SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต
(Slump test)
จัดทำาโดย
น.ส. นิศารัตน์ จำาปาทอง รหัส 54201255
น.ส. พชวรรณ ดิษฐาเนตร รหัส 54201259
เสนอ
ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ
ประกอบรายวิชา
FEM211 Educational Technology
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ภาควิชา ครุศาสตร์โยธา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยี
• เพื่อหาความสามารถในการเทคอนกรีตสดลง
แบบที่เหมาะสม
• เพื่อหาส่วนผสมของคอนกรีตที่เหมาะสมจะนำา
ไปใช้งาน
• ผู้เรียนได้รับความรู้เพื่อนำาไปใช้ในการปฏิบัติ
จริง
• ผู้ที่ศึกษาหรือสนใจสามารถเข้าใจได้ง่ายและ
นำาไปปฏิบัติตามได้
วัตถุประสงค์
การทดสอบค่ายุบตัว
ของคอนกรีต
(Slump test)คำา
อธิบายเป็นการทดสอบใช้กันมานาน ทำาได้ง่ายในภาคสนาม ใช้
เวลาสั้นๆและเห็นผลการทดสอบในทันที
เนื้อหาที่นำา
เสนอ
วัสดุ
อุปกรณ์
วิธีการ
ทดสอบ
รูปแบบการ
ยุบตัว
ค่าคลาดเคลื่อน
ในการยุบตัวของ
คอนกรีต
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การทดสอบ
การเก็บตัวอย่างคอนกรีตเพื่อนำา
มาทดสอบค่ายุบตัว
- เก็บตัวอย่างของคอนกรีตอย่างน้อย
2 ครั้ง
- คอนกรีตที่เก็บมาจะต้องอยู่บริเวณ
ช่วงกลางของคอนกรีตที่เทออกมาจาก
โม่
1. นำาอุปกรณ์ทุกชิ้นจุ่มนำ้าให้เปียก โดยเฉพาะ
บริเวณภายในกรวยที่จะนำามาทดสอบ
2. วางถาดรองลงบนพื้นราบ นำากรวยขึ้นวาง แล้ว
ใช้เท้าเหยียบ ปลายด้านล่างทั้งสองข้างเพื่อ
ป้องกันการเคลื่อนที่
วิธีทดสอบ
3. นำาคอนกรีตสดลงในแบบกรวย 3
ชั้น ให้แต่ละชั้นมีปริมาณคอนกรีต
เท่าๆ กัน และใช้เหล็กกระทุ้ง
คอนกรีต 25 ครั้งต่อ 1 ชั้น
4. เมื่อครบแล้วให้ใช้เหล็ก
กระทุ้งปาดคอนกรีตส่วน
เกินที่ปากกรวยออก รวม
ทั้งคอนกรีตที่ตกหล่นที่ฐาน
ของแบบกรวย
5. หลังจากนั้น ยกกรวยขึ้นในแนวดิ่ง ตรงๆ และไม่
หมุน ภายในเวลาประมาณ 4-6 วินาที
6. วางกรวยลงข้างๆ คอนกรีต นำาเหล็กกระทุ้งวาง
พาดขอบกรวย แล้วใช้ตลับเมตร หรือ ไม้บรรทัดวัด
ค่ายุบตัวของคอนกรีต
รูปแบบการยุบตัวของคอนกรีตใน
การทดสอบ มี 3 แบบ
1. การยุบตัวแบบถูกต้อง
2. การยุบตัวแบบเฉือน
3.การยุบตัวแบบล้ม
โดยมาตรฐานทั่วไปกำาหนดให้ค่าคลาด
เคลื่อนในการยุบตัว มีค่า ± 2.5 เซนติเมตร
เช่น ถ้าต้องการค่ายุบตัว 5 เซนติเมตร
ค่าที่ยอมรับได้คือ 5 เซนติเมตร ± 2.5 เซนติเมตร
หรือ 2.5 - 7.5 เซนติเมตร
ค่าคลาดเคลื่อนในการยุบตัวของคอนกรีต
ชนิดงาน ค่ายุบ
ตัว(เซนติเมตร)
ฐานราก 7.5 ± 2.5
แผ่นพื้น คาน
ผนัง
10.0 ± 2.5
เสา 10.0 ± 2.5
ครีบ ผนังบางๆ 10.0 ± 2.5
ASTM C 143
Standard Test Method for Slump of Portland
Cement Concrete
มาตรฐานที่ใช้
Gambler_lingz@hotmail.comGambler_lingz@hotmail.com
E-Mail ติดต่อ
Thank 

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังWanida Keawprompakdee
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมNat Basri
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 

Mais procurados (20)

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
งาน (Work)
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟังแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 

Slump test

Notas do Editor

  1. การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต ( Slump test) เป็นวิธีที่ใช้กันมานานและได้รับความนิยมมากที่สุดในการทดสอบความข้นเหลวของคอนกรีต เพราะทำได้ง่าย ใช้เวลาสั้นๆ สามารถทดสอบคอนกรีตได้ทั้งในภาคสนามและห้องปฏิบัติการ
  2. แบบหล่อตัวอย่างคอนกรีต ( Slump Cone) รูปกรวยหัวตัด ทำด้วยสแตนเลส มีเส้นผ่านศูนยก์ลางในที่ฐาน 8 นิ้วและเส้นผ่านศูนย์กลางภายในบนยอด 4 นิ้วความสูง 12 นิ้ว เหล็กกระทุ้ง ยาว 16 มม . ตามมาตรฐานอเมริกา เกรียงใบโพธิ์ ถาดรอง ตลับเมตร / ไม้บรรทัด
  3. คอนกรีตที่จะเก็บมาทดสอบเป็นเสมือนตัวแทนของคอนกรีตทั้งหมด โดยเก็บตัวอย่างของคอนกรีตอย่างน้อย 2 ครั้งในขณะที่เทคอนกรีตออกจากโม่ผสม โดยคอนกรีตที่เก็บมาจะต้องอยู่บริเวณช่วงกลางของคอนกรีตที่เทออกมา จะไม่อยู่บริเวณ แรกสุด หรือ ท้ายสุด
  4. เพื่อลดค่าความผิดพลาดก่อนทำการทดสอบ จะต้องใช้น้ำทำให้บริเวณพื้นที่ผิวภายในกรวยเปียกชื้นเพื่อลดแรงเสียดทานที่จะเกิดขึ้น วางถาดรองบนพื้นที่แข็งแรง เรียบ ใช้เท้าเหยียบหูกรวยป้องกันการเคลื่อนที่
  5. ใส่คอนกรีตสดลงในแบบกรวย 3 ชั้น กะให้แต่ละชั้นมีปริมาณเท่าๆ กันโดยปริมาตร ในแต่ละชั้นให้กระทุ้งด้วยเหล็กกระทุ้ง 25 ครั้ง โดยทำการกระทุ้งให้กระจายทั่วๆหน้าตัดชั้นนั้นๆด้วยการปล่อยเหล็กกระทุ้งลงไปตรงๆโดยไม่ใช้แรงกด ทำการกระทุ้งตามวิธีข้างต้น จนเมื่อทำครบทั้ง 3 ชั้นให้ปาดหน้าคอนกรีตด้านบนให้เสมอกับขอบกรวย และนำคอนกรีตที่ตกหล่นบริเวณฐานแบบกรวยออกให้หมด
  6. จากข้อ 5. น้ำหนักของตัวคอนกรีตจะทำให้คอนกรีตยุบตัวลงมา ซึ่งระยะที่คอนกรีตยุบลงมาเรียกว่า “ค่ายุบตัว” ค่าที่ได้จากการทดสอบ อาจเกิดความผิดพลาดได้ เนื่องจากแรงเสียดทานที่เกิดที่บริเวณพื้นที่ผิวภายในกรวย ** ค่ายุบตัวคือ ค่าระยะที่คอนกรีตยุบตัวจากเดิม โดยวัดที่จุดกึ่งกลางของคอนกรีตที่ยุบตัว
  7. 1. การยุบตัวแบบถูกต้อง เป็นการยุบตัวเนื่องจากน้ำหนักของตัวคอนกรีตเอง - วัดระยะการยุบตัวตามภาพ
  8. 2. การยุบตัวแบบเฉือน เป็นการยุบตัวที่เกิดจากการลื่นไถลลงของคอนกรีตส่วนบน ลงมาด้านข้าง แสดงว่าส่วนผสมของคอนกรีตกระด้างหรือแห้งเกินไป
  9. 3. การยุบตัวแบบล้ม เป็นการยุบตัวไหลลงกองติดที่พื้น ที่เกิดจากการมีน้ำในคอนกรีตมากเกินไป หรือคอนกรีตเหลว
  10. ASTM ย่อมาจาก American Society for Testing and Materials