SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 55
Baixar para ler offline
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
ภก.รชานนท์ หิรัญวงษ์
กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.บางละมุง
- งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก (CKD clinic)
- งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยใน
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอก (CKD clinic)
ทีมสหวิชาชีพในคลินิกผู้ป่วย CKD
1. อายุรแพทย์โรคไต
2. พยาบาล
3. เภสัชกร
4. นักโภชนาการ
อายุรแพทย์โรคไต
☞ ประเมินระดับของ CKD
☞ ประเมินโรคร่วมต่าง ๆ และปัจจัยเสี่ยงต่อการ
เกิดสภาวะแทรกซ้อน
☞ กาหนดแผนการรักษาในผู้ป่วยแต่ละราย
พยาบาล
☞ ดูแลผู้ป่วย
☞ ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ในทีมสหวิชาชีพ
☞ รวบรวมข้อมูล ประวัติผู้ป่วย
☞ ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย
เภสัชกร
1. จัดทา Medication reconciliation form สาหรับผู้ป่วยคลินิก CKD
2. ประเมินผลแลปของผู้ป่วยในวันนั้นเทียบกับ visit ก่อนหน้า
3. หา DRPs และประเมินความสม่าเสมอในการรับประทานยาของผู้ป่วย
4. ส่งมอบยาให้ผู้ป่วย
5. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการใช้ยาในผู้ป่วย CKD รายใหม่
1. ให้ความรู้ด้านอาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคไต
2. ประเมินสภาวะทางโภชนาการของผู้ป่วย
3. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในผู้ป่วยโรคไต
โภชนาการ
เป้าหมายของ Medication Reconcile
• เพื่อรวบรวมข้อมูลยาที่ผู้ป่วยใช้ในปัจจุบันให้แพทย์
• ค้นหา และป้องกัน DRPs เช่น Drug interaction, การใช้ยา
ผิดขนาด, การใช้ยาซ้าซ้อน เป็นต้น
• เพื่อให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยและช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านยา
MEDICATION RECONCILE FORM
ประกอบด้วย
1. HN
2. ชื่อผู้ป่วย
3. วันที่ได้รับยา
4. ยาที่ได้รับใน visit ล่าสุด
5. วิธีการบริหารยา
การดูแลสุขภาพโรคไตเรื้อรัง
ยาและสมุนไพรที่ควรระวังในผู้ป่วยโรคไต
ยาแก้ปวดลดอักเสบ กลุ่มยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ หรือที่เรียกกันว่า NSAIDs เช่น
Ibuprofen, Mefenamic acid, Naproxen, Piroxicam, Meloxicam, Diclofenac, Celecoxib,
Etoricoxib เป็นต้น ยามีผลทาให้เลือดไปเลี้ยงไตลดลง ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่มนี้
คนทั่วไปมักเข้าใจว่ายาในกลุ่ม OTC (Over-the-Counter Drugs) หรือยาที่สามารถหาซื้อ
ได้ตามร้านยาเพื่อบรรเทาอาการไม่สบายเบื้องต้น เช่น ยาแก้ไอ ยาลดไข้ ยาลดน้ามูก ยาแก้ปวดเมื่อย
ยาระบายแก้ท้องผูก ยาแก้ท้องเสีย วิตามิน อาหารเสริม รวมถึงยาจีนและสมุนไพรต่างๆ เป็นยาที่
ปลอดภัยเนื่องจากสามารถหาซื้อได้เองโดยไม่ต้องมีใบสั่งยา แต่ในความจริงแล้วยาเหล่านี้อาจสะสมใน
ร่างกาย หรือทาให้เกิดอันตรายต่อไตในผู้ป่วยโรคไตได้
ยาที่มีส่วนประกอบของโซเดียม ยาที่ต้องละลายน้า หรือวิตามินอื่นๆ เช่น ยาแอสไพรินชนิด
เม็ดฟู่ วิตามินที่แพทย์ไม่ได้สั่งให้รับประทาน อาจทาให้ร่างกายมีภาวะโซเดียม น้า และเกลือแร่
เกินในร่างกาย
ยาน้าแก้ไอ ยาน้าแก้ปวดท้อง ส่วนใหญ่มักมีส่วนผสมของสมุนไพร หากรับประทานต่อเนื่องเป็น
เวลานานอาจเกิดการสะสมของโพแทสเซียม
ยาระบายหรือยาลดกรดที่มีอะลูมิเนียมและแมกนีเซียม อาจทาให้เกิดการสะสมของเกลือแร่ใน
ร่างกาย เนื่องจากไตไม่สามารถนาเอาเกลือแร่เหล่านี้ออกจากร่างกายได้ตามปกติ
ยาระบายหรือยาสวนทวาร ทาให้ร่างกายสูญเสียน้าและเกิดการสะสมของฟอสเฟต
อาหารเสริมต่างๆ มักมีส่วนประกอบของโพแทสเซียมและแมกนีเซียมซึ่งทาให้เกิดการสะสมใน
ร่างกายได้
ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยงสมุนไพร (ทั้งในรูปแบบแคปซูล ยาน้า ชาชง) ยาแผนโบราณ
เนื่องจากทาให้โพแทสเซียมในเลือดสูง รวมทั้งยังไม่มีการศึกษาที่ยืนยันถึงประสิทธิภาพที่ชัดเจนใน
การชะลอการเสื่อมของไต ความไม่สม่าเสมอของปริมาณสารที่สกัดได้ การปนเปื้อนของสาร
ระหว่างกระบวนการผลิต เช่น ปรอท เชื้อรา อาจเกิดอันตรายต่อไตอย่างรุนแรงได้
สมุนไพร เช่น สารสกัดใบแปะก๊วย (Gingko biloba) โสม (ginseng) กระเทียม (garlic) ส่งผล
ต่อการแข็งตัวของเลือด อาจทาให้เกิดเลือดออกบริเวณเส้นเลือดที่ต่อกับเครื่องฟอกเลือดได้ง่าย
ยาระบายที่มีส่วนผสมของสมุนไพร ispaghula husk อาจทาให้มีการสะสมของโพแทสเซียมได้
ข้อควรปฏิบัติ
• ญาติ ผู้ดูแล และผู้ป่วยควรแจ้งแพทย์และเภสัชกรทุกครั้งถึงรายการยา รวมทั้ง
วิตามิน อาหารเสริม สมุนไพร ที่ผู้ป่วยได้รับในปัจจุบัน
• หากเจ็บป่วยไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ควรปรึกษาแพทย์/เภสัชกรทุกครั้ง
• แจ้งแพทย์ถึงความผิดปกติต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
น้าหนักตัวเพิ่ม ขาบวม หายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ตะคริว แขน-ขาชา ไม่มีแรง คันตามผิวหนัง กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะขัด
โภชนาการสาหรับผู้ป่วยโรคไต
ความสาคัญของการควบคุมอาหาร
การควบคุมอาหารมีความสาคัญต่อผู้ที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง เพราะจะช่วยให้
o ชะลอการเสื่อมของไต ยืดเวลาที่จะต้องล้างไตให้ช้าลง
o ลดภาระการทางานของไตในการขับถ่ายของเสีย
o ทาให้ไตส่วนที่เหลืออยู่ไม่ต้องทางานหนักเกินตัว
o ลดการคั่งของของเสียที่เกิดจากการรับประทานอาหาร
o ป้องกันภาวะขาดสารอาหาร
o ช่วยให้มีสุขภาพดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ผู้ป่วยโรคไตควรจากัดและหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด เนื่องจากเมื่อไตไม่สามารถทางานได้ตามปกติ
การได้รับสารอาหารบางชนิดมากเกินไปอาจทาให้เกิดปัญหาสุขภาพ ร่างกายมีการสะสมของเสีย
มากเกินไป
อาหารที่มีผลต่อไต
โซเดียม ร่างกายต้องการโซเดียมในปริมาณเล็กน้อยเพื่อควบคุมความดันโลหิต เมื่อเป็นโรคไต
ร่างกายจะไม่สามารถกาจัดโซเดียมส่วนเกินออกไปได้ ทาให้เกิดมีน้าคั่งและเกิดอาการบวม ความ
ดันโลหิตสูง มีน้าท่วมปอด และอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ อาหารที่มีโซเดียมสูง เช่น ปลาเค็ม แฮม เบคอน ไส้กรอก อาหารดอง
ขนมขบเคี้ยว เนยแข็ง อาหารรสจืดแต่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ เช่น ขนมปังเนื่องจากมีการใช้ผง
ฟู (โซเดียมไบคาร์บอเนต)
โพแทสเซียม เป็นเกลือแร่ที่ช่วยให้การทางานของกล้ามเนื้อและประสาทเป็นไปตามปกติ เมื่อไต
ทางานลดลงจะลดการขับโพแทสเซียมทางปัสสาวะ ทาให้เกิดการสะสมของโพแทสเซียม ถ้าสูงมากจะ
ทาให้ใจสั่น หรือหัวใจหยุดเต้นได้ ผู้ป่วยโรคไตระยะเริ่มต้นและปานกลาง ซึ่งไตยังพอขับถ่ายของเสียได้
ดี มีปัสสาวะจานวนมากและระดับของโพแทสเซียมในเลือดไม่สูงมาก สามารถรับประทานผักและผลไม้
ได้โดยไม่ต้องจากัด แต่สาหรับผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงกว่า 5.0 มก./
ดล. ควรควบคุมปริมาณผักและผลไม้ โดยเลือกรับประทานผักและผลไม้ที่มีโพแทสเซียมต่าได้วันละ 1-
2 ครั้ง เช่น กะหล่าปลี ดอกกะหล่า แตงกวา ผักกาดหอม ถั่วงอก องุ่น สับปะรด เป็นต้น
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ อาหารที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ผลไม้แห้งทุกชนิด ทุเรียน มะขาม แคน
ตาลูป น้าลูกยอ มะเขือเทศ ผักใบเขียว หัวผักกาด กล้วย ส้ม มะละกอ ขนุน เป็นต้น
ฟอสฟอรัส เมื่อไตวาย ร่างกายจะมีปัญหาการดูดซึมแคลเซียม และการกาจัดฟอสฟอรัสจะทาให้
ร่างกายได้รับแคลเซียมน้อยและมีฟอสฟอรัสในเลือดมากเกินไป
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ ราข้าว เนยแข็ง นมและผลิตภัณฑ์จากนม นมข้นหวาน ไข่ปลา ไข่
แดง กุ้ง ปู ผลิตภัณฑ์ที่ใส่ผงฟู ถั่วเมล็ดแห้ง น้าอัดลมสีดา เป็นต้น
โปรตีน เป็นสารอาหารที่ร่างกายต้องการ ผู้ป่วยโรคไตก็ยังต้องรับประทานอาหารที่ให้โปรตีน แต่
ควรจากัดปริมาณอาหารที่มีโปรตีนสูงทั้งจากพืชและเนื้อสัตว์ไม่ให้มากเกินไป เพื่อเป็นการลดการ
ทางานของไต
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ เนื้อสัตว์ที่มีไขมันและคอเลสเตอรอลมาก เช่น ไข่แดง เครื่องใน
สัตว์ หนังหมู หนังเป็ดและไก่ เนื้อหมูและเนื้อวัวติดมัน ซี่โครงหมูที่ติดมันมาก หมูหัน เป็ดปักกิ่ง
หมูสามชั้น หมูกรอบ เป็ดย่าง ห่านพะโล้ ไข่ปลา ไข่กุ้ง เนื้อสัตว์ที่มีกรดอะมิโนจาเป็นไม่ครบ ซึ่ง
ทาให้ไตทางานขับถ่ายของเสียหนักขึ้น เช่น เอ็นหมู เอ็นวัว เอ็นไก่ หูฉลาม ตีนเป็ด ตีนไก่ หนัง
สัตว์ กระดูกอ่อน รวมทั้งถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ และขนม อาหารที่มีไส้ถั่ว
o ควรรับประทานอาหารให้หลากหลายในแต่ละมื้ออาหารและครอบคลุม
กลุ่มข้าว เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้
o ห้ามใช้ซอสปรุงรสเทียม เกลือเทียม ซีอิ๊วเทียม น้าปลาเทียม หากต้องการ
เพิ่มรสชาติอาหารให้ใช้เครื่องเทศแทน
ข้อควรปฏิบัติในการรับประทานอาหาร
การออกกาลังกาย
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังหลายท่านอาจรู้สึกว่าตนเจ็บป่วยเกินกว่าที่จะออกกาลังกายได้ ซึ่งเป็น
ความเชื่อที่ผิด เพราะการออกกาลังกายเป็นสิ่งจาเป็นต่อทุกคน หากไม่ออกกาลังกายจะส่งผลให้
กล้ามเนื้อและหัวใจอ่อนกาลังลง และข้อต่อต่างๆ จะไม่แข็งแรง ดังนั้นการออกกาลังกายจะทาให้
กลับมาแข็งแรงอีกครั้ง
คาแนะนาในการออกกาลังกายสาหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Exercise Instruction for Chronic Kidney Disease Patient
ความสาคัญของการออกกาลังกาย
• ช่วยให้หัวใจแข็งแรงและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
• เพิ่มระดับของ hematocrit และ hemoglobin ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็น
ในการพาออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
• ช่วยควบคุมระดับน้าตาลในเลือด
• ลดความดันโลหิต
• ลดปริมาณคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์
• ลดความตึงเครียด
**กรุณาปรึกษาแพทย์ก่อนเริ่มต้นการออกกาลังกาย**
ควรเลือกการออกกาลังกายที่ชอบและสะดวกที่จะทาอย่างต่อเนื่อง เช่น การออกกาลังกายในร่ม การเดิน ว่าย
น้า หรือปั่นจักรยาน ควรออกกาลังกายอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ ในสัปดาห์แรก คุณควรใช้เวลาเพียง 5 นาที
ต่อวัน จากนั้นเพิ่มเวลาขึ้นอีก 2 - 3 นาทีในสัปดาห์ต่อๆ ไป จนกระทั่งสามารถออกกาลังกายได้ประมาณครึ่ง
ชั่วโมงต่อวัน สาหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้าหนักควรเดินให้นานขึ้นกว่าเดิมอย่างน้อย 20 - 30 นาที
อย่าออกกาลังกาย หากมีอาการดังต่อไปนี้
 มีไข้
 อากาศร้อนและมีความชื้นสูง
 มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อต่อ
หยุดออกกาลังกายทันที หากรู้สึกดังต่อไปนี้
 เหนื่อยล้าเป็นอย่างมาก
 หายใจไม่ทัน
 เจ็บหน้าอก
 หัวใจเต้นเร็วผิดปกติหรือไม่เป็นจังหวะ
 คลื่นไส้
 เป็นตะคริว
งานบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยใน
ให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยไตบกพร่อง
• ติดตามการใช้ยาในผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลที่มีค่า Creatinine
clearance < 60 ml/min
• ให้ข้อมูลแพทย์เพื่อปรับขนาดการใช้ยาให้เหมาะสมกับการ
ทางานของไต
กระบวนการสร้างและพัฒนาระบบงาน
ระบบเดิม
o ดาเนินการโดยการให้ข้อมูลขนาดยาเฉพาะผู้ป่วยรายที่แพทย์ปรึกษา
เท่านั้น
o ไม่สามารถจัดการปัญหาการได้รับยาในขนาดที่ไม่เหมาะสมกับการ
ทางานของไตได้
o ปี พ.ศ. 2554 สัดส่วนของผู้ป่วยในที่ได้รับยาในขนาดที่เหมาะสมกับการ
ทางานของไตร้อยละ 57
o ต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนดไว้คือร้อยละ 80
กระบวนการสร้างและพัฒนาระบบงาน
ระบบใหม่
o ติดตามการสั่งใช้ยาและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในทุกรายที่มีอายุ
มากกว่า 35 ปี
o นาระบบ IT มาช่วย โดยการดึงรายงานค่าการทางานของไตของผู้ป่วย
แต่ละรายจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของรพ. (MITNET, HOSXP)
o ติดตามผู้ป่วยทุกวันจนออกจากโรงพยาบาล
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
หนังสือ/ฐานข้อมูลที่นามาใช้อ้างอิงขนาดยาตามค่าการทางานของไต
หนังสือ ปีที่ตีพิมพ์
The Sanford Guide to Antimicrobial Therapy 2010 2553
Drug Prescribing in Renal Failure: Dosing Guidelines for Adults. 2542
Micromedex Healthcare Series [Internet database]. 2554
The Renal Drug Handbook Third edition. 2552
Guidelines for the Use of Antiretroviral Agents in HIV-1-Infected Adults and Adolescents 2554
GlobalRPh Inc. 2554
Fosmicin [package insert]. Thailand: Thai Meiji Pharmaceutical 2553
Drug information Handbook 2010 2553
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
คู่มือการปรับขนาดยาตามค่าการทางานของไต
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
คู่มือการปรับขนาดยาตามค่าการทางานของไต
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
แนวทางการปฎิบัติงาน
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
แนวทางการปฎิบัติงาน
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การคานวณค่าการทางานของไต
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การบันทึกเพื่อติดตามการใช้ยา
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การบันทึกเพื่อติดตามการใช้ยา
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การปรึกษาแพทย์
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
ผลการดาเนินงานระหว่าง สิงหาคม 2554 – กรกฎาคม 2555
85
246
279
291 297
255 249
258
295
316
283 280
262
23
59 58
84
62 66
55 56 52
63
41 44 45
0
50
100
150
200
250
300
350
กค 54* สค 54 กย 54 ตค 54 พย 54 ธค 54 มค 55 กพ 55 มีค 55 เมย 55 พค 55 มิย 55 กค 55
ผู้ป่วยที่ได้รับการติดตาม ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องได้รับการปรับขนาดยาให้เหมาะสม
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
ผลการดาเนินงานระหว่าง สิงหาคม 2554 – กรกฎาคม 2555
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
บทเรียนที่ได้รับ
• การดาเนินการที่ไม่เป็นไปในทางเดียวกันของเภสัชกรที่ทาการให้ข้อมูลและปรึกษา
แพทย์ อาจส่งผลต่อความเชื่อถือ และการยอมรับคาปรึกษาของแพทย์ได้ จึงควรมี
การทบทวนเมื่อพบปัญหาที่เกิดจากสาเหตุนี้ทุกครั้ง
• นอกจากผู้ป่วยผู้ใหญ่แล้ว ผู้ป่วยเด็กก็เป็นกลุ่มเสี่ยงอีกกลุ่มหนึ่งที่มีโอกาสได้รับยา
ในขนาดที่สูงเกินไปเนื่องจากมีการทางานของไตลดลง ดังนั้นทางฝ่ายเภสัชกรรมจึง
มีแผนงานที่จะขยายการดูแลครอบคลุมไปถึงผู้ป่วยเด็ก และผู้ป่วยเด็กแรกเกิดด้วย
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การศึกษาค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมใน
ผู้ป่วยที่มีการทางานของไตบกพร่อง
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
กรอบแนวคิดเรื่องการประหยัดค่าใช้จ่าย
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การคานวณค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้
= มูลค่ายาต่อวันก่อนปรับขนาด – มูลค่ายาต่อวันหลังปรับขนาด คูณด้วย
จานวนวันที่ใช้ยาหลังปรับขนาดจนหยุดยาหรือผู้ป่วยถูกจาหน่ายออกจาก
โรงพยาบาล
เช่น ปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาดยา Amoxicillin/Clavulanate injection
จาก 1.2 G IV q 8 hr เป็น 1.2 G IV q 12 hr และใช้ยาต่ออีก 7 วัน
ค่าใช้จ่ายด้านยาที่ประหยัดได้จะเท่ากับ [(28.25 x 3) - 28.25 x 2] x 7 =
28.25 x 7 = 197.75 บาท
28.25 x 3 = 84.75 บาท/วัน 28.25 x = 56.50 บาท/วัน
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การคานวณค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้
ถ้าเป็นการหยุดยา จะนาค่ายาต่อวันก่อนปรับขนาด คูณด้วยจานวนวัน 2 วัน
โดยคิดว่าถ้าไม่มีการปรึกษาแพทย์เพื่อหยุดยา แพทย์จะสั่งหยุดยาเองภายใน
2 วัน
เช่น ปรึกษาแพทย์เพื่อสั่งหยุดยา Amikacin 500 mg IV q 24 hr
ค่าใช้จ่ายด้านยาที่ประหยัดได้จะเท่ากับ 32.1 x 2 = 64.2 บาท
Off
32.10 บาท/วัน 0 บาท/วัน
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
การคานวณค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้
• คานวณโดยนาจานวนครั้งที่แพทย์ปรับขนาดยาหลังการให้ข้อมูลขนาด
ยา คูณด้วยความน่าจะเป็นที่จะเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
คือ 0.4 ซึ่งเป็นค่าความน่าจะเป็นที่การศึกษาของสุรศักดิ์ เสาแก้ว และ
คณะ ใช้คานวณในกรณีที่ไม่มีการปรับขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มี
การทางานของไตบกพร่อง
• จากนั้นจึงนาค่าที่ได้มาคูณกับค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ในการรักษาอาการไม่พึง
ประสงค์จากการใช้ยาระหว่างที่นอนโรงพยาบาล คือ 1,869.50 บาท ซึ่ง
นามาจากการศึกษาของพิมพ์ชนก ขันแก้วหล้าซึ่งเป็นการศึกษาใน
โรงพยาบาลขนาดใกล้เคียงกัน สุดท้ายจะได้ค่าใช้จ่ายรวมที่ประหยัดได้
จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาระหว่างที่นอน
โรงพยาบาล
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
ผลการศึกษา
มูลค่ายาที่ประหยัดได้ในการศึกษานี้เป็นการคิดค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนทาง
ตรงที่เน้นเฉพาะค่ายา ไม่ได้รวมถึงค่าบริการ วัสดุอุปกรณ์ในการให้ยา
น้าเกลือที่ใช้เจือจางยาฉีด ทาให้ต้นทุนที่ประหยัดได้น้อยกว่าความเป็นจริง
แต่เมื่อนามารวมกับค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่
พึงประสงค์ จะทาให้ต้นทุนที่ประหยัดได้ใกล้เคียงความเป็นจริงมากขึ้นคิด
เป็น 1001.15 บาท/ครั้ง ซึ่งประหยัดได้เช่นเดียวกับการศึกษาที่ผ่านมาใน
ประเทศไทย คือ 553.13 - 1995.72 บาท/ครั้ง
จึงสรุปได้ว่าการปฏิบัติงานของเภสัชกรมีส่วนช่วยในการช่วยประหยัด
ค่าใช้จ่ายได้
ระบบงานในยุคแรก (2554 - 2558)
ข้อเสนอแนะ
1. เพื่อให้ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนทางตรงใกล้เคียงความเป็นจริงมากขึ้น จึง
ควรนาค่าบริการ วัสดุอุปกรณ์ในการให้ยา และน้าเกลือที่ใช้เจือจางยา
ฉีดมาคิดรวมด้วย
2. เพื่อให้ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการป้องกันการเกิดอาการไม่พึง
ประสงค์ใกล้เคียงความเป็นจริงมากขึ้น จึงควรศึกษาค่าใช้จ่ายในการ
รักษาอาการไม่พึงประสงค์ขณะนอนในโรงพยาบาลบางละมุง มาใช้ใน
การคานวณ แทนค่าใช้จ่ายที่ได้มาจากการศึกษาในโรงพยาบาลอื่น
ปี 2555
การนาเสนอผลงานในเวทีต่างๆ
ปี 2556 ปี 2558 - 2559
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
• เปลี่ยนแปลงระบบการติดตามโดยนา IT มาช่วยลด
ระยะเวลาในการทางาน
• บันทึกผลการติดตามในระบบคอมพิวเตอร์ของ
โรงพยาบาลเพื่อลดการเก็บเอกสาร
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
• คานวณ CrCl อัตโนมัติ
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
• คานวณ CrCl อัตโนมัติ
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
• ค้นหายาที่อาจต้องปรับขนาดอัตโนมัติ
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
• บันทึกการติดตามใน HosXP
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
ความเปลี่ยนแปลง
 ทางานได้เร็วขึ้นใช้เวลาตรวจสอบยาที่ต้องปรับขนาดและ
พิจารณาปรับขนาดลดลงจาก 1 – 2 ชั่วโมงเหลือ ครึ่งชั่วโมง
 ระยะเวลาการทางานรวมลดลงจาก 3 – 4 ชั่วโมงเหลือ 1 – 2
ชั่วโมง
 ทาให้ผู้ป่วยได้รับยาในขนาดที่เหมาะสมมากกว่าร้อยละ 80
ระบบงานในยุคที่สอง (2559 - ปัจจุบัน)
แผนการพัฒนา
o สรุปผลการดาเนินงานหลังจากใช้ระบบใหม่เป็นระยะเวลา 1 ปี
o เพิ่มรายการยาที่ต้องให้ข้อมูลเพื่อปรับขนาดได้แก่ ยาลดความ
ดันโลหิต ยาลดระดับน้าตาลในเลือด เป็นต้น
o ขยายการดูแลไปยังผู้ป่วยเด็ก และผู้ป่วยเด็กแรกเกิดที่การ
ทางานของไตมีปัญหา
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 

Destaque

เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDCAPD AngThong
 
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerSukhontis Sukhaneskul
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, Utai Sukviwatsirikul
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 

Destaque (20)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
 
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare providerความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
ความรู้พื้นฐานดูแลElder by healthcare provider
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ, เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
เภสัชวิทยาของยา warfarin โดย ภญ. อายุรภา ปริกสุวรรณ,
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 

Semelhante a การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง

โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอPacharee
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์Kamol Khositrangsikun
 

Semelhante a การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง (20)

สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
Cvs
CvsCvs
Cvs
 

Mais de Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดRachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 

Mais de Rachanont Hiranwong (20)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 

การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง