SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
    (Hearing Impaired Children)
ความรู้ทั่วไปสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
          ประวัติความเป็นมาด้านการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้
ยิน การศึกษาสาหรับเด็กหูหนวกในประเทศไทย เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2494 โดย ม.ร.ว.
เสริมศรี เกษมศรี ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยกอลอเดท (Gallaudet
College) วิทยาลัยทางศิลปศาสตร์แห่งแรก และแห่งเดียวสาหรับคนหูหนวก ได้
เปิดหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนวัดโสมนัส การสอนคนหู
หนวกในตอนนั้นเป็นการสอนพูดโดยใช้ท่าภาษามือประกอบ ต่อมาคุณหญิงกมลา ไกร
ฤกษ์ ได้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเดียวกันมาเป็นครูใหญ่โรงเรียนสอนคนหูหนวก
ดุสิต (ปัจจุบันคือโรงเรียนเศรษฐเสถียร) ได้รวบรวมภาษามือขึ้นเป็นหนังสือภาษามือ
ไทยขึ้น เพื่อใช้สอนคนหูหนวกในประเทศไทย โดยให้มีการสอนพูดรวมกับการใช้ภาษามือ
และการสะกดนิ้วมือร่วมกับการอ่านและการเขียนตามปกติ
ความหมาย

                 เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
       หมายถึงเด็กหูหนวก และ เด็กหูตึงเด็กหูหนวก
       เป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงคนพูดน้อยมาก
       ใช้เครื่องช่วยฟังก็ไม่ได้ผล ซึ่งเด็กหูตึงเป็นเด็ก
       ที่สามารถได้ยินเสียงพูดบ้าง แต่ต้องใช้
       เครื่องช่วยฟัง ช่วยขยายเสียงให้ชัดเจนขึ้น
สาเหตุที่ทาให้หูพิการมาตั้งแต่เด็ก


ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับเชื้อไวรัสหัดเยอรมัน เยื้อหุ้ม
สมองอักเสบ และซิฟิลิส
ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับสารหรือยาที่เป็นอันตราย
กรรมพันธุ์
เด็กขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน ในขณะทาคลอด
เด็กที่ต้องคลอดก่อนกาหนด
ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่ องทางการได้ ยน
                                         ิ
          เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน 90 เดซิเบล
ขึ้นไป วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ2,000
เฮิร์ท ในหูข้างที่ดีกว่า เด็กไม่สามารถใช้การได้ยินให้เป็นประโยชน์ได้
อย่างเต็มประสิทธิภาพ อาจเป็นผู้ทสูนเสียการได้ยินมาแต่กาเนิดหรือ
                                    ี่
สูญเสียการได้ยินภายหลังก็ตาม
          เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สญเสียการได้ยินระหว่าง 26-89
                                       ู
เดซิเบล วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ
2,000 เฮิร์ทเป็นเด็กที่สูญเสียการได้ยินเล็กน้อยไปจนถึงการ
สูญเสียการได้ยินขั้นรุนแรง
ระดับการได้ยิน
          ระดับที่ 1 หูปกติ (ไม่เกิน 25 เดซิเบล)ได้ยิน
เสียงพูดกระซิบเบา ๆ
          ระดับที่ 2 หูตึงเล็กน้อย (26-40 เดซิเบล)ไม่ได้
ยินเสียงพูดเบา ๆ แต่ได้ยินเสียงพูดปกติ อาจใช้
เครื่องช่วยฟังบางโอกาส เช่น เรียนหนังสือ
          ระดับที่ 3 หูตึงปานกลาง (41-55 เดซิเบล)
ไม่ได้ยินเสียงปกติ ต้องพูดดังกว่าปกติจึงจะได้ยิน
จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังขณะพูดคุย
ระดับที่ 4 หูตึงมาก (56-70 เดซิเบล) พูดเสียงดังแล้วยัง
ไม่ได้ยิน จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังตลอดเวลา
        ระดับที่ 5 หูตึงรุนแรง (71-90 เดซิเบล) ต้องตะโกนหรือใช้
เครื่องขยายเสียงจึงจะได้ยิน แต่ได้ยินไม่ชัด
        ระดับที่ 6 หูหนวก (91 เดซิเบลขึ้นไป) ตะโกนหรือใช้เครื่อง
ขยายเสียงแล้วยังไม่ได้ยิน และไม่เข้าใจความหมาย
ทาอย่างไรถึงจะรู้ว่าเด็กมีความพิการทางหู
          จากคาแนะนาของคุณหมอเด็ก จากโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงแห่ง
หนึ่ง กล่าวว่า ถ้าอยากจะรู้ว่าเด็กคนนั้นมีความผิดปกติทางหูหรือไม่นน ั้
ต้องอาศัยการตรวจอย่างละเอียด อย่างสม่าเสมอ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1
ขวบ ซึงการตรวจเช็คนันจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ทาให้คุณหมอทราบว่าเด็ก
        ่             ้
คนนันมีความพิการทางหูหรือไม่ แต่คุณแม่สามารถสังเกตจากพัฒนาการ
      ้
การได้ยินเสียงของลูกได้ คือ เด็กตั้งแต่แรกเกิด เมื่อได้ยนเสียงดัง เค้าจะ
                                                        ิ
ผวา อายุ 5 เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลา
เราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก
ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคซีนและพบคุณหมออย่างสม่าเสมอ
วิธีการทีจะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี
                ่
            การฝึกฟัง จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้
ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สด อุปกรณ์ที่มีวามสาคัญมากที่สุดในการ
                                            ุ
ฝึกฟัง คือ เครืองช่วยฟัง ซึงจะทาหน้าที่ขยายเสียงให้ดงขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับ
                ่            ่                        ั
เสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ
      เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู
      เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู
      เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ
      เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา
            การฝึกพูด เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับ
     ผู้อื่นได้
กระบวนการแบบสองภาษา
       กระบวนการแบบสองภาษา เป็นการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งสาหรับเด็กหู
หนวก ทาการสอนโดยครู 2 คน คือ ครูหูหนวก และครูที่มีการ ได้ยิน โดยครูหูหนวกจะเป็น
แบบอย่างของการใช้ภาษามือ เป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ วิถีชีวิตของคนหูหนวก
ให้กับเด็กหูหนวก และครูที่มีการได้ยินจะเป็นแบบอย่างของการใช้ภาษาไทย ทั้งการเขียน
การอ่าน และการพูด โดยเด็กหูหนวกจะต้องเรียนภาษามือที่สอนโดยครูหูหนวก เป็นภาษา
แรกให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ จนเด็กสามารถใช้ภาษามือได้อย่างดี และเรียนรู้ภาษาไทยเป็น
ภาษาที่สองโดยครูที่มีการได้ยิน ซึ่งการสอนภาษาโดยใช้วิธีการสอนแบบภาษาที่สอง โดยใช้
ภาษามือไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ภาษาไทย การสอนภาษาไทยจะสอนจากการเขียน
การอ่าน หรือการพูด ขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละคน สาหรับเด็กโต บางวิชาอาจจะสอนด้วยภาษามือ
โดยครูหูหนวก เช่น วิชา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม โดยใช้เทคนิค การสอนที่
ตอบสนองความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนหูหนวก
ปัจจุบันการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินใน
ประเทศไทย มี 2 แบบคือ
          1. การจัดการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ
ตั้งแต่ระดับชันเด็กเล็กประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ใช้หลักสูตรของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการปรับปรุงให้เหมาะสมเพียงเล็กน้อย
          2. จัดการเรียนร่วมกับคนปกติ จัดให้เข้าเรียนในโรงเรียนเดียวกับเด็ก
ปกติ โดยมีครูพิเศษช่วยเหลือในด้านภาษาและการสื่อสาร
สมาชิกกลุ่ม

1.   นายคณิต            คนคม         รหัสนักศึกษา 53181400106
2.   นางสาวปรางทิพย์    นามปวน       รหัสนักศึกษา 53181400123
3.   นางสาวสุพัตรา      ปานาม        รหัสนักศึกษา 53181400143
4.   นางสาวสุมนทร์ตรา
              ิ         แจ่มใส       รหัสนักศึกษา 53181400144

                 สาขาวิชา คณิตศาสตร์ กลุ่ม 1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาguesta3f6cb
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนสภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 

Mais procurados (20)

เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
 
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียนบันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
บันทึกข้อความขออนุญาตจัดทำสารประชาสัมพันธ์ข่าวสารสภานักเรียน
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 

Destaque

ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...Napadon Yingyongsakul
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพguest83238e
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกายการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกายLampang Rajabhat University
 
ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...
ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...
ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...Napadon Yingyongsakul
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)1707253417072534
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนDarika Roopdee
 
เด็กอัจฉริยะGifted
เด็กอัจฉริยะGiftedเด็กอัจฉริยะGifted
เด็กอัจฉริยะGiftedguest694cc9f
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1Benjarat Meechalat
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมguest5ec5625
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...sornordon
 
สื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตาสื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตาPrutaporn Lalitanurak
 
เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....Benjarat Meechalat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 

Destaque (20)

ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่2 เล่ม5 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่ายกายและสุขภาพ
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกายการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
 
ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...
ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...
ชุดที่2การอ่าน เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางก...
 
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
เด็กพิการซ้ำซ้อน (ใหม่)
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
เด็กอัจฉริยะGifted
เด็กอัจฉริยะGiftedเด็กอัจฉริยะGifted
เด็กอัจฉริยะGifted
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่3 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1เด็กปัญญาเลิศ1
เด็กปัญญาเลิศ1
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม
 
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
ชุดที่4 เล่ม1 เทคนิค วิธีการและสื่อ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน...
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
สื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตาสื่อสีภาพลวงตา
สื่อสีภาพลวงตา
 
เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 

Semelhante a เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)guest3e689f
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guestc9722c1
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guestc9722c1
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guest38049e7
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guest38049e7
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guest38049e7
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)guest3e689f
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)guest3e689f
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)guest00db6d99
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Thipa Srichompoo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plankhanidthakpt
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 

Semelhante a เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (20)

การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 

Mais de Benjarat Meechalat

วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติวิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติBenjarat Meechalat
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องBenjarat Meechalat
 
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมBenjarat Meechalat
 
การ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมการ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมBenjarat Meechalat
 
เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....Benjarat Meechalat
 

Mais de Benjarat Meechalat (6)

วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติวิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
วิธีสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
 
การ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมการ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
การ์ตูน การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
 
เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....เด็กปัญญาเลิศ....
เด็กปัญญาเลิศ....
 

เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

  • 2. ความรู้ทั่วไปสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ประวัติความเป็นมาด้านการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ ยิน การศึกษาสาหรับเด็กหูหนวกในประเทศไทย เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2494 โดย ม.ร.ว. เสริมศรี เกษมศรี ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยกอลอเดท (Gallaudet College) วิทยาลัยทางศิลปศาสตร์แห่งแรก และแห่งเดียวสาหรับคนหูหนวก ได้ เปิดหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนวัดโสมนัส การสอนคนหู หนวกในตอนนั้นเป็นการสอนพูดโดยใช้ท่าภาษามือประกอบ ต่อมาคุณหญิงกมลา ไกร ฤกษ์ ได้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเดียวกันมาเป็นครูใหญ่โรงเรียนสอนคนหูหนวก ดุสิต (ปัจจุบันคือโรงเรียนเศรษฐเสถียร) ได้รวบรวมภาษามือขึ้นเป็นหนังสือภาษามือ ไทยขึ้น เพื่อใช้สอนคนหูหนวกในประเทศไทย โดยให้มีการสอนพูดรวมกับการใช้ภาษามือ และการสะกดนิ้วมือร่วมกับการอ่านและการเขียนตามปกติ
  • 3. ความหมาย เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึงเด็กหูหนวก และ เด็กหูตึงเด็กหูหนวก เป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงคนพูดน้อยมาก ใช้เครื่องช่วยฟังก็ไม่ได้ผล ซึ่งเด็กหูตึงเป็นเด็ก ที่สามารถได้ยินเสียงพูดบ้าง แต่ต้องใช้ เครื่องช่วยฟัง ช่วยขยายเสียงให้ชัดเจนขึ้น
  • 5. ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่ องทางการได้ ยน ิ เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน 90 เดซิเบล ขึ้นไป วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ2,000 เฮิร์ท ในหูข้างที่ดีกว่า เด็กไม่สามารถใช้การได้ยินให้เป็นประโยชน์ได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ อาจเป็นผู้ทสูนเสียการได้ยินมาแต่กาเนิดหรือ ี่ สูญเสียการได้ยินภายหลังก็ตาม เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สญเสียการได้ยินระหว่าง 26-89 ู เดซิเบล วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ 2,000 เฮิร์ทเป็นเด็กที่สูญเสียการได้ยินเล็กน้อยไปจนถึงการ สูญเสียการได้ยินขั้นรุนแรง
  • 6. ระดับการได้ยิน ระดับที่ 1 หูปกติ (ไม่เกิน 25 เดซิเบล)ได้ยิน เสียงพูดกระซิบเบา ๆ ระดับที่ 2 หูตึงเล็กน้อย (26-40 เดซิเบล)ไม่ได้ ยินเสียงพูดเบา ๆ แต่ได้ยินเสียงพูดปกติ อาจใช้ เครื่องช่วยฟังบางโอกาส เช่น เรียนหนังสือ ระดับที่ 3 หูตึงปานกลาง (41-55 เดซิเบล) ไม่ได้ยินเสียงปกติ ต้องพูดดังกว่าปกติจึงจะได้ยิน จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังขณะพูดคุย
  • 7. ระดับที่ 4 หูตึงมาก (56-70 เดซิเบล) พูดเสียงดังแล้วยัง ไม่ได้ยิน จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังตลอดเวลา ระดับที่ 5 หูตึงรุนแรง (71-90 เดซิเบล) ต้องตะโกนหรือใช้ เครื่องขยายเสียงจึงจะได้ยิน แต่ได้ยินไม่ชัด ระดับที่ 6 หูหนวก (91 เดซิเบลขึ้นไป) ตะโกนหรือใช้เครื่อง ขยายเสียงแล้วยังไม่ได้ยิน และไม่เข้าใจความหมาย
  • 8. ทาอย่างไรถึงจะรู้ว่าเด็กมีความพิการทางหู จากคาแนะนาของคุณหมอเด็ก จากโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงแห่ง หนึ่ง กล่าวว่า ถ้าอยากจะรู้ว่าเด็กคนนั้นมีความผิดปกติทางหูหรือไม่นน ั้ ต้องอาศัยการตรวจอย่างละเอียด อย่างสม่าเสมอ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ ซึงการตรวจเช็คนันจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ทาให้คุณหมอทราบว่าเด็ก ่ ้ คนนันมีความพิการทางหูหรือไม่ แต่คุณแม่สามารถสังเกตจากพัฒนาการ ้ การได้ยินเสียงของลูกได้ คือ เด็กตั้งแต่แรกเกิด เมื่อได้ยนเสียงดัง เค้าจะ ิ ผวา อายุ 5 เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลา เราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคซีนและพบคุณหมออย่างสม่าเสมอ
  • 9. วิธีการทีจะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี ่ การฝึกฟัง จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้ ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สด อุปกรณ์ที่มีวามสาคัญมากที่สุดในการ ุ ฝึกฟัง คือ เครืองช่วยฟัง ซึงจะทาหน้าที่ขยายเสียงให้ดงขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับ ่ ่ ั เสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ  เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู  เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู  เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ  เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา การฝึกพูด เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับ ผู้อื่นได้
  • 10. กระบวนการแบบสองภาษา กระบวนการแบบสองภาษา เป็นการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งสาหรับเด็กหู หนวก ทาการสอนโดยครู 2 คน คือ ครูหูหนวก และครูที่มีการ ได้ยิน โดยครูหูหนวกจะเป็น แบบอย่างของการใช้ภาษามือ เป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ วิถีชีวิตของคนหูหนวก ให้กับเด็กหูหนวก และครูที่มีการได้ยินจะเป็นแบบอย่างของการใช้ภาษาไทย ทั้งการเขียน การอ่าน และการพูด โดยเด็กหูหนวกจะต้องเรียนภาษามือที่สอนโดยครูหูหนวก เป็นภาษา แรกให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ จนเด็กสามารถใช้ภาษามือได้อย่างดี และเรียนรู้ภาษาไทยเป็น ภาษาที่สองโดยครูที่มีการได้ยิน ซึ่งการสอนภาษาโดยใช้วิธีการสอนแบบภาษาที่สอง โดยใช้ ภาษามือไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ภาษาไทย การสอนภาษาไทยจะสอนจากการเขียน การอ่าน หรือการพูด ขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละคน สาหรับเด็กโต บางวิชาอาจจะสอนด้วยภาษามือ โดยครูหูหนวก เช่น วิชา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม โดยใช้เทคนิค การสอนที่ ตอบสนองความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนหูหนวก
  • 11. ปัจจุบันการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินใน ประเทศไทย มี 2 แบบคือ 1. การจัดการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ระดับชันเด็กเล็กประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ใช้หลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการปรับปรุงให้เหมาะสมเพียงเล็กน้อย 2. จัดการเรียนร่วมกับคนปกติ จัดให้เข้าเรียนในโรงเรียนเดียวกับเด็ก ปกติ โดยมีครูพิเศษช่วยเหลือในด้านภาษาและการสื่อสาร
  • 12.
  • 13. สมาชิกกลุ่ม 1. นายคณิต คนคม รหัสนักศึกษา 53181400106 2. นางสาวปรางทิพย์ นามปวน รหัสนักศึกษา 53181400123 3. นางสาวสุพัตรา ปานาม รหัสนักศึกษา 53181400143 4. นางสาวสุมนทร์ตรา ิ แจ่มใส รหัสนักศึกษา 53181400144 สาขาวิชา คณิตศาสตร์ กลุ่ม 1