SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 84
Baixar para ler offline
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์
ิ
ทาไมต้ องเรียนวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ มีบทบาทสาคัญยิงในสังคมโลกปั จจุบนและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้อง
ั
่
กับทุกคนทั้งในชีวตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่ องมือเครื่ องใช้และ
ิ
ผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวตและการทางาน เหล่านี้ลวนเป็ นผลของ
ิ
้
ความรู ้วทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์ อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์ได้
ิ
พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทกษะสาคัญในการ
ั
ค้นคว้าหาค วามรู ้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ สามารถตัดสิ นใจโดยใช้ขอมูลที่
้
หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็ น วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ ึ งเป็ น
สังคมแห่งการเรี ยนรู ้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจาเป็ นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู ้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ ึน สามารถ
นาความรู ้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

เรียนรู้ อะไรในวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยน ได้เรี ยนรู ้วทยาศาสตร์ ที่เน้นการ เชื่อมโยง
ิ
ั
ความรู ้กบกระบวนการ มีทกษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู ้ โดยใช้กระบวนการในการ
ั
สื บเสาะหาความรู ้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ทุกขั้นตอน มีการ
ทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบติจริ งอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กาหนดสาระสาคัญ
ั
ไว้ดงนี้
ั
 สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต สิ่ งมีชีวต หน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต โครงสร้างและ
ิ
ิ
ิ
ิ
หน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวต และกระบวนการดารงชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ
ิ
ิ
ถ่ายทอดทางพันธุ กรรม การทางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวต วิ วัฒนาการและความหลากหลาย
ิ
ของสิ่ งมีชีวต และเทคโนโลยีชีวภาพ
ิ
 ชีวตกับสิ่ งแวดล้อม สิ่ งมีชีวตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตกับ
ิ
ิ
ิ
สิ่ งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ
ิ
่
ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชา ติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปั จจัยที่มีผลต่อการอยูรอดของ
สิ่ งมีชีวตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
ิ
 สารและสมบัติของสาร
สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ
เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
๒
 แรงและการเคลือนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ
่
ออกแรงกระทาต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสี ยดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน
ชีวตประจาวัน
ิ
 พลังงาน พลังงานกับการดารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของ
ิ
แสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้ า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า กัมมันตภาพรังสี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม
ิ
 กระบวนการเปลียนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง
่
ธรณี สมบัติทางกายภาพข องดิน หิ น น้ า อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
 ดาราศาสตร์ และอวกาศ วิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผล
ั
ต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอ าทิ ตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสาคัญของเทคโนโลยี
ิ
อวกาศ
 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสื บเสาะหา
ความรู ้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต
ิ
ิ
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ิ
ั
ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
ิ
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ในการดารงชีวตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต
ิ
ิ
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการ และความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม
วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ั
ิ
ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ ชี วตกับสิ่ งแวดล้อม
ิ
มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต
ิ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ
ิ
หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ
ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนาความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยังยืน
่
๓
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้าใจสมบัติของ สาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละล
าย
การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่
เรี ยนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๔ แรงและการเคลือนที่
่
มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์
มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน
ิ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและ
ิ
สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี
ยนรู้และ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๖ กระบวนการเปลียนแปลงของโลก
่
มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ
กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์ และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗. ๑ เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ
ั
สุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้และจิตวิทยา
ิ
ศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
๔
มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสารวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหา
ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมี
คุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม
ิ
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ การ
่
แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้ นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
่
สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ
้
ั
เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน
ม

คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
 เข้าใจลักษณะทัวไปของสิ่ งมี ชีวต และการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวตที่หลากหลายใน
ิ
ิ
ิ
่
สิ่ งแวดล้อมท้องถิ่น
 เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รู ปของ
พลังงาน
 เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิ น น้ า อากาศ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว
 ตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวต วัสดุและสิ่ งของ และปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต สารวจ
ิ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่ องมืออย่างง่าย และสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ดวยการเล่าเรื่ อง เขียน หรื อวาดภาพ
้
 ใช้ความรู ้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวต การศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม
ิ
ทาโครงงานหรื อชิ้นงานตามที่กาหนดให้ หรื อตามความสนใจ
 แสดงความกระตือรื อร้น สนใจที่จะเรี ยนรู ้ และแสดงความซาบซึ้ งต่อสิ่ งแวดล้อมรอบตัว
แสดงถึงความมีเมตตา ความระมัดระวังต่อสิ่ งมีชีวตอื่น
ิ
 ทางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมัน รอบคอบ ประหยัด ซื่ อสัตย์ จนเป็ นผลสาเร็ จ
่
และทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างมีความสุ ข
้
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
 เข้าใจโครงสร้างและการทางานของระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวต และความสัมพันธ์ของ
ิ
สิ่ งมีชีวตที่หลากหลายในสิ่ งแวดล้อมที่แตกต่างกัน
ิ
๕
 เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทาให้
สารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวตประจาวัน การแยกสารอย่างง่าย
ิ
 เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทากับวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว
สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้นของแสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้ า
 เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวง
อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผลต่อการเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ
 ตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผนและสารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ขอมูล และสื่ อสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบ
้
 ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวต และการศึกษาคว ามรู ้เพิ่มเติม
ิ
ทาโครงงานหรื อชิ้นงานตามที่กาหนดให้หรื อตามความสนใจ
 แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน รับผิดชอบ รอบคอบและซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้
่
 ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกย่อง และ
ิ
เคารพสิ ทธิในผลงานของผูคิดค้น
้
 แสดงถึงความซ าบซึ้ ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า
 ทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ
้
คิดเห็นของผูอื่น
้
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
 เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สาคัญของเซลล์ สิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของการทางาน
ิ
ของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ
สิ่ งมีชีวต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตใน
ิ
ิ
ิ
สิ่ งแวดล้อม
 เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบ ริ สุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน
รู ปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เข้าใจแรงเสี ยดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวตประจาวัน กฎการ
ิ
อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง
 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณทางไฟฟ้ า หลักการต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน พลังงาน
ไฟฟ้ าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
๖
 เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปั จจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุ ริยะ และผลที่มีต่อสิ่ งต่างๆ บนโลก ความสาคัญ
ของเทคโนโลยีอวกาศ
ั
 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ กบเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา
เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวตและสิ่ งแวดล้อม
ิ
 ตั้งคาถามที่มีการกาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผน
และลงมือสารวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้
 สื่ อสารความคิด ความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรื อใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวต การศึกษาหา
ิ
ความรู ้เพิ่มเติม ทาโครงงานหรื อสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
 แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้
่
โดยใช้ เครื่ องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
 ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวตประจาวันและการ
ิ
ิ
ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิ ทธิในผลงานของผูคิดค้น
้
 แสดงถึงความซาบซึ้ ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า มีส่วนร่ วมในการพิทกษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมใน
ั
ท้องถิ่น
 ทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของต นเองและยอมรับฟังความ
้
คิดเห็นของผูอื่น
้
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
 เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่ งมีชีวต
ิ
 เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุ กรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต
ั
ิ
่
ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวตและปั จจัยที่มีผลต่อการอยูรอดของสิ่ งมีชีวตในสิ่ งแวดล้อมต่างๆ
ิ
ิ
 เข้าใจกระบวนการ ความสาคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่ งมีชีวตและ
ิ
สิ่ งแวดล้อม
 เข้าใจชนิดของอนุภาคสาคัญที่เป็ นส่ วนประกอบในโครงสร้างอะตอม การจัดเรี ยงธาตุใน
ตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ั
 เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กบ
แรงยึดเหนี่ยว
๗
 เข้าใจการเกิดปิ โตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการกลันลาดับส่ วนน้ ามันดิบ การนา
่
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์และผลต่อสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม
ิ
 เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สาคัญของพอลิเมอร์ และสารชีวโมเลกุล
 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่างๆ สมบัติของคลื่นกล
คุณภาพของเสี ยงและการได้ยน สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า กัมมันตภาพรังสี
ิ
และพลังงานนิวเคลียร์
 เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณี ที่มีผลต่อสิ่ งมีชีวตและ
ิ
สิ่ งแวดล้อม
 เข้าใจการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี เอกภพและความสาคัญของ
ั
เทคโนโลยีอวกาศ
 เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู ้วทยาศาสตร์ ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภ ทต่างๆ
ิ
้
และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ที่กาวหน้า ผลของเทคโนโลยี
ต่อชีวต สังคม และสิ่ งแวดล้อม
ิ
 ระบุปัญหา ตั้งคาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรต่างๆ สื บค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็ นไปได้
หลายแนวทาง ตัดสิ นใจเลือก
ตรวจสอบสมมติฐานที่เป็ นไปได้
 วางแผนการสารวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรื อตอบคาถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ หรื อสร้างแบบจาลองจากผลหรื อความรู ้
ที่ได้รับจากการสารวจตรวจสอบ
 สื่ อสารความคิด ความรู้จากผ ลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรื อใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 ใช้ความรู ้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวต การศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม
ิ
ทาโครงงานหรื อสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
 แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน รับผิดชอบ รอบคอบและซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้
่
โดยใช้เครื่ องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
 ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวตประจาวัน การ
ิ
ิ
ประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็ นผลจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทนสมัย
ั
 แสดงความซาบซึ้ ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า เสนอตัวเองร่ วมมือปฏิบติกบชุมชนในการป้ องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
ั ั
และสิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่น
 แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู ้ พบคาตอบ หรื อแก้ปัญหาได้
๘
 ทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอ้างอิงและเหตุผล
้
้
ประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใช้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม
ิ
และสิ่ งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอื่น
้
๙

ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง
ั
สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต
ิ
ิ
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ิ
ั
ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
ิ
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ในการดารงชีวตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต
ิ
ิ
ชั้น
ป. ๑

ป. ๒

ตัวชี้วด
ั

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

๑. เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่าง - สิ่ งมีชีวตมีลกษณะแตกต่างจากสิ่ งไม่มีชีวต
ิ ั
ิ
สิ่ งมีชีวตกับสิ่ งไม่มีชีวต
ิ
ิ
โดยสิ่ งมีชีวตจะมีการเคลื่ อนที่ กินอาหาร
ิ
ขับถ่าย หายใจ เจริ ญเติบโต สื บพันธุ์ และ
ตอบสนองต่อสิ่ งเร้า แต่สิ่งไม่มีชีวตจะไม่มี
ิ
ลักษณะดังกล่าว
๒. สังเกตและอธิบายลักษณะและ
- โครงสร้างภายนอกของพืชได้แก่ ราก
หน้าที่ของโครงสร้างภายนอก
ลาต้น ใบ ดอกและผล แต่ละส่ วนทา
ของพืชและสัตว์
หน้าที่ต่างกัน
- โครงสร้างภายนอกของสัตว์ ได้แก่ ตา หู
จมูก ปาก เท้า และขา แต่ละส่ วนทาหน้าที่
แตกต่างกัน
๓. สังเกตและอธิบายลักษณะ
- อวัยวะภายนอกของมนุษย์มีลกษณะและ
ั
หน้าที่ และความสาคัญ ของ
หน้าที่ แตกต่างกัน อวัยวะเหล่านี้มี
อวัยวะภายนอกของมนุษย์
ความสาคัญต่อการดารงชีวต จึงต้องดูแล
ิ
ตลอดจนการดูแลรักษาสุ ขภาพ
รักษาและป้ องกันไม่ให้อวัยวะเหล่านั้น
ได้รับอันตราย
๑. ทดลองและอธิ บาย น้ า แสง เป็ น - พืชต้องการน้ า และแสง ในการเจริ ญเติบโต
ปั จจัยที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต
ิ
และการดารงชีวต
ิ
ของพืช
๒. อธิ บายอาหาร น้ า อากาศ เป็ น
- พืชและสัตว์ตองการอาหาร น้ า อากาศ เพื่อ
้
ปั จจัยที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต
ิ
การดารงชีวตดารงชีวตและการเจริ ญเติบโต
ิ
ิ
และการเจริ ญเติบโตของพืชและ - นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดูแลพืช
สัตว์และนาความรู้ไปใช้
และสัตว์เพื่อให้เจริ ญเติบโตได้ดี
ประโยชน์
๑๐
ชั้น

ป. ๓
ป. ๔

ป. ๕

ตัวชี้วด
ั

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

๓. สารวจและอธิบาย พืชและสัตว์
สามารถตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ
และการสัมผัส
๔. ทดลองและอธิ บาย ร่ างกายของ
มนุษย์สามารถ ตอบสนองต่อแสง
อุณหภูมิ และการสัมผัส
๕. อธิบาย ปั จจัยที่จาเป็ นต่อการ
ดารงชีวต และการเจริ ญเติบโต
ิ
ของมนุษย์
๑. ทดลองและอธิบาย หน้าที่ของ
ท่อลาเลียงและ ปากใบของพืช
๒. อธิบาย น้ า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
แสงและคลอโรฟิ ลล์ เป็ นปัจจัยที่
จาเป็ นบางประการต่อ
การ
เจริ ญเติบโต และการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช
๓. ทดลองและอธิบาย การ
ตอบสนองของพืชต่อแสง เสี ยง
และการสัมผัส
๔. อธิบายพฤติกรรมของสัตว์ที่
ตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ
การสัมผัส และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

๑. สังเกตและระบุส่วนประกอบ
ของดอกและโครงสร้างที่
เกี่ยวข้องกับการสื บพันธุ์ของพืช
ดอก

พืชและสัตว์มีการตอบสนองต่อ แสง
อุณหภูมิ และการสัมผัส
ร่ างกายมนุ ษย์สามารถตอบสนองต่อ แสง
อุณหภูมิและการสัมผัส
มนุษย์ตองการอาหาร น้ า อากาศ เพื่อการ
้
ดารงชีวตและการเจริ ญเติบโต
ิ

- ภายในลาต้นของพืชมีท่อลาเลียง เพื่อลาเลียง
น้ าและอาหาร และในใบมีปากใบทาหน้าที่คายน้ า
- ปั จจัยที่สาคัญต่อการเจริ ญ เติบโต และ
การสังเคราะห์ดวยแสงของพืช ได้แก่ น้ า
้
แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์
แสง และ
คลอโรฟิ ลล์
- พืชมีการตอบสนองต่อแสง เสี ยง และการ
สัมผัส ซึ่งเป็ นสภาพแวดล้อมภายนอก
- พฤติกรรมของสัตว์ เป็ นการแสดงออก
ของสัตว์ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่ งเร้า เช่น แสง อุณหภูมิ การสัมผัส
- นาความรู ้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ไปใช้
ประ โยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสม กับการดารงชีวตของสัตว์ และ
ิ
เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร
- ดอกโดยทัว ไปประกอบด้วย กลีบเลี้ยง
่
กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย
- ส่ วนประกอบของดอกที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้อง
กับการสื บพันธุ์ ได้แก่ เกสรเพศเมีย
๑๑
ชั้น

ตัวชี้วด
ั

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

๒. อธิบายการสื บพันธุ์ของพืชดอก
การขยายพันธุ์พืช และนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์

-

๓. อธิบายวัฏจักรชีวตของพืชดอก
ิ
บางชนิด

-

๔. อธิบายการสื บพันธุ์และการ
ขยายพันธุ์ของสัตว์

-

-

-

๕. อภิปรายวัฏจักรชีวตของสัตว์
ิ
บางชนิด และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

-

-

ป. ๖

๑. อธิบายการเจริ ญเติบโตของมนุษย์ จากวัยแรกเกิดจนถึงวัยผูใหญ่
้

ประกอบด้วย รังไข่ ออวุล และเกสร
เพศผู้ ประกอบด้วยอับเรณูและละอองเรณู
พืชดอกมีการสื บพันธุ์ท้ ั งแบบอาศัยเพศ
และการสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิมปริ มาณและ
่
คุณภาพ ของพืช ทาได้หลายวิธี โดยการเพาะ
เมล็ด การปั กชา การตอนกิ่งการติดตา การ
ทาบกิ่ง การเสี ยบยอด และการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยือ
่
พืชดอกเมื่อเจริ ญเติบโตเต็มที่จะออกดอก
ดอกได้รับการผสมพันธุ์กลายเป็ นผล ผลมี
เมล็ด ซึ่ งสามารถงอกเป็ นต้นพืชต้นใหม่
หมุนเวียนเป็ นวัฏจักร
สัตว์มีการสื บพั นธุ์แบบอาศัยเพศและการ
สื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การขยายพันธุ์สัตว์โดยวิธีการคัดเลือกพันธุ์
และการผสมเทียม ทาให้มนุษย์ได้สัตว์ที่มี
ปริ มาณและคุณภาพตามที่ตองการ
้
สัตว์บางชนิด เช่น ผีเสื้ อ ยุง กบ เมื่อไข่
ได้รับ การผสมพันธุ์จะเจริ ญเป็ นตัวอ่อน
และตัวอ่อน เจริ ญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัย
จนกระทังสามารถสื บพันธุ์ได้ หมุนเวียน
่
เป็ นวัฏจักร
มนุษย์นาความรู ้เกี่ยวกับวัฏจักรชีวตของ
ิ
สัตว์ มาใช้ประโยชน์มากมาย ทั้งทางด้าน
การเกษตร การอุตสาหกรรม และการดูแล
รักษาสิ่ งแวดล้อม
มนุษย์มีการเจริ ญเติบโตและมีการ
เปลี่ยนแปลง ทางด้านร่ างกายตั้งแต่แรกเกิด
จนเป็ นผูใหญ่
้
๑๒
ชั้น

ตัวชี้วด
ั
ั
๒. อธิ บายการทางานที่สัมพันธ์กน
ของระบบย่อยอาหาร ระบบ
หายใจ และระบบหมุนเวียน
เลือดของมนุษย์

๓. วิเคราะห์สารอาหารและอภิปราย
ความจาเป็ นที่ร่างก ายต้องได้รับ
สารอาหารในสัดส่ วนที่เหมาะสมกับ
เพศและวัย

ม. ๑

๑. สังเกตและอธิบายรู ปร่ าง ลักษณะ
ของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์
ิ
เดียวและเซลล์ของสิ่ งมีชีวต
ิ
หลายเซลล์
๒. สังเกตและเปรี ยบเทียบส่ วนประกอบ
สาคัญของเซลล์พชและเซลล์สัตว์
ื

๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของ
ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์
พืชและเซลล์สัตว์

๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการ
สารผ่านเซลล์ โดยการแพร่
และออสโมซิส

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
่
- ระบบย่อยอาหาร ทาหน้าที่ยอยอาหาร
ให้เป็ นสารอาหารขนาดเล็กแล้วจะถูกดูดซึม
เข้าสู่ ระบบหมุนเวียนเลื อด แก๊สออกซิ เจน
ที่ได้จากระบบ หายใจจะทาให้ สารอาหาร
เกิดการเปลี่ยนแปลง จนกลายเป็ นพลังงาน
ที่ร่างกายนาไปใช้ได้
- สารอาหาร ได้แก่ โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต
ไขมัน แร่ ธาตุ วิตามิน และน้ า มีความ
จาเป็ นต่อร่ างกาย มนุษย์จาเป็ นต้องได้รับ
สารอาหารในสัดส่ วนที่เหมาะสมกับเพศ
และวัยเพื่อ การ เจริ ญเติบโตและการ
ดารงชีวต
ิ
- เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์
ิ
ของ สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ เช่น เซลล์พืช
ิ
และเซลล์สัตว์มีรูปร่ าง ลักษณะแตกต่างกัน
- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยือหุมเซลล์
่ ้
เป็ นส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่
เหมือนกันของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
- ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็ น
ส่ วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์พืช
- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว
่ ้
โอล เป็ น ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์
สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน
- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว
่ ้
โอล ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็ น
ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่
แตกต่างกัน
- การแพร่ เป็ นการเคลื่อนที่ของสาร จาก
บริ เวณที่มีความเข้มข้นสู งไปสู่ บริ เวณที่มี
ความเข้มข้นต่า
๑๓
ชั้น

ตัวชี้วด
ั

๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการที่
จาเป็ นต่อการสังเคราะห์ดวย
้
แสงของพืช และอธิ บายว่าแสง
คลอโรฟิ ลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้ า เป็ นปั จจัยที่
จาเป็ นต้องใช้ในการสังเคราะห์
ด้วยแสง
๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จาก
การสังเคราะห์ดวยแสงของพืช
้
๗. อธิบายความสาคัญของกระบวนการ
สังเคราะห์ดวยแสงของพืชต่อ
้
สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม
ิ

๘. ทดลองและอธิ บายกลุ่มเซลล์ที่
เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้ าของ
พืช
๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่
เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้ าและ
อาหารของพืช

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
- ออสโมซิ สเป็ น การเคลื่อนที่ของน้ าผ่านเข้า
และออกจากเซลล์ จากบริ เวณที่มีความ
เข้มข้นของสารละลายต่าไปสู่ บริ เวณที่มี
ความเข้มข้นของสารละลายสู ง โดยผ่านเยือ
่
เลือกผ่าน
- แสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์
และน้ า เป็ นปั จจัยที่จาเป็ นต่อกระบวนการ
สังเคราะห์ดวยแสงของพืช
้

- น้ าตาล แก๊สออกซิ เจนและน้ า เป็ น
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช
- กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงมี
้
ความสาคัญต่อการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวต
ิ
ิ
และต่อสิ่ งแวดล้อมใน ด้านอาหาร การ
หมุนเวียนของแก๊สออกซิ เจนและแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์
- เนื้อเยือลาเลียงน้ าเป็ นกลุ่มเซลล์เฉพาะเรี ยง
่
ต่อเนื่องกันตั้งแต่ราก ลาต้น จนถึงใบ ทา
หน้าที่ ในการลาเลียงน้ าและธาตุอาหาร
- เนื้อเยือลาเลียงน้ าและเนื้อเยือลาเลียงอาหาร
่
่
่
เป็ นกลุ่มเซลล์ที่อยูคู่ ขนานกันเป็ นท่อ
ลาเลียง จากราก ลาต้นถึงใบ ซึ่งการ
จัดเรี ยงตัวของท่อลาเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
และพืชใบเลี้ยงคู่จะแตกต่างกัน
- เนื้อเยือลาเลียงน้ า ทาหน้าที่ในการลาเลียง
่
น้ าและธาตุอาหารจากรากสู่ ใบ
ส่ วน
๑๔
ชั้น

ตัวชี้วด
ั

๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสร้าง ของ
ดอกที่เกี่ยวข้องกั บการสื บพันธุ์
ของพืช
๑ ๑. อธิบายกระบวนการสื บพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและ
การสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
ของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของ
พืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์

๑๒ . ทดลองและอธิบายการ
ตอบสนองของพืช ต่อแสง น้ า
และการสัมผัส
๑๓. อธิบายหลักการและผลของ
การใช้เทคโนโลยี ชีวภาพใน
การขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์
เพิ่มผลผลิตของพืชและนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
เนื้อเยือลาเลียงอาหารทาหน้าที่ลาเลียง
่
อาหารจากใบสู่ ส่วนต่างๆ ของพืช
- การคายน้ ามีส่วนช่วยในการลาเลียงน้ าของ
พืช
- เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเป็ นโครงสร้าง
้
ที่ใช้ในการสื บพันธุ์ของพืชดอก
- กระบวนการสื บพันธุ์แบบอา ศัยเพศของพืช
ดอกเป็ นการปฏิสนธิ ระหว่างเซลล์สืบพันธุ์
เพศผูและเซลล์ไข่ในออวุล
้
- การแตกหน่อ การเกิดไหล เป็ นการสื บพันธุ์
ของพืช แบบไม่อาศัยเพศ โดยไม่มีการ
ปฏิสนธิ
- ราก ลาต้น ใบ และกิ่งของพืชสามารถนาไปใช้
ขยายพันธุ์พืชได้
- พืชตอบสนองต่อสิ่ งเร้าภายนอก โดยสังเกต
ได้จากการเคลื่อนไหวของส่ วนประกอบ
ของพืช ที่มีต่อแสง น้ า และการสัมผัส
- เทคโนโลยีชีวภาพ เป็ นการใช้เทคโนโลยี
เพื่อ ทาให้สิ่งมีชีวตหรื อองค์ประกอบของ
ิ
สิ่ งมีชีวต มีสมบัติตามต้องการ
ิ
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือพืช พันธุ วศวกรรม
่
ิ
เป็ นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการ
ขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ และเพิ่มผลผลิต
ของพืช
๑๕
ชั้น
ม. ๒

ตัวชี้วด
ั
๑. อธิบายโครงสร้างและการ
ทางานของระบบ ย่อยอาหาร
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ
หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบ
สื บพันธุ์ ของมนุษย์และสัตว์
รวมทั้งระบบประสาทของ
มนุษย์

๒. อธิบายความสัมพันธ์ของระบบ
ต่างๆ ของ มนุษย์และนาคว ามรู้
ไปใช้ประโยชน์

๓. สังเกตและอธิบายพฤติกรรม
ของมนุษย์และสัตว์ที่ตอบสนอง
ต่อสิ่ งเร้าภายนอกและภายใน

๔. อธิบายหลักการและผลของการ
ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ
ขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ และ
เพิ่มผลผลิตของสัตว์และนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์

๕. ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบาย
สารอาหารในอาหารมีปริ มาณ

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
- ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสื บพันธุ์
และระบบประสาทของม นุษย์ ในแต่ละ
ระบบ ประกอบด้วยอวัยวะหลายชนิดที่
ทางานอย่างเป็ นระบบ
- ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสื บพันธุ์
ของสัตว์ ประกอบด้วยอวัยวะหลายชนิดที่
ทางานอย่าง เป็ นระบบ
- ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสื บพันธุ์
ของมนุษย์ในแต่ละระบบมีการทางานที่
ั
สัมพันธ์กนทาให้มนุษย์ดารงชีวตอยูได้
ิ ่
อย่างปกติ ถ้าระบบใดระบบหนึ่งทางาน
ผิดปกติ ย่อมส่ งผลกระทบต่อระบบอื่นๆ
ดังนั้นจึงต้องมีการดูแลรักษาสุ ขภาพ
- แสง อุณหภูมิ และการสัมผัส จัดเป็ นสิ่ งเร้า
ภายนอก ส่ วนการเปลี่ยนแปลงระดับสาร
ใน ร่ างกาย เช่น ฮอร์ โมน จัดเป็ นสิ่ งเร้า
ภายใน ซึ่ งทั้ง สิ่ งเร้าภายนอก และสิ่ งเร้า
ภายในมีผลต่อมนุษย์และสัตว์ ทาให้แสดง
พฤติกรรมต่างๆ ออกมา
- เทคโนโลยีชีวภาพเป็ นการใช้เทคโนโลยี
เพื่อ ทาให้สิ่งมีชี วิตหรื อองค์ประกอบของ
สิ่ งมีชีวต มีสมบัติตามต้องการ
ิ
- การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน
เป็ นการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ
ขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ และเพิ่มผลผลิต
ของสัตว์
- แป้ ง น้ าตาล ไขมัน โปรตีน วิตามินซี เป็ น
สารอาหารและสามารถทดสอบได้
๑๖
ชั้น

ตัวชี้วด
ั
พลังงานและสัดส่ วนที่
เหมาะสมกับเพศและวัย

๖. อภิปราย ผลของสารเสพติดต่อ
ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย และ
แนวทางในการป้ องกันตนเอง
จากสารเสพติด
ม.๓
ม. ๔-ม. ๖ ๑. ทดลองและอธิบายการรักษา
ดุลยภาพของเซลล์ของสิ่ งมีชีวต
ิ

๒. ทดลองและอธิบายกลไกการ
รักษาดุลยภาพของน้ าในพืช

๓. สื บค้นข้อมูลและอธิบายกลไก
การควบคุมดุลยภาพของน้ า

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
- การบริ โภคอาหาร จาเป็ นต้องให้ได้
สารอาหาร ที่ครบถ้วนในสัดส่ วนที่เหมาะสม
กับเพศและวัย และได้รับปริ มาณพลังงานที่
เพียงพอกับความต้องการของร่ างกาย
- สารเสพติดแต่ละประเภทมีผลต่อระบบต่างๆ
ของร่ างกาย ทาให้ระบบเหล่านั้นทาหน้าที่
ผิดปกติ ดังนั้นจึงต้องหลีกเลี่ยงการใช้สาร
เสพติด และ
หาแนวทางในการป้ องกันตนเอง
จาก สารเสพติด
่
- สารต่าง ๆ เคลื่อนที่ผานเข้าและออกจาก
เซลล์ ตลอดเวลา เซลล์จึงต้องมีการรักษา
ดุลยภาพ เพื่อให้ร่างกายของสิ่ งมีชีวต
ิ
ดารงชีวตได้ตามปกติ
ิ
- เซลล์มีการลาเลียงสารผ่านเซลล์โดย วิธีการแพร่
การออสโมซิส การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต
การลาเลียงแบบใช้พลังงาน และการ
ลาเลียงสารขนาดใหญ่
- สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวมีการลาเลียงสารเกิดขึ้น
ิ
ภายในเซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ แต่สิ่งมีชีวต
ิ
หลายเซลล์ตองอาศัยการทางานประสานกัน
้
ของเซลล์จานวนมาก
- พืชมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ า
โดยมี การควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ า
ผ่านปากใบ และการดูดน้ าที่ราก
- การเปิ ดปิ ดของปากใบเป็ นการควบคุมอัตรา
การคายน้ าของพืช ซึ่ งช่วยในการรักษาดุลย
ภาพของน้ าภายในพืชให้มีความชุ่ มชื้นใน
ระดับที่พอเหมาะ
- ไตเป็ นอวัยวะสาคัญในการรักษาดุลยภาพ
ของน้ าและสารต่าง ๆ ในร่ างกาย ซึ่ งมี
๑๗
ชั้น

ตัวชี้วด
ั
แร่ ธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย์
และสัตว์อื่น ๆ และนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
-

-

-

-

-

-

๔. อธิ บายเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน
้
ของร่ างกายและนาความรู ้ไปใช้
ในการดูแลรักษาสุ ขภาพ

-

-

โครงสร้างและการทางานร่ วมกับอวัยวะอื่น
่
ภายในไตมีหน่วยไต ของเหลวที่ผานเข้าสู่
หน่วยไตส่ วนหนึ่งจะถูกดูดซึ มกลับสู่ หลอด
เลือด ส่ วนที่ไม่ถูกดูดซึ มกลับจะผ่านไปยัง
ท่อปั สสาวะ
ยูเรี ย โซเดียมไอออน และคลอไรด์ไอออน
เป็ นของเสี ยจากกระบวนการเมแทบอลิซึม
จะถูกขับออกจากไตไปพร้อมกับปั สสาวะ
อะมีบาและพารามีเซี ยมเป็ นสิ่ งมีชีวตเซลล์
ิ
เดียวที่มีโครงสร้างภายในเซลล์ที่เรี ยกว่า
คอนแทร็ กไทล์แวคิวโอลในการกาจัดน้ า
และของเสี ยออกจากเซลล์
ปลาน้ าจืดมีเซลล์บริ เวณเหงือกที่น้ าเข้าสู่
ร่ างกาย ได้โดยการออสโมซิ ส ส่ วนปลา
น้ าเค็มป้ องกันการสู ญเสี ยน้ าออกจาก
ร่ างกายโดยมีผวหนังและเกล็ดที่ป้องกัน
ิ
ไม่ให้แร่ ธาตุจากน้ าทะเลซึ มเข้าสู่ ร่างกาย
และที่บริ เวณเหงือกมีกลุ่มเซลล์ซ่ ึ งขับแร่
ธาตุส่วนเกินออกโดยวิธีการลาเลียงแบบใช้
พลังงาน
มนุษย์มีกลไกในการควบคุมอุณหภูมิของ
่
ร่ างกายให้อยูในสภาวะที่เหมาะสม โดยศูนย์
ควบคุมอุณหภูมจะอยูที่สมองส่ วนไฮโพทาลามัส
ิ ่
สัตว์เลือดอุ่นสามารถรักษาอุณหภูมิของ
ร่ างกาย ให้เกือบคงที่ได้ในสภาวะแวดล้อม
ต่าง ๆ ส่ วนสัตว์เลือดเย็น อุณหภูมิร่างกาย
จะแปรผันตามอุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อม
ร่ างกายมนุษย์ มีภูมิคุมกันซึ่ งเป็ นกลไก
้
ในการป้ องกันเชื้อโรคหรื อสิ่ งแปลกปลอม
เข้าสู่ ร่างกาย
ผิวหนัง เซลล์เม็ดเลือดขาวและระบบ
๑๘
ชั้น

ตัวชี้วด
ั

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

-

น้ าเหลืองเป็ นส่ วนสาคัญของร่ างกายที่ทา
หน้าที่ป้องกันและทาลายเชื้อโรคและสิ่ ง
แปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย
ระบบภูมิคุมกันมีความสาคัญยิงต่อร่ างกาย
้
่
มนุษย์การรับประทานอาหารที่ถูก
สุ ขลักษณะ การออกกาลังกา ย การดูแล
สุ ขอนามัย ตลอดจนการ หลีกเลี่ยงสารเสพ
ติด และพฤติกรรมที่เสี่ ยงทางเพศ และการ
ได้รับวัคซี นในการป้ องกันโรคต่าง ๆ ครบ
ตามกาหนด จะช่วยเสริ มสร้างภูมิคุมกันและ
้
รักษาภูมิคุมกันของร่ างกายได้
้
๑๙
สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต
ิ
ิ
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม
วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ั
ิ
ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น
ป. ๑

ป. ๒

ตัวชี้วด
ั
๑. ระบุลกษณะของสิ่ งมีชีวตใน
ั
ิ
ท้องถิ่นและนามาจัดจาแนก
โดยใช้ลกษณะภายนอกเป็ น
ั
เกณฑ์
๑. อธิบายประโยชน์ของพืชและ
สัตว์ในท้องถิ่น

-

-

ป. ๔

๑. อภิปรายลักษณะต่างๆ ของ
สิ่ งมีชีวตใกล้ตว
ิ
ั
๒. เปรี ยบเทียบและระบุลกษณะ
ั
ั
ที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กบลูก
๓. อธิ บายลักษณะที่คล้ายคลึงกัน
ั
ของพ่อแม่กบลูกว่าเป็ นการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

-

๔. สื บค้นข้อมูลและอภิปราย
เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวตบางชนิดที่
ิ
สูญพันธุ์ไปแล้ว และที่ดารงพันธุ์
มาจนถึงปัจจุบน (ว ๑.๒.๓)
ั

ป. ๓

-

-

-

-

-

-

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
สิ่ งมีชีวตในท้องถิ่นจะมีท้ งลักษณะที่
ิ
ั
เหมือนกัน และแตกต่างกัน ซึ่งสามารถ
นามาจาแนกโ ดยใช้ ลกษณะภายนอกเป็ น
ั
เกณฑ์
พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ของ
่
ปั จจัยสี่ คือ เป็ นอาหาร ที่อยูอาศัย
เครื่ องนุ่งห่ม และยารักษาโรค
สิ่ งมีชีวตแต่ละชนิดจะมีลกษณะแตกต่าง
ิ
ั
กัน
สิ่ งมีชีวตทุกชนิดจะมีลกษณะภายนอกที่
ิ
ั
ปรากฏคล้ายคลึงกับพ่อแม่ของสิ่ งมี วตชนิดนั้น
ชี ิ
ลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่
กับลูกเป็ นการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
มนุษย์นาความรู ้ที่ได้เกี่ยวกับการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมมาใช้ประโยชน์ใน
การพัฒนาสายพันธุ์ของพืชและสัตว์
สิ่ งมีชีวตที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับ
ิ
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้ ก็จะ
สู ญพันธุ์ไปในที่สุด
สิ่ งมีชีวตที่สามารถปรับตัวเข้ากับ
ิ
สภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไปได้ จะ
่
สามารถอยูรอดและดารงพันธุ์ต่อไป
๒๐
ชั้น
ป. ๕

ตัวชี้วด
ั
๑. สารวจ เปรี ยบเทียบ และระบุ
ลักษณะของตนเอง กับคนใน
ครอบครัว
๒. อธิ บายการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุ กรรมของสิ่ งมีชีวต
ิ
ในแต่ละรุ่ น

๓. จาแนกพืชออกเ ป็ นพืชดอก
และพืชไม่มีดอก
๔. ระบุลกษณะของพืชดอกที่
ั
เป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืช
ใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ลกษณะ
ั
ภายนอกเป็ นเกณฑ์
๕. จาแนกสัตว์ออกเป็ นกลุ่มโดย
ใช้ลกษณะภายในบางลักษณะ
ั
และลักษณะภายนอกเป็ น
เกณฑ์

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
- ลักษณะของตนเองจะคล้ายคลึงกับคนใน
ครอบครัว
- การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรมเป็ น
การถ่ายทอดลักษณะบางลักษณะจากบรรพ
บุรุษสู่ ลูกหลาน ซึ่งบางลักษณะจะเหมือน
พ่อหรื อเหมือนแม่ หรื ออาจมีลกษณะ
ั
เหมือน ปู่ ย่า ตา ยาย
- พืชแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ พืชดอก
กับพืชไม่มีดอก
- พืชดอกแบ่งออกเป็ น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับ
พืชใบเลี้ยงคู่ โดยสังเกตจาก รา ก ลาต้น
และใบ

ป. ๖

-

- การจาแนกสัตว์เป็ นกลุ่ม โดยใช้ลกษณะ
ั
ภายนอกและลัก ษณะภายในบางลักษณะ
เป็ นเกณฑ์แบ่ง ออกได้เป็ นสั ตว์มีกระดูก
สันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
- สัตว์มีกระดูกสั นหลังแบ่งเป็ นกลุ่มปลา
สัตว์ครึ่ งน้ าครึ่ งบก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์
ปี ก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม
-

ม. ๑

-

-

ม. ๒

-

-

ม. ๓

๑. สังเกตและอธิบายลักษณะ
ของโครโมโซมที่มีหน่วย
พันธุกรรมหรื อยีนใน
นิวเคลียส

่
- เมื่อมองเซลล์ผานกล้องจุลทรรศน์จะเห็น
่
เส้นใยเล็กๆ พันกันอยูในนิวเคลียส เมื่อเกิด
การแบ่ง เซลล์ เส้นใยเหล่านี้จะขดสั้นเข้า
จนมีลกษณะเป็ นท่อนสั้น เรี ยกว่า
ั
โครโมโซม
๒๑
ชั้น

ตัวชี้วด
ั
๒. อธิบายความสาคัญของสาร
พันธุกรรมหรื อดีเอ็นเอ และ
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม

-

๓. อภิป รายโรคทางพันธุกรรมที่
เกิดจากความผิดปกติของยีน
และโครโมโซมและนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์

-

-

-

-

๔. สารวจและ อธิบายความ
หลากหลายทางชีวภาพใน
ท้องถิ่นที่ทาให้สิ่งมีชีวต
ิ
ดารงชีวตอยูได้อย่างสมดุล
ิ ่

-

๕. อธิบายผลของความ
หลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อ
มนุษย์ สัตว์ พืช และ
สิ่ งแวดล้อม

-

-

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
โครโมโซมประกอบด้วยดีเอ็นเอและ
โปรตีน
ยีนหรื อหน่วยพันธุ กรรมเป็ นส่ วนหนึ่งที่อยู่
บนดีเอ็นเอ
เซลล์หรื อสิ่ งมีชีวต มีสารพันธุกรรมหรื อ
ิ
ดีเอ็นเอที่ควบคุมลักษณะของการ
แสดงออก
ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีน
จากพ่อและแม่สามารถถ่ายทอดสู่ ลูกผ่าน
ทางเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ
โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เป็ นโรคทาง
พันธุ กรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มอาการดาวน์เป็ นความผิดปกติของ
ร่ างกาย ซึ่ งเกิดจากการที่มีจานวน
โครโมโซมเกินมา
ความรู้เ กี่ยวกับโรคทางพันธุ กรรมสามารถ
นาไปใช้ในการป้ องกันโรค ดูแลผูป่วยและ
้
วางแผนครอบครัว
ความหลากหลายทางชีวภาพที่ทาให้
่ ั
สิ่ งมีชีวตอยูอย่างสมดุล ขึ้นอยูกบความ
ิ ่
ห ลากหลายของระบบนิเวศ
ความ
หลากหลายของชนิดสิ่ งมีชีวต และความ
ิ
หลากหลายทางพันธุกรรม
การตัดไม้ทาลายป่ าเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้
เกิดการสู ญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ
ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการดารงชีวตของมนุษย์
ิ
สัตว์ พืชและสิ่ งแวดล้อม
การใช้สารเคมีในการกาจัดศัตรู พืช และสัตว์
ส่ งผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช
ิ
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความหลากหลาย
ทางชีวภาพและส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
๒๒
ชั้น

ตัวชี้วด
ั
๖. อภิปรายผลของเทคโนโลยี วภาพ
ชี
ต่อกา รดารงชีวตของมนุษย์
ิ
และสิ่ งแวดล้อม
ม. ๔-ม. ๖ ๑. อธิ บายกระบวนการถ่ายทอด
สารพันธุกรรม การแปรผัน
ทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ
การเกิดความหลากหลายทาง
ชีวภาพ

-

-

-

-

-

๒. สื บค้นข้อมูลและอภิปรายผล
ของเทคโนโลยี ชีวภาพที่มี
ต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อมและ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

-

-

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มีประโยชน์ต่อ
มนุษย์ ทั้งด้านการแพทย์ การเกษตรและ
อุตสาหกรรม
สิ่ งมีชีวต มีการถ่ายทอดลักษณะทาง
ิ
พันธุ กรรม จากพ่อแม่มาสู่ รุ่นลูกหลานได้
ซึ่งสังเกตได้จากลักษณะที่ปรากฏ
ดีเอ็นเอเป็ นนิวคลีโอไทด์สายยาวสองสายพัน
กันเป็ นเกลียวคู่วนขวา แต่ละสาย
ประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์นบล้านหน่วย ซึ่ ง
ั
มีโครงสร้างประกอบด้วยน้ าตาลเพนโทส
ไนโตรเจนเบสสี่ ชนิดและหมู่ฟอสเฟต โดยที่
ลาดับเบสของนิวคลีโอไทด์จะมีขอมูลทาง
้
พันธุ กรรมบันทึกอยู่
มิวเทชันเป็ นการเปลี่ยนแปลงทาง
พันธุกรรมในระดับยีนหรื อโครโมโซม ซึ่ง
เป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ
ดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์
สามารถถ่ายทอดไปสู่ รุ่นลูกและหลานได้
การแปรผันทางพันธุ กรรมทาให้สิ่งมีชีวตที่
ิ
เกิดใหม่มีลกษณะที่แตกต่างกันหลากหลาย
ั
ชนิดก่อให้เกิดเป็ นความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
มนุษย์นาความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพด้าน
พันธุวศวกรรม การโคลนและการ
ิ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยือ มาใช้ในการพัฒนาให้เกิด
่
ความก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ มากขึ้นและ
แพร่ หลาย
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่สร้างสิ่ งมีชีวตใหม่
ิ
เกิดขึ้น หรื อสิ่ งมีชีวตที่มีการดัดแปรพันธุกรรม
ิ
ส่ งผล กระทบทั้งทางด้านที่เป็ นประโยชน์
และโทษต่อสิ่ งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
๒๓
ชั้น

ตัวชี้วด
ั
๓. สื บค้นข้อมูลและอภิปรายผล
ของความหลากหลายทาง
ชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ
สิ่ งแวดล้อม

-

-

-

๔. อธิบายกระบวนการคัดเลือก
ตามธรรมชาติ และ ผลของ
การคัดเลือกตามธรรมชาติต่อ
ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวต
ิ

-

-

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศซึ่งมี
่
สิ่ งมีชีวตอาศัยอยูมากมายหลายสปี ชีส์
ิ
สิ่ งมีชีวตสปี ชีส์ เดียวกันก็ยงมีความ
ิ
ั
หลากหลายทางพันธุกรรม
ความหลากหลายทางชีวภาพส่ งผลทาให้
มนุษย์ และสิ่ งมีชีวตอื่น ๆ ได้ใช้ประโยชน์
ิ
่
ในแง่ของการเป็ นอาหาร ที่อยูอาศัย แหล่ง
สื บพันธุ์และขยายพันธุ์ ทาให้สิ่งมีชีวต
ิ
่
สามารถดารงพันธุ์อยูได้
สิ่ งมีชีวตที่มีความหลากหลายท างชีวภาพ มี
ิ
ความต้องการปั จจัยต่าง ๆ ในการดารงชีวต
ิ
แตกต่างกันซึ่ งจะช่วยรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศบนโลกได้
สิ่ งมีชีวตแต่ละสปี ชีส์จะมีความหลากหลาย
ิ
ที่แตกต่างกัน สิ่ งมีชีวตในสปี ชีส์เดียวกัน
ิ
จะผสมพันธุ์และสื บลูกหลานต่อไปได้
การคัดเลือกตามธรรมชาติจะส่ งผลทาให้
ลักษณะพันธุ กรรมของประชากรในกลุ่ม
ย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปจนกลายเป็ น
สปี ชีส์ใหม่ทาให้เกิดเป็ นความหลากหลาย
ของสิ่ งมีชีวต
ิ
๒๔
สาระที่ ๒ ชีวตกับสิ่ งแวดล้อม
ิ
มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต
ิ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ
ิ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น

ตัวชี้วด
ั

สาระการเรียนรู้ แกนกลาง

ป. ๑

-

-

ป. ๒

-

-

ป. ๓

๑. สารวจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น
ของตนและอธิบาย
ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวต
ิ
กับสิ่ งแวดล้อม

่
- สิ่ งแวดล้อมหมายถึง สิ่ งที่อยูรอบๆ ตัวเรามี
ทั้งสิ่ งมีชีวตและ สิ่ งไม่มีชีวต สิ่ งมีชีวตมี
ิ
ิ
ิ
ั
ความสัมพันธ์กบสิ่ งแ วดล้อมทั้งกับ
สิ่ งมีชีวตด้วยกันและกับสิ่ งไม่มีชีวต
ิ
ิ

ป. ๔

-

-

ป. ๕

-

-

ม. ๑

๒. อธิบายความสัมพันธ์ของ
สิ่ งมีชีวตกับสิ่ งมีชีวตในรู ป
ิ
ิ
ของโซ่อาหารและสายใย
อาหาร
๓. สื บค้นข้อมูลและอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่าง การ
ดารง ชีวตของสิ่ งมีชีวตกับ
ิ
ิ
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
-

่
- กลุ่มสิ่ งมีชีวตในแหล่งที่อยูต่าง ๆ มีความ
ิ
ั
ั
สัมพันธ์กน และมีความสัมพันธ์กบแหล่งที่
่
อยูในลักษณะของแหล่งอาหาร แหล่งที่อยู่
อาศัย แหล่งสื บพันธุ์ และแหล่งเลี้ยงดูลูก
อ่อน
- ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวตกับสิ่ งมีชีวตใน
ิ
ิ
รู ป ของโซ่อาหาร และสายใยอาหาร ทา
ให้เกิดการถ่ายทอดพลังงานจากผูผลิตสู่
้
ผูบริ โภค
้
่
่
- สิ่ งมีชีวตที่อาศัยอยูในแต่ละแหล่งที่อยูจะมี
ิ
โครงสร้างที่เหมาะสมต่อการดารงชีวตใน
ิ
่ ั
แหล่งที่อยูน้ น และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมเพือหาอาหาร ละมีชีวตอยูรอด
่
แ
ิ ่
-

ม. ๒

-

-

ป. ๖

๑. สารวจและอภิปราย
ความสัมพันธ์ของกลุ่ม
่
สิ่ งมีชีวตในแหล่งที่อยูต่าง ๆ
ิ
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
วันวิทยาศาสตร์
วันวิทยาศาสตร์วันวิทยาศาสตร์
วันวิทยาศาสตร์daonoiiDode
 

Mais procurados (8)

9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
วันวิทยาศาสตร์
วันวิทยาศาสตร์วันวิทยาศาสตร์
วันวิทยาศาสตร์
 

Destaque

Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
ขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯ
ขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯ
ขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯWeerachat Martluplao
 
ไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทย
ไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทยไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทย
ไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทยWeerachat Martluplao
 
การวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้น
การวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้นการวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้น
การวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้นWeerachat Martluplao
 
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพหัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพWeerachat Martluplao
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิต
แผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิตแผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิต
แผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิตWeerachat Martluplao
 
แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51
แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51
แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51Weerachat Martluplao
 
การบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงWeerachat Martluplao
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการพลังงาน 5 w 1h
แผนการจัดการพลังงาน 5 w 1hแผนการจัดการพลังงาน 5 w 1h
แผนการจัดการพลังงาน 5 w 1hWeerachat Martluplao
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
Panistas de doble moral
Panistas de doble moralPanistas de doble moral
Panistas de doble moralGATOlobato
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาWeerachat Martluplao
 
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52Weerachat Martluplao
 

Destaque (20)

Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
ขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯ
ขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯ
ขอแก้ไขบัญชีรายละเอียดแนบท้ายคำสั่งได้รับเงินเดือนสูงกว่าหรือต่ำกว่าขั้นต่ำฯ
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
ไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทย
ไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทยไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทย
ไอซีทีเพื่อปฏิวัติการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และสังคมไทย
 
Ste meducation
Ste meducationSte meducation
Ste meducation
 
การวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้น
การวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้นการวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้น
การวิเคราะห์ทางเทคนิค โดยตลาดหุ้น
 
Solar+trimmer
Solar+trimmerSolar+trimmer
Solar+trimmer
 
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพหัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
หัวข้อ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
แผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิต
แผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิตแผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิต
แผนการจัดการศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิต
 
แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51
แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51
แผนการสอนเรื่อง การเคลื่อนที่ หลักสูตร 51
 
การบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40
 
แผนการจัดการพลังงาน 5 w 1h
แผนการจัดการพลังงาน 5 w 1hแผนการจัดการพลังงาน 5 w 1h
แผนการจัดการพลังงาน 5 w 1h
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
Panistas de doble moral
Panistas de doble moralPanistas de doble moral
Panistas de doble moral
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
 
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
แนวข้อสอบการงานrพื้นฐานอาชีพ 52
 

Semelhante a หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551

การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงWichai Likitponrak
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564PornpenInta
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 

Semelhante a หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551 (20)

Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 

Mais de Weerachat Martluplao

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐWeerachat Martluplao
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานWeerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social MediaWeerachat Martluplao
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationWeerachat Martluplao
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556 แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556 Weerachat Martluplao
 
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go green
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go greenนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go green
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go greenWeerachat Martluplao
 
บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56
บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56
บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56Weerachat Martluplao
 

Mais de Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 
Force and motion
Force and motion Force and motion
Force and motion
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556 แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ครูวีรชาติ ปี 2556
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูวีรชาติ ปี 2556
 
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go green
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go greenนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go green
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ Thailand go green
 
บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56
บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56
บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ งานวันวิทยาศาสตร์ 56
 

หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551

  • 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ิ ทาไมต้ องเรียนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มีบทบาทสาคัญยิงในสังคมโลกปั จจุบนและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้อง ั ่ กับทุกคนทั้งในชีวตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่ องมือเครื่ องใช้และ ิ ผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวตและการทางาน เหล่านี้ลวนเป็ นผลของ ิ ้ ความรู ้วทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์ อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์ได้ ิ พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทกษะสาคัญในการ ั ค้นคว้าหาค วามรู ้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ สามารถตัดสิ นใจโดยใช้ขอมูลที่ ้ หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็ น วัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ ึ งเป็ น สังคมแห่งการเรี ยนรู ้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจาเป็ นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู ้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ ึน สามารถ นาความรู ้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม เรียนรู้ อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยน ได้เรี ยนรู ้วทยาศาสตร์ ที่เน้นการ เชื่อมโยง ิ ั ความรู ้กบกระบวนการ มีทกษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู ้ โดยใช้กระบวนการในการ ั สื บเสาะหาความรู ้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ทุกขั้นตอน มีการ ทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบติจริ งอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กาหนดสาระสาคัญ ั ไว้ดงนี้ ั  สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต สิ่ งมีชีวต หน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต โครงสร้างและ ิ ิ ิ ิ หน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวต และกระบวนการดารงชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ ิ ิ ถ่ายทอดทางพันธุ กรรม การทางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวต วิ วัฒนาการและความหลากหลาย ิ ของสิ่ งมีชีวต และเทคโนโลยีชีวภาพ ิ  ชีวตกับสิ่ งแวดล้อม สิ่ งมีชีวตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตกับ ิ ิ ิ สิ่ งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ ิ ่ ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชา ติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปั จจัยที่มีผลต่อการอยูรอดของ สิ่ งมีชีวตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ิ  สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
  • 2. ๒  แรงและการเคลือนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ ่ ออกแรงกระทาต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสี ยดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน ชีวตประจาวัน ิ  พลังงาน พลังงานกับการดารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของ ิ แสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้ า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า กัมมันตภาพรังสี และปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ  กระบวนการเปลียนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง ่ ธรณี สมบัติทางกายภาพข องดิน หิ น น้ า อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ  ดาราศาสตร์ และอวกาศ วิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผล ั ต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอ าทิ ตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสาคัญของเทคโนโลยี ิ อวกาศ  ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสื บเสาะหา ความรู ้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ิ ั ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ ิ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ในการดารงชีวตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการ และความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี ั ิ ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ ชี วตกับสิ่ งแวดล้อม ิ มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต ิ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ ิ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนาความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยังยืน ่
  • 3. ๓ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้าใจสมบัติของ สาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละล าย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๔ แรงและการเคลือนที่ ่ มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและ ิ สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๖ กระบวนการเปลียนแปลงของโลก ่ มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์ และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗. ๑ เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ ั สุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้และจิตวิทยา ิ ศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
  • 4. ๔ มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหา ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมี คุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ การ ่ แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้ นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน ่ สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ ้ ั เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ม คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓  เข้าใจลักษณะทัวไปของสิ่ งมี ชีวต และการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวตที่หลากหลายใน ิ ิ ิ ่ สิ่ งแวดล้อมท้องถิ่น  เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รู ปของ พลังงาน  เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิ น น้ า อากาศ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว  ตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวต วัสดุและสิ่ งของ และปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต สารวจ ิ ตรวจสอบโดยใช้เครื่ องมืออย่างง่าย และสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ดวยการเล่าเรื่ อง เขียน หรื อวาดภาพ ้  ใช้ความรู ้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวต การศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม ิ ทาโครงงานหรื อชิ้นงานตามที่กาหนดให้ หรื อตามความสนใจ  แสดงความกระตือรื อร้น สนใจที่จะเรี ยนรู ้ และแสดงความซาบซึ้ งต่อสิ่ งแวดล้อมรอบตัว แสดงถึงความมีเมตตา ความระมัดระวังต่อสิ่ งมีชีวตอื่น ิ  ทางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมัน รอบคอบ ประหยัด ซื่ อสัตย์ จนเป็ นผลสาเร็ จ ่ และทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างมีความสุ ข ้ จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖  เข้าใจโครงสร้างและการทางานของระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวต และความสัมพันธ์ของ ิ สิ่ งมีชีวตที่หลากหลายในสิ่ งแวดล้อมที่แตกต่างกัน ิ
  • 5. ๕  เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทาให้ สารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวตประจาวัน การแยกสารอย่างง่าย ิ  เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทากับวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้นของแสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้ า  เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวง อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผลต่อการเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ  ตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผนและสารวจ ตรวจสอบโดยใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ขอมูล และสื่ อสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบ ้  ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวต และการศึกษาคว ามรู ้เพิ่มเติม ิ ทาโครงงานหรื อชิ้นงานตามที่กาหนดให้หรื อตามความสนใจ  แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน รับผิดชอบ รอบคอบและซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้ ่  ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกย่อง และ ิ เคารพสิ ทธิในผลงานของผูคิดค้น ้  แสดงถึงความซ าบซึ้ ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า  ทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ ้ คิดเห็นของผูอื่น ้ จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓  เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สาคัญของเซลล์ สิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของการทางาน ิ ของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ สิ่ งมีชีวต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตใน ิ ิ ิ สิ่ งแวดล้อม  เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบ ริ สุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน รู ปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี  เข้าใจแรงเสี ยดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวตประจาวัน กฎการ ิ อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง  เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณทางไฟฟ้ า หลักการต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน พลังงาน ไฟฟ้ าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
  • 6. ๖  เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปั จจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุ ริยะ และผลที่มีต่อสิ่ งต่างๆ บนโลก ความสาคัญ ของเทคโนโลยีอวกาศ ั  เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ กบเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ  ตั้งคาถามที่มีการกาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผน และลงมือสารวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้  สื่ อสารความคิด ความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรื อใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ  ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวต การศึกษาหา ิ ความรู ้เพิ่มเติม ทาโครงงานหรื อสร้างชิ้นงานตามความสนใจ  แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้ ่ โดยใช้ เครื่ องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้  ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวตประจาวันและการ ิ ิ ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิ ทธิในผลงานของผูคิดค้น ้  แสดงถึงความซาบซึ้ ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า มีส่วนร่ วมในการพิทกษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมใน ั ท้องถิ่น  ทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของต นเองและยอมรับฟังความ ้ คิดเห็นของผูอื่น ้ จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖  เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่ งมีชีวต ิ  เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุ กรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ั ิ ่ ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวตและปั จจัยที่มีผลต่อการอยูรอดของสิ่ งมีชีวตในสิ่ งแวดล้อมต่างๆ ิ ิ  เข้าใจกระบวนการ ความสาคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่ งมีชีวตและ ิ สิ่ งแวดล้อม  เข้าใจชนิดของอนุภาคสาคัญที่เป็ นส่ วนประกอบในโครงสร้างอะตอม การจัดเรี ยงธาตุใน ตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ั  เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กบ แรงยึดเหนี่ยว
  • 7. ๗  เข้าใจการเกิดปิ โตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการกลันลาดับส่ วนน้ ามันดิบ การนา ่ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์และผลต่อสิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ  เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สาคัญของพอลิเมอร์ และสารชีวโมเลกุล  เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่างๆ สมบัติของคลื่นกล คุณภาพของเสี ยงและการได้ยน สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า กัมมันตภาพรังสี ิ และพลังงานนิวเคลียร์  เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณี ที่มีผลต่อสิ่ งมีชีวตและ ิ สิ่ งแวดล้อม  เข้าใจการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี เอกภพและความสาคัญของ ั เทคโนโลยีอวกาศ  เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู ้วทยาศาสตร์ ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภ ทต่างๆ ิ ้ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ที่กาวหน้า ผลของเทคโนโลยี ต่อชีวต สังคม และสิ่ งแวดล้อม ิ  ระบุปัญหา ตั้งคาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรต่างๆ สื บค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็ นไปได้ หลายแนวทาง ตัดสิ นใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่เป็ นไปได้  วางแผนการสารวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรื อตอบคาถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ หรื อสร้างแบบจาลองจากผลหรื อความรู ้ ที่ได้รับจากการสารวจตรวจสอบ  สื่ อสารความคิด ความรู้จากผ ลการสารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรื อใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ  ใช้ความรู ้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวต การศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม ิ ทาโครงงานหรื อสร้างชิ้นงานตามความสนใจ  แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน รับผิดชอบ รอบคอบและซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้ ่ โดยใช้เครื่ องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้  ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวตประจาวัน การ ิ ิ ประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็ นผลจากภูมิปัญญา ท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทนสมัย ั  แสดงความซาบซึ้ ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า เสนอตัวเองร่ วมมือปฏิบติกบชุมชนในการป้ องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ั ั และสิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่น  แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู ้ พบคาตอบ หรื อแก้ปัญหาได้
  • 8. ๘  ทางานร่ วมกับผูอื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอ้างอิงและเหตุผล ้ ้ ประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใช้วทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม ิ และสิ่ งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอื่น ้
  • 9. ๙ ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง ั สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ิ ั ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ ิ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ในการดารงชีวตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวต ิ ิ ชั้น ป. ๑ ป. ๒ ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ๑. เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่าง - สิ่ งมีชีวตมีลกษณะแตกต่างจากสิ่ งไม่มีชีวต ิ ั ิ สิ่ งมีชีวตกับสิ่ งไม่มีชีวต ิ ิ โดยสิ่ งมีชีวตจะมีการเคลื่ อนที่ กินอาหาร ิ ขับถ่าย หายใจ เจริ ญเติบโต สื บพันธุ์ และ ตอบสนองต่อสิ่ งเร้า แต่สิ่งไม่มีชีวตจะไม่มี ิ ลักษณะดังกล่าว ๒. สังเกตและอธิบายลักษณะและ - โครงสร้างภายนอกของพืชได้แก่ ราก หน้าที่ของโครงสร้างภายนอก ลาต้น ใบ ดอกและผล แต่ละส่ วนทา ของพืชและสัตว์ หน้าที่ต่างกัน - โครงสร้างภายนอกของสัตว์ ได้แก่ ตา หู จมูก ปาก เท้า และขา แต่ละส่ วนทาหน้าที่ แตกต่างกัน ๓. สังเกตและอธิบายลักษณะ - อวัยวะภายนอกของมนุษย์มีลกษณะและ ั หน้าที่ และความสาคัญ ของ หน้าที่ แตกต่างกัน อวัยวะเหล่านี้มี อวัยวะภายนอกของมนุษย์ ความสาคัญต่อการดารงชีวต จึงต้องดูแล ิ ตลอดจนการดูแลรักษาสุ ขภาพ รักษาและป้ องกันไม่ให้อวัยวะเหล่านั้น ได้รับอันตราย ๑. ทดลองและอธิ บาย น้ า แสง เป็ น - พืชต้องการน้ า และแสง ในการเจริ ญเติบโต ปั จจัยที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต ิ และการดารงชีวต ิ ของพืช ๒. อธิ บายอาหาร น้ า อากาศ เป็ น - พืชและสัตว์ตองการอาหาร น้ า อากาศ เพื่อ ้ ปั จจัยที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต ิ การดารงชีวตดารงชีวตและการเจริ ญเติบโต ิ ิ และการเจริ ญเติบโตของพืชและ - นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดูแลพืช สัตว์และนาความรู้ไปใช้ และสัตว์เพื่อให้เจริ ญเติบโตได้ดี ประโยชน์
  • 10. ๑๐ ชั้น ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ๓. สารวจและอธิบาย พืชและสัตว์ สามารถตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส ๔. ทดลองและอธิ บาย ร่ างกายของ มนุษย์สามารถ ตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส ๕. อธิบาย ปั จจัยที่จาเป็ นต่อการ ดารงชีวต และการเจริ ญเติบโต ิ ของมนุษย์ ๑. ทดลองและอธิบาย หน้าที่ของ ท่อลาเลียงและ ปากใบของพืช ๒. อธิบาย น้ า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงและคลอโรฟิ ลล์ เป็ นปัจจัยที่ จาเป็ นบางประการต่อ การ เจริ ญเติบโต และการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช ๓. ทดลองและอธิบาย การ ตอบสนองของพืชต่อแสง เสี ยง และการสัมผัส ๔. อธิบายพฤติกรรมของสัตว์ที่ ตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ การสัมผัส และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ๑. สังเกตและระบุส่วนประกอบ ของดอกและโครงสร้างที่ เกี่ยวข้องกับการสื บพันธุ์ของพืช ดอก พืชและสัตว์มีการตอบสนองต่อ แสง อุณหภูมิ และการสัมผัส ร่ างกายมนุ ษย์สามารถตอบสนองต่อ แสง อุณหภูมิและการสัมผัส มนุษย์ตองการอาหาร น้ า อากาศ เพื่อการ ้ ดารงชีวตและการเจริ ญเติบโต ิ - ภายในลาต้นของพืชมีท่อลาเลียง เพื่อลาเลียง น้ าและอาหาร และในใบมีปากใบทาหน้าที่คายน้ า - ปั จจัยที่สาคัญต่อการเจริ ญ เติบโต และ การสังเคราะห์ดวยแสงของพืช ได้แก่ น้ า ้ แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ แสง และ คลอโรฟิ ลล์ - พืชมีการตอบสนองต่อแสง เสี ยง และการ สัมผัส ซึ่งเป็ นสภาพแวดล้อมภายนอก - พฤติกรรมของสัตว์ เป็ นการแสดงออก ของสัตว์ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อตอบสนอง ต่อสิ่ งเร้า เช่น แสง อุณหภูมิ การสัมผัส - นาความรู ้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ไปใช้ ประ โยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อมให้ เหมาะสม กับการดารงชีวตของสัตว์ และ ิ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร - ดอกโดยทัว ไปประกอบด้วย กลีบเลี้ยง ่ กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย - ส่ วนประกอบของดอกที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้อง กับการสื บพันธุ์ ได้แก่ เกสรเพศเมีย
  • 11. ๑๑ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ๒. อธิบายการสื บพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืช และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ - ๓. อธิบายวัฏจักรชีวตของพืชดอก ิ บางชนิด - ๔. อธิบายการสื บพันธุ์และการ ขยายพันธุ์ของสัตว์ - - - ๕. อภิปรายวัฏจักรชีวตของสัตว์ ิ บางชนิด และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - - ป. ๖ ๑. อธิบายการเจริ ญเติบโตของมนุษย์ จากวัยแรกเกิดจนถึงวัยผูใหญ่ ้ ประกอบด้วย รังไข่ ออวุล และเกสร เพศผู้ ประกอบด้วยอับเรณูและละอองเรณู พืชดอกมีการสื บพันธุ์ท้ ั งแบบอาศัยเพศ และการสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิมปริ มาณและ ่ คุณภาพ ของพืช ทาได้หลายวิธี โดยการเพาะ เมล็ด การปั กชา การตอนกิ่งการติดตา การ ทาบกิ่ง การเสี ยบยอด และการเพาะเลี้ยง เนื้อเยือ ่ พืชดอกเมื่อเจริ ญเติบโตเต็มที่จะออกดอก ดอกได้รับการผสมพันธุ์กลายเป็ นผล ผลมี เมล็ด ซึ่ งสามารถงอกเป็ นต้นพืชต้นใหม่ หมุนเวียนเป็ นวัฏจักร สัตว์มีการสื บพั นธุ์แบบอาศัยเพศและการ สื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การขยายพันธุ์สัตว์โดยวิธีการคัดเลือกพันธุ์ และการผสมเทียม ทาให้มนุษย์ได้สัตว์ที่มี ปริ มาณและคุณภาพตามที่ตองการ ้ สัตว์บางชนิด เช่น ผีเสื้ อ ยุง กบ เมื่อไข่ ได้รับ การผสมพันธุ์จะเจริ ญเป็ นตัวอ่อน และตัวอ่อน เจริ ญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัย จนกระทังสามารถสื บพันธุ์ได้ หมุนเวียน ่ เป็ นวัฏจักร มนุษย์นาความรู ้เกี่ยวกับวัฏจักรชีวตของ ิ สัตว์ มาใช้ประโยชน์มากมาย ทั้งทางด้าน การเกษตร การอุตสาหกรรม และการดูแล รักษาสิ่ งแวดล้อม มนุษย์มีการเจริ ญเติบโตและมีการ เปลี่ยนแปลง ทางด้านร่ างกายตั้งแต่แรกเกิด จนเป็ นผูใหญ่ ้
  • 12. ๑๒ ชั้น ตัวชี้วด ั ั ๒. อธิ บายการทางานที่สัมพันธ์กน ของระบบย่อยอาหาร ระบบ หายใจ และระบบหมุนเวียน เลือดของมนุษย์ ๓. วิเคราะห์สารอาหารและอภิปราย ความจาเป็ นที่ร่างก ายต้องได้รับ สารอาหารในสัดส่ วนที่เหมาะสมกับ เพศและวัย ม. ๑ ๑. สังเกตและอธิบายรู ปร่ าง ลักษณะ ของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์ ิ เดียวและเซลล์ของสิ่ งมีชีวต ิ หลายเซลล์ ๒. สังเกตและเปรี ยบเทียบส่ วนประกอบ สาคัญของเซลล์พชและเซลล์สัตว์ ื ๓. ทดลองและอธิบายหน้าที่ของ ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ พืชและเซลล์สัตว์ ๔. ทดลองและอธิบายกระบวนการ สารผ่านเซลล์ โดยการแพร่ และออสโมซิส สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ่ - ระบบย่อยอาหาร ทาหน้าที่ยอยอาหาร ให้เป็ นสารอาหารขนาดเล็กแล้วจะถูกดูดซึม เข้าสู่ ระบบหมุนเวียนเลื อด แก๊สออกซิ เจน ที่ได้จากระบบ หายใจจะทาให้ สารอาหาร เกิดการเปลี่ยนแปลง จนกลายเป็ นพลังงาน ที่ร่างกายนาไปใช้ได้ - สารอาหาร ได้แก่ โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต ไขมัน แร่ ธาตุ วิตามิน และน้ า มีความ จาเป็ นต่อร่ างกาย มนุษย์จาเป็ นต้องได้รับ สารอาหารในสัดส่ วนที่เหมาะสมกับเพศ และวัยเพื่อ การ เจริ ญเติบโตและการ ดารงชีวต ิ - เซลล์ของสิ่ งมีชีวตเซลล์เดียว และเซลล์ ิ ของ สิ่ งมีชีวตหลายเซลล์ เช่น เซลล์พืช ิ และเซลล์สัตว์มีรูปร่ าง ลักษณะแตกต่างกัน - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยือหุมเซลล์ ่ ้ เป็ นส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์ที่ เหมือนกันของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ - ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็ น ส่ วนประกอบ ที่พบได้ในเซลล์พืช - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว ่ ้ โอล เป็ น ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือหุมเซลล์ แวคิว ่ ้ โอล ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็ น ส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืช มีหน้าที่ แตกต่างกัน - การแพร่ เป็ นการเคลื่อนที่ของสาร จาก บริ เวณที่มีความเข้มข้นสู งไปสู่ บริ เวณที่มี ความเข้มข้นต่า
  • 13. ๑๓ ชั้น ตัวชี้วด ั ๕. ทดลองหาปัจจัยบางประการที่ จาเป็ นต่อการสังเคราะห์ดวย ้ แสงของพืช และอธิ บายว่าแสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้ า เป็ นปั จจัยที่ จาเป็ นต้องใช้ในการสังเคราะห์ ด้วยแสง ๖. ทดลองและอธิบายผลที่ได้จาก การสังเคราะห์ดวยแสงของพืช ้ ๗. อธิบายความสาคัญของกระบวนการ สังเคราะห์ดวยแสงของพืชต่อ ้ สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ ๘. ทดลองและอธิ บายกลุ่มเซลล์ที่ เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้ าของ พืช ๙. สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่ เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้ าและ อาหารของพืช สาระการเรียนรู้ แกนกลาง - ออสโมซิ สเป็ น การเคลื่อนที่ของน้ าผ่านเข้า และออกจากเซลล์ จากบริ เวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่าไปสู่ บริ เวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสู ง โดยผ่านเยือ ่ เลือกผ่าน - แสง คลอโรฟิ ลล์ แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ และน้ า เป็ นปั จจัยที่จาเป็ นต่อกระบวนการ สังเคราะห์ดวยแสงของพืช ้ - น้ าตาล แก๊สออกซิ เจนและน้ า เป็ น ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช - กระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงมี ้ ความสาคัญต่อการดารงชีวตของสิ่ งมีชีวต ิ ิ และต่อสิ่ งแวดล้อมใน ด้านอาหาร การ หมุนเวียนของแก๊สออกซิ เจนและแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ - เนื้อเยือลาเลียงน้ าเป็ นกลุ่มเซลล์เฉพาะเรี ยง ่ ต่อเนื่องกันตั้งแต่ราก ลาต้น จนถึงใบ ทา หน้าที่ ในการลาเลียงน้ าและธาตุอาหาร - เนื้อเยือลาเลียงน้ าและเนื้อเยือลาเลียงอาหาร ่ ่ ่ เป็ นกลุ่มเซลล์ที่อยูคู่ ขนานกันเป็ นท่อ ลาเลียง จากราก ลาต้นถึงใบ ซึ่งการ จัดเรี ยงตัวของท่อลาเลียงในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่จะแตกต่างกัน - เนื้อเยือลาเลียงน้ า ทาหน้าที่ในการลาเลียง ่ น้ าและธาตุอาหารจากรากสู่ ใบ ส่ วน
  • 14. ๑๔ ชั้น ตัวชี้วด ั ๑๐. ทดลองและอธิบายโครงสร้าง ของ ดอกที่เกี่ยวข้องกั บการสื บพันธุ์ ของพืช ๑ ๑. อธิบายกระบวนการสื บพันธุ์ แบบอาศัยเพศของพืชดอกและ การสื บพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของ พืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ๑๒ . ทดลองและอธิบายการ ตอบสนองของพืช ต่อแสง น้ า และการสัมผัส ๑๓. อธิบายหลักการและผลของ การใช้เทคโนโลยี ชีวภาพใน การขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง เนื้อเยือลาเลียงอาหารทาหน้าที่ลาเลียง ่ อาหารจากใบสู่ ส่วนต่างๆ ของพืช - การคายน้ ามีส่วนช่วยในการลาเลียงน้ าของ พืช - เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเป็ นโครงสร้าง ้ ที่ใช้ในการสื บพันธุ์ของพืชดอก - กระบวนการสื บพันธุ์แบบอา ศัยเพศของพืช ดอกเป็ นการปฏิสนธิ ระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ เพศผูและเซลล์ไข่ในออวุล ้ - การแตกหน่อ การเกิดไหล เป็ นการสื บพันธุ์ ของพืช แบบไม่อาศัยเพศ โดยไม่มีการ ปฏิสนธิ - ราก ลาต้น ใบ และกิ่งของพืชสามารถนาไปใช้ ขยายพันธุ์พืชได้ - พืชตอบสนองต่อสิ่ งเร้าภายนอก โดยสังเกต ได้จากการเคลื่อนไหวของส่ วนประกอบ ของพืช ที่มีต่อแสง น้ า และการสัมผัส - เทคโนโลยีชีวภาพ เป็ นการใช้เทคโนโลยี เพื่อ ทาให้สิ่งมีชีวตหรื อองค์ประกอบของ ิ สิ่ งมีชีวต มีสมบัติตามต้องการ ิ - การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือพืช พันธุ วศวกรรม ่ ิ เป็ นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการ ขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ และเพิ่มผลผลิต ของพืช
  • 15. ๑๕ ชั้น ม. ๒ ตัวชี้วด ั ๑. อธิบายโครงสร้างและการ ทางานของระบบ ย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบ สื บพันธุ์ ของมนุษย์และสัตว์ รวมทั้งระบบประสาทของ มนุษย์ ๒. อธิบายความสัมพันธ์ของระบบ ต่างๆ ของ มนุษย์และนาคว ามรู้ ไปใช้ประโยชน์ ๓. สังเกตและอธิบายพฤติกรรม ของมนุษย์และสัตว์ที่ตอบสนอง ต่อสิ่ งเร้าภายนอกและภายใน ๔. อธิบายหลักการและผลของการ ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ ขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ และ เพิ่มผลผลิตของสัตว์และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๕. ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบาย สารอาหารในอาหารมีปริ มาณ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง - ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสื บพันธุ์ และระบบประสาทของม นุษย์ ในแต่ละ ระบบ ประกอบด้วยอวัยวะหลายชนิดที่ ทางานอย่างเป็ นระบบ - ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสื บพันธุ์ ของสัตว์ ประกอบด้วยอวัยวะหลายชนิดที่ ทางานอย่าง เป็ นระบบ - ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสื บพันธุ์ ของมนุษย์ในแต่ละระบบมีการทางานที่ ั สัมพันธ์กนทาให้มนุษย์ดารงชีวตอยูได้ ิ ่ อย่างปกติ ถ้าระบบใดระบบหนึ่งทางาน ผิดปกติ ย่อมส่ งผลกระทบต่อระบบอื่นๆ ดังนั้นจึงต้องมีการดูแลรักษาสุ ขภาพ - แสง อุณหภูมิ และการสัมผัส จัดเป็ นสิ่ งเร้า ภายนอก ส่ วนการเปลี่ยนแปลงระดับสาร ใน ร่ างกาย เช่น ฮอร์ โมน จัดเป็ นสิ่ งเร้า ภายใน ซึ่ งทั้ง สิ่ งเร้าภายนอก และสิ่ งเร้า ภายในมีผลต่อมนุษย์และสัตว์ ทาให้แสดง พฤติกรรมต่างๆ ออกมา - เทคโนโลยีชีวภาพเป็ นการใช้เทคโนโลยี เพื่อ ทาให้สิ่งมีชี วิตหรื อองค์ประกอบของ สิ่ งมีชีวต มีสมบัติตามต้องการ ิ - การผสมเทียม การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน เป็ นการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ ขยายพันธุ์ ปรับปรุ งพันธุ์ และเพิ่มผลผลิต ของสัตว์ - แป้ ง น้ าตาล ไขมัน โปรตีน วิตามินซี เป็ น สารอาหารและสามารถทดสอบได้
  • 16. ๑๖ ชั้น ตัวชี้วด ั พลังงานและสัดส่ วนที่ เหมาะสมกับเพศและวัย ๖. อภิปราย ผลของสารเสพติดต่อ ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย และ แนวทางในการป้ องกันตนเอง จากสารเสพติด ม.๓ ม. ๔-ม. ๖ ๑. ทดลองและอธิบายการรักษา ดุลยภาพของเซลล์ของสิ่ งมีชีวต ิ ๒. ทดลองและอธิบายกลไกการ รักษาดุลยภาพของน้ าในพืช ๓. สื บค้นข้อมูลและอธิบายกลไก การควบคุมดุลยภาพของน้ า สาระการเรียนรู้ แกนกลาง - การบริ โภคอาหาร จาเป็ นต้องให้ได้ สารอาหาร ที่ครบถ้วนในสัดส่ วนที่เหมาะสม กับเพศและวัย และได้รับปริ มาณพลังงานที่ เพียงพอกับความต้องการของร่ างกาย - สารเสพติดแต่ละประเภทมีผลต่อระบบต่างๆ ของร่ างกาย ทาให้ระบบเหล่านั้นทาหน้าที่ ผิดปกติ ดังนั้นจึงต้องหลีกเลี่ยงการใช้สาร เสพติด และ หาแนวทางในการป้ องกันตนเอง จาก สารเสพติด ่ - สารต่าง ๆ เคลื่อนที่ผานเข้าและออกจาก เซลล์ ตลอดเวลา เซลล์จึงต้องมีการรักษา ดุลยภาพ เพื่อให้ร่างกายของสิ่ งมีชีวต ิ ดารงชีวตได้ตามปกติ ิ - เซลล์มีการลาเลียงสารผ่านเซลล์โดย วิธีการแพร่ การออสโมซิส การลาเลียงแบบฟาซิลิเทต การลาเลียงแบบใช้พลังงาน และการ ลาเลียงสารขนาดใหญ่ - สิ่ งมีชีวตเซลล์เดียวมีการลาเลียงสารเกิดขึ้น ิ ภายในเซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ แต่สิ่งมีชีวต ิ หลายเซลล์ตองอาศัยการทางานประสานกัน ้ ของเซลล์จานวนมาก - พืชมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ า โดยมี การควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ า ผ่านปากใบ และการดูดน้ าที่ราก - การเปิ ดปิ ดของปากใบเป็ นการควบคุมอัตรา การคายน้ าของพืช ซึ่ งช่วยในการรักษาดุลย ภาพของน้ าภายในพืชให้มีความชุ่ มชื้นใน ระดับที่พอเหมาะ - ไตเป็ นอวัยวะสาคัญในการรักษาดุลยภาพ ของน้ าและสารต่าง ๆ ในร่ างกาย ซึ่ งมี
  • 17. ๑๗ ชั้น ตัวชี้วด ั แร่ ธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย์ และสัตว์อื่น ๆ และนาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง - - - - - - ๔. อธิ บายเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน ้ ของร่ างกายและนาความรู ้ไปใช้ ในการดูแลรักษาสุ ขภาพ - - โครงสร้างและการทางานร่ วมกับอวัยวะอื่น ่ ภายในไตมีหน่วยไต ของเหลวที่ผานเข้าสู่ หน่วยไตส่ วนหนึ่งจะถูกดูดซึ มกลับสู่ หลอด เลือด ส่ วนที่ไม่ถูกดูดซึ มกลับจะผ่านไปยัง ท่อปั สสาวะ ยูเรี ย โซเดียมไอออน และคลอไรด์ไอออน เป็ นของเสี ยจากกระบวนการเมแทบอลิซึม จะถูกขับออกจากไตไปพร้อมกับปั สสาวะ อะมีบาและพารามีเซี ยมเป็ นสิ่ งมีชีวตเซลล์ ิ เดียวที่มีโครงสร้างภายในเซลล์ที่เรี ยกว่า คอนแทร็ กไทล์แวคิวโอลในการกาจัดน้ า และของเสี ยออกจากเซลล์ ปลาน้ าจืดมีเซลล์บริ เวณเหงือกที่น้ าเข้าสู่ ร่ างกาย ได้โดยการออสโมซิ ส ส่ วนปลา น้ าเค็มป้ องกันการสู ญเสี ยน้ าออกจาก ร่ างกายโดยมีผวหนังและเกล็ดที่ป้องกัน ิ ไม่ให้แร่ ธาตุจากน้ าทะเลซึ มเข้าสู่ ร่างกาย และที่บริ เวณเหงือกมีกลุ่มเซลล์ซ่ ึ งขับแร่ ธาตุส่วนเกินออกโดยวิธีการลาเลียงแบบใช้ พลังงาน มนุษย์มีกลไกในการควบคุมอุณหภูมิของ ่ ร่ างกายให้อยูในสภาวะที่เหมาะสม โดยศูนย์ ควบคุมอุณหภูมจะอยูที่สมองส่ วนไฮโพทาลามัส ิ ่ สัตว์เลือดอุ่นสามารถรักษาอุณหภูมิของ ร่ างกาย ให้เกือบคงที่ได้ในสภาวะแวดล้อม ต่าง ๆ ส่ วนสัตว์เลือดเย็น อุณหภูมิร่างกาย จะแปรผันตามอุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อม ร่ างกายมนุษย์ มีภูมิคุมกันซึ่ งเป็ นกลไก ้ ในการป้ องกันเชื้อโรคหรื อสิ่ งแปลกปลอม เข้าสู่ ร่างกาย ผิวหนัง เซลล์เม็ดเลือดขาวและระบบ
  • 18. ๑๘ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง - น้ าเหลืองเป็ นส่ วนสาคัญของร่ างกายที่ทา หน้าที่ป้องกันและทาลายเชื้อโรคและสิ่ ง แปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย ระบบภูมิคุมกันมีความสาคัญยิงต่อร่ างกาย ้ ่ มนุษย์การรับประทานอาหารที่ถูก สุ ขลักษณะ การออกกาลังกา ย การดูแล สุ ขอนามัย ตลอดจนการ หลีกเลี่ยงสารเสพ ติด และพฤติกรรมที่เสี่ ยงทางเพศ และการ ได้รับวัคซี นในการป้ องกันโรคต่าง ๆ ครบ ตามกาหนด จะช่วยเสริ มสร้างภูมิคุมกันและ ้ รักษาภูมิคุมกันของร่ างกายได้ ้
  • 19. ๑๙ สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดารงชีวต ิ ิ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี ั ิ ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ป. ๑ ป. ๒ ตัวชี้วด ั ๑. ระบุลกษณะของสิ่ งมีชีวตใน ั ิ ท้องถิ่นและนามาจัดจาแนก โดยใช้ลกษณะภายนอกเป็ น ั เกณฑ์ ๑. อธิบายประโยชน์ของพืชและ สัตว์ในท้องถิ่น - - ป. ๔ ๑. อภิปรายลักษณะต่างๆ ของ สิ่ งมีชีวตใกล้ตว ิ ั ๒. เปรี ยบเทียบและระบุลกษณะ ั ั ที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กบลูก ๓. อธิ บายลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ั ของพ่อแม่กบลูกว่าเป็ นการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ - ๔. สื บค้นข้อมูลและอภิปราย เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวตบางชนิดที่ ิ สูญพันธุ์ไปแล้ว และที่ดารงพันธุ์ มาจนถึงปัจจุบน (ว ๑.๒.๓) ั ป. ๓ - - - - - - สาระการเรียนรู้ แกนกลาง สิ่ งมีชีวตในท้องถิ่นจะมีท้ งลักษณะที่ ิ ั เหมือนกัน และแตกต่างกัน ซึ่งสามารถ นามาจาแนกโ ดยใช้ ลกษณะภายนอกเป็ น ั เกณฑ์ พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ของ ่ ปั จจัยสี่ คือ เป็ นอาหาร ที่อยูอาศัย เครื่ องนุ่งห่ม และยารักษาโรค สิ่ งมีชีวตแต่ละชนิดจะมีลกษณะแตกต่าง ิ ั กัน สิ่ งมีชีวตทุกชนิดจะมีลกษณะภายนอกที่ ิ ั ปรากฏคล้ายคลึงกับพ่อแม่ของสิ่ งมี วตชนิดนั้น ชี ิ ลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่ กับลูกเป็ นการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม มนุษย์นาความรู ้ที่ได้เกี่ยวกับการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมมาใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาสายพันธุ์ของพืชและสัตว์ สิ่ งมีชีวตที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับ ิ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้ ก็จะ สู ญพันธุ์ไปในที่สุด สิ่ งมีชีวตที่สามารถปรับตัวเข้ากับ ิ สภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไปได้ จะ ่ สามารถอยูรอดและดารงพันธุ์ต่อไป
  • 20. ๒๐ ชั้น ป. ๕ ตัวชี้วด ั ๑. สารวจ เปรี ยบเทียบ และระบุ ลักษณะของตนเอง กับคนใน ครอบครัว ๒. อธิ บายการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุ กรรมของสิ่ งมีชีวต ิ ในแต่ละรุ่ น ๓. จาแนกพืชออกเ ป็ นพืชดอก และพืชไม่มีดอก ๔. ระบุลกษณะของพืชดอกที่ ั เป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืช ใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ลกษณะ ั ภายนอกเป็ นเกณฑ์ ๕. จาแนกสัตว์ออกเป็ นกลุ่มโดย ใช้ลกษณะภายในบางลักษณะ ั และลักษณะภายนอกเป็ น เกณฑ์ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง - ลักษณะของตนเองจะคล้ายคลึงกับคนใน ครอบครัว - การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรมเป็ น การถ่ายทอดลักษณะบางลักษณะจากบรรพ บุรุษสู่ ลูกหลาน ซึ่งบางลักษณะจะเหมือน พ่อหรื อเหมือนแม่ หรื ออาจมีลกษณะ ั เหมือน ปู่ ย่า ตา ยาย - พืชแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ พืชดอก กับพืชไม่มีดอก - พืชดอกแบ่งออกเป็ น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับ พืชใบเลี้ยงคู่ โดยสังเกตจาก รา ก ลาต้น และใบ ป. ๖ - - การจาแนกสัตว์เป็ นกลุ่ม โดยใช้ลกษณะ ั ภายนอกและลัก ษณะภายในบางลักษณะ เป็ นเกณฑ์แบ่ง ออกได้เป็ นสั ตว์มีกระดูก สันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง - สัตว์มีกระดูกสั นหลังแบ่งเป็ นกลุ่มปลา สัตว์ครึ่ งน้ าครึ่ งบก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ ปี ก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม - ม. ๑ - - ม. ๒ - - ม. ๓ ๑. สังเกตและอธิบายลักษณะ ของโครโมโซมที่มีหน่วย พันธุกรรมหรื อยีนใน นิวเคลียส ่ - เมื่อมองเซลล์ผานกล้องจุลทรรศน์จะเห็น ่ เส้นใยเล็กๆ พันกันอยูในนิวเคลียส เมื่อเกิด การแบ่ง เซลล์ เส้นใยเหล่านี้จะขดสั้นเข้า จนมีลกษณะเป็ นท่อนสั้น เรี ยกว่า ั โครโมโซม
  • 21. ๒๑ ชั้น ตัวชี้วด ั ๒. อธิบายความสาคัญของสาร พันธุกรรมหรื อดีเอ็นเอ และ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม - ๓. อภิป รายโรคทางพันธุกรรมที่ เกิดจากความผิดปกติของยีน และโครโมโซมและนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ - - - - ๔. สารวจและ อธิบายความ หลากหลายทางชีวภาพใน ท้องถิ่นที่ทาให้สิ่งมีชีวต ิ ดารงชีวตอยูได้อย่างสมดุล ิ ่ - ๕. อธิบายผลของความ หลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อ มนุษย์ สัตว์ พืช และ สิ่ งแวดล้อม - - สาระการเรียนรู้ แกนกลาง โครโมโซมประกอบด้วยดีเอ็นเอและ โปรตีน ยีนหรื อหน่วยพันธุ กรรมเป็ นส่ วนหนึ่งที่อยู่ บนดีเอ็นเอ เซลล์หรื อสิ่ งมีชีวต มีสารพันธุกรรมหรื อ ิ ดีเอ็นเอที่ควบคุมลักษณะของการ แสดงออก ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีน จากพ่อและแม่สามารถถ่ายทอดสู่ ลูกผ่าน ทางเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เป็ นโรคทาง พันธุ กรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีน กลุ่มอาการดาวน์เป็ นความผิดปกติของ ร่ างกาย ซึ่ งเกิดจากการที่มีจานวน โครโมโซมเกินมา ความรู้เ กี่ยวกับโรคทางพันธุ กรรมสามารถ นาไปใช้ในการป้ องกันโรค ดูแลผูป่วยและ ้ วางแผนครอบครัว ความหลากหลายทางชีวภาพที่ทาให้ ่ ั สิ่ งมีชีวตอยูอย่างสมดุล ขึ้นอยูกบความ ิ ่ ห ลากหลายของระบบนิเวศ ความ หลากหลายของชนิดสิ่ งมีชีวต และความ ิ หลากหลายทางพันธุกรรม การตัดไม้ทาลายป่ าเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ เกิดการสู ญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อการดารงชีวตของมนุษย์ ิ สัตว์ พืชและสิ่ งแวดล้อม การใช้สารเคมีในการกาจัดศัตรู พืช และสัตว์ ส่ งผลกระทบต่อสิ่ งมีชีวตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช ิ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความหลากหลาย ทางชีวภาพและส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
  • 22. ๒๒ ชั้น ตัวชี้วด ั ๖. อภิปรายผลของเทคโนโลยี วภาพ ชี ต่อกา รดารงชีวตของมนุษย์ ิ และสิ่ งแวดล้อม ม. ๔-ม. ๖ ๑. อธิ บายกระบวนการถ่ายทอด สารพันธุกรรม การแปรผัน ทางพันธุกรรม มิวเทชัน และ การเกิดความหลากหลายทาง ชีวภาพ - - - - - ๒. สื บค้นข้อมูลและอภิปรายผล ของเทคโนโลยี ชีวภาพที่มี ต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อมและ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ - - สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มีประโยชน์ต่อ มนุษย์ ทั้งด้านการแพทย์ การเกษตรและ อุตสาหกรรม สิ่ งมีชีวต มีการถ่ายทอดลักษณะทาง ิ พันธุ กรรม จากพ่อแม่มาสู่ รุ่นลูกหลานได้ ซึ่งสังเกตได้จากลักษณะที่ปรากฏ ดีเอ็นเอเป็ นนิวคลีโอไทด์สายยาวสองสายพัน กันเป็ นเกลียวคู่วนขวา แต่ละสาย ประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์นบล้านหน่วย ซึ่ ง ั มีโครงสร้างประกอบด้วยน้ าตาลเพนโทส ไนโตรเจนเบสสี่ ชนิดและหมู่ฟอสเฟต โดยที่ ลาดับเบสของนิวคลีโอไทด์จะมีขอมูลทาง ้ พันธุ กรรมบันทึกอยู่ มิวเทชันเป็ นการเปลี่ยนแปลงทาง พันธุกรรมในระดับยีนหรื อโครโมโซม ซึ่ง เป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ ดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลล์สืบพันธุ์ สามารถถ่ายทอดไปสู่ รุ่นลูกและหลานได้ การแปรผันทางพันธุ กรรมทาให้สิ่งมีชีวตที่ ิ เกิดใหม่มีลกษณะที่แตกต่างกันหลากหลาย ั ชนิดก่อให้เกิดเป็ นความหลากหลายทาง ชีวภาพ มนุษย์นาความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพด้าน พันธุวศวกรรม การโคลนและการ ิ เพาะเลี้ยงเนื้อเยือ มาใช้ในการพัฒนาให้เกิด ่ ความก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ มากขึ้นและ แพร่ หลาย การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่สร้างสิ่ งมีชีวตใหม่ ิ เกิดขึ้น หรื อสิ่ งมีชีวตที่มีการดัดแปรพันธุกรรม ิ ส่ งผล กระทบทั้งทางด้านที่เป็ นประโยชน์ และโทษต่อสิ่ งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
  • 23. ๒๓ ชั้น ตัวชี้วด ั ๓. สื บค้นข้อมูลและอภิปรายผล ของความหลากหลายทาง ชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่ งแวดล้อม - - - ๔. อธิบายกระบวนการคัดเลือก ตามธรรมชาติ และ ผลของ การคัดเลือกตามธรรมชาติต่อ ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวต ิ - - สาระการเรียนรู้ แกนกลาง โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศซึ่งมี ่ สิ่ งมีชีวตอาศัยอยูมากมายหลายสปี ชีส์ ิ สิ่ งมีชีวตสปี ชีส์ เดียวกันก็ยงมีความ ิ ั หลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพส่ งผลทาให้ มนุษย์ และสิ่ งมีชีวตอื่น ๆ ได้ใช้ประโยชน์ ิ ่ ในแง่ของการเป็ นอาหาร ที่อยูอาศัย แหล่ง สื บพันธุ์และขยายพันธุ์ ทาให้สิ่งมีชีวต ิ ่ สามารถดารงพันธุ์อยูได้ สิ่ งมีชีวตที่มีความหลากหลายท างชีวภาพ มี ิ ความต้องการปั จจัยต่าง ๆ ในการดารงชีวต ิ แตกต่างกันซึ่ งจะช่วยรักษาสมดุลของระบบ นิเวศบนโลกได้ สิ่ งมีชีวตแต่ละสปี ชีส์จะมีความหลากหลาย ิ ที่แตกต่างกัน สิ่ งมีชีวตในสปี ชีส์เดียวกัน ิ จะผสมพันธุ์และสื บลูกหลานต่อไปได้ การคัดเลือกตามธรรมชาติจะส่ งผลทาให้ ลักษณะพันธุ กรรมของประชากรในกลุ่ม ย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่างกันไปจนกลายเป็ น สปี ชีส์ใหม่ทาให้เกิดเป็ นความหลากหลาย ของสิ่ งมีชีวต ิ
  • 24. ๒๔ สาระที่ ๒ ชีวตกับสิ่ งแวดล้อม ิ มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต ิ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ ิ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ป. ๑ - - ป. ๒ - - ป. ๓ ๑. สารวจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ของตนและอธิบาย ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวต ิ กับสิ่ งแวดล้อม ่ - สิ่ งแวดล้อมหมายถึง สิ่ งที่อยูรอบๆ ตัวเรามี ทั้งสิ่ งมีชีวตและ สิ่ งไม่มีชีวต สิ่ งมีชีวตมี ิ ิ ิ ั ความสัมพันธ์กบสิ่ งแ วดล้อมทั้งกับ สิ่ งมีชีวตด้วยกันและกับสิ่ งไม่มีชีวต ิ ิ ป. ๔ - - ป. ๕ - - ม. ๑ ๒. อธิบายความสัมพันธ์ของ สิ่ งมีชีวตกับสิ่ งมีชีวตในรู ป ิ ิ ของโซ่อาหารและสายใย อาหาร ๓. สื บค้นข้อมูลและอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่าง การ ดารง ชีวตของสิ่ งมีชีวตกับ ิ ิ สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น - ่ - กลุ่มสิ่ งมีชีวตในแหล่งที่อยูต่าง ๆ มีความ ิ ั ั สัมพันธ์กน และมีความสัมพันธ์กบแหล่งที่ ่ อยูในลักษณะของแหล่งอาหาร แหล่งที่อยู่ อาศัย แหล่งสื บพันธุ์ และแหล่งเลี้ยงดูลูก อ่อน - ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวตกับสิ่ งมีชีวตใน ิ ิ รู ป ของโซ่อาหาร และสายใยอาหาร ทา ให้เกิดการถ่ายทอดพลังงานจากผูผลิตสู่ ้ ผูบริ โภค ้ ่ ่ - สิ่ งมีชีวตที่อาศัยอยูในแต่ละแหล่งที่อยูจะมี ิ โครงสร้างที่เหมาะสมต่อการดารงชีวตใน ิ ่ ั แหล่งที่อยูน้ น และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมเพือหาอาหาร ละมีชีวตอยูรอด ่ แ ิ ่ - ม. ๒ - - ป. ๖ ๑. สารวจและอภิปราย ความสัมพันธ์ของกลุ่ม ่ สิ่ งมีชีวตในแหล่งที่อยูต่าง ๆ ิ