกระนาดเหมือนระนาดเอก แต่ใหญ่และยาวกว่า มี ๑๗ ลูก รางที่แขวน ้ นั้นด้านบนโค้งขึ้น แต่ดานล่างตรงขนานกับพื้นราบ มีเท้าเล็กๆ ตรงมุม ๔ เท้า ไม้ตีใช้แต่ไม้นวม ้
เครื่องเป่ า
เครื่ องดนตรี ไทยที่ใช้ลมเป่ าแล้วดังเป็ นเสี ยงนั้น แบ่งออกได้เป็ น ๒ ประเภท ประเภทหนึ่ งต้องมีลิ้นที่ทาด้วยใบไม้ หรื อไม้ไผ่ หรื อโลหะ สอดใส่ เข้าไว้ เมื่อเป่ า ลมเข้าไปลิ้นก็จะเต้นไหวให้เกิดเสี ยง เรี ยกว่า "ปี่ " อีกประเภทหนึ่ งไม่มีลิ้น แต่มีรู บังคับทาให้ลมที่เป่ าหักมุน แล้วเกิดเป็ นเสี ยงขึ้น เรี ยกว่า "ขลุ่ย" ทั้งปี่ และขลุ่ย ่ ลักษณนามเรี ยกว่า "เลา" ซึ่ งมีอยูหลายประเภทแต่จะกล่าวเฉพาะที่ควรรู ้เท่านั้น คือ ปี่ ใน ทาด้วยไม้ชิงชังหรื อไม้พะยูง กลึงให้ป่องกลางและบานปลายทั้ง ๒ ข้างเล็กน้อยเจาะเป็ นรู กลวงภายใน มีรูสาหรับปิ ดเปิ ดนิ้วให้เป็ นเสี ยงสู งต่า เจาะที่ ตัวปี่ ๖ รู ๔ รู บนเรี ยงตามลาดับ แล้วเว้นห่างพอควรจึงถึง ๒ รู ล่าง ลิ้นปี่ ทาด้วย ใบตาลตัดกลมมน ซ้อน ๔ ชั้น ผูกติดกับหลอดโลหะที่เรี ยกว่า "กาพวด" สอด กาพวดเข้าในรู ปี่ด้านบนแล้วจึงเป่ า ที่เรี ยกว่าปี่ ในนี้ มาเรี ยกกันเมื่อมีปี่รู ปร่ างอย่างเดียวกัน แต่ขนาดต่างกัน ่ เกิดขึ้น คือ ปี่ ที่ยอมกว่าปี่ ใน เล็กน้อยเรี ยก "ปี่ กลาง" และปี่ ขนาดเล็กเรี ยกว่า "ปี่ นอก"
Anúncio