SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล ครั้งที่ 3 ปีงบประมาณ 2556
วันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม 2555
ณ ห้องประชุมวิริยกิจจา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
รายชื่อผู้เข้าประชุม
๑. นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
ประธาน
2. นพ.วิชัย ธนาโสภณ นายแพทย์เชี่ยวชาญ ด้านเวชกรรมป้องกัน
3. นางรุ่งทิวา พานิชสุโข นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ด้านส่งเสริมพัฒนา
4. นายเสรี เจตสุคนธร รก.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
5. นางอัจฉรา เกตุรัตนกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.ชลบุรี
6. นางรติกร ประเสริฐไทยเจริญหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ สสจ.ชลบุรี
7. นายรัก ธนะไพบูลย์ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ สสจ.ชลบุรี
8. นางเบ็ญจวรรณ วิจารณปัญญา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.ชลบุรี
9. นางศิริวรรณ มุลิ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชลบุรี
10. ทพญ.อังคณา มากมาย หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.ชลบุรี
11. นางจันทณา วังคะออม หัวหน้ากลุ่มงานทรัพยากรบุคคลฯ สสจ.ชลบุรี
12. นายสมพงษ์ สุรินทร์ หัวหน้ากลุ่มงานนิติการ
13. น.ส.พรทิพา วรเวช แทน หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป
14. นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผู้อานวยการโรงพาบาลชลบุรี
15. นพ.พิชัย ศิริพรพาณิชย์ รองผู้อานวยการโรงพยาบาลชลบุรี
16. พญ.อาภรณ์ อุบลสะอาด ผู้อานวยการโรงพยาบาลเมืองชลบุรี
17. นพ.จุมพล พบสุข ผู้อานวยการโรงพยาบาลบ้านบึง
18. นพ.ประยุทธ หมื่นหน้า ผู้อานวยการโรงพยาบาลพนัสนิคม
19. นพ.กรณ์พงศ์ วิเชียรประไพ ผู้อานวยการโรงพยาบาลพานทอง
20. นพ.สุกิจ พึ่งเกศสุนทร ผู้อานวยการโรงพยาบาลแหลมฉบัง
21. นพ.ปัณณวัฒน์ มงคลรัตนกูล แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลบ่อทอง
22. นพ.อุดม อัศวุตมางกุร ผู้อานวยการโรงพยาบาลวัดญาณสังวราราม
๒3. พญ.แววดาว พิมลธเรศ ผู้อานวยการโรงพยาบาลหนองใหญ่
24. น.ส.ธนันญา ทองปั้น แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสัตหีบ กม.10
25. นพ.สุกิจ พึ่งเกศสุนทร รก. ผู้อานวยการโรงพยาบาลเกาะสีชัง
26. นายสมประสงค์ ปิวไธสงค์ รก. สาธารณสุขอาเภอเมือง
27. นายวิโรจน์ มุมานะจิตต์ สาธารณสุขอาเภอบ้านบึง
28. นางนันทาวดี ทองอินทร์ รก. สาธารณสุขอาเภอศรีราชา
29. นายสมศักดิ์ กีรติหัตถยากร สาธารณสุขอาเภอสัตหีบ
30. นายสหภูมิ เดชธนภิรมย์ สาธารณสุขอาเภอบางละมุง
31. น.ส.สมฤดี สุขอุดม สาธารณสุขอาเภอพนัสนิคม
32. นายกมนต์ อินทรวิชัย สาธารณสุขอาเภอพานทอง
33. นายชลิต ไทยอุทิศ สาธารณสุขอาเภอบ่อทอง
34. นายสมพล จิตติเรืองเกียรติ สาธารณสุขอาเภอหนองใหญ่
๒
๓5. นายกิตติ บุญรัตนเนตร สาธารณสุขอาเภอเกาะสีชัง
36. นายกิตติวัฒน์ สกุลวัฒนานนท์ สาธารณสุขอาเภอเกาะจันทร์
37. ดร.วิบูลย์ลักษณ์ ปรียาวงศากุล ผอ.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
38. นายสุวัฒนา ค่านคร ผู้อานวยการวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี
39. น.ส.วัลลภา พ่วงขา แทน ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ม.บูรภา
40. น.ส.มยุรี ลามะไหย์ แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ
ศรีราชา
41. น.อ.กิติศักดิ์ สายนุช แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
42. น.ส.วันวิสาข์ แทน ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชลบุรี
43. นายสนิท ทวีกุล แทน ผู้อานวยการศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ ๘ ชลบุรี
44. นางกรชนก วุฒิสมวงค์กุล แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชฯ ญาณสังวรเพื่อ
ผู้สูงอายุ
45. นางมาลี เกิดพันธุ์ แทน ผู้อานวยการศูนย์ควบคุมป้องกันโรคที่ 3 ชลบุรี
46. นายมานะ กมลธเนศ เทศบาลเมืองแสนสุข
47. นางเพชรรัตน์ อุดมทัศณีย์ เทศบาลเมืองศรีราชา
48. นางผาสุข สุวรรณจิตต์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสจ.ชลบุรี เลขานุการ
49. นางจรรยา สันติมัค นั ก วิเคราะห์ น โย บ าย แ ละแ ผ น ช าน าญ การ สส จ.ช ลบุ รี
ผู้ช่วยเลขานุการ 1
50. นางวิจิตรา นวลรัตน์สกุล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสจ.ชลบุรี ผู้ช่วยเลขานุการ 2
ผู้เข้าร่วมประชุม
1 ภก.รชานนท์ นิรัญวงษ์ เภสัชกรปฏิบัติการ รพ.บางละมุง (นาเสนอผลงานเด่น)
2. นางกษิรา บุญวัฒนเจริญ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสอ.บ้านบึง (นาเสนอผลงานเด่น)
3. นางสุภาพร พุทธรัตน์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ สคร.3 ชลบุรี
4. นางขวัญยืน โบขุนทด นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
5. นายจีระสันต์ มีรัตน์ เภสัชกรชานาญการ
6. น.ส.นลิน ไตรยราช เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน
7. น.ส.บุศรินทร์ ถิ่นสูง นักวิชาการคอมพิวเตอร์
8. นายณัฐวุฒิ การุณเกียรติกุล นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ผู้ไม่มาประชุมเนื่องจากติดราชการ
1. นางอุไรวรรณ ประสิทธิพงษ์ หน.ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลงที่ 3.1 อ.ศรีราชา
2. ดร.สลักจิต ชุติพงษ์วิเวท ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชลบุรี
3. นพ.บุญแสง บุญอานวยกิจ ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี
4. นางสุจินดา สุขกาเนิด ผู้อานวยการศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนฯ
5. นพ.กิติศักดิ์ เทพสุวรรณ ผู้อานวยการโรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี
6. พ.อ.ปณิธาน เปมะโยธิน ผู้อานวยการโรงพยาบาลค่ายนวมินทราชินี
7. นพ.พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ม.บูรพา
8. พล.ร.ต.อเนก ตันติวรสิทธิ์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์
9. องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี
10. เมืองพัทยา
๓
11. เทศบาลนครแหลมฉบับ
12. เทศบาลเมืองชลบุรี
13. เทศบาลเมืองพนัสนิคม
14. เทศบาลเมืองบ้านบึง
15. เทศบาลเมืองหนองปรือ
16. เทศบาลเมืองบ้านสวน
เปิ ดประชุมเวลา 09.40 น.
กิจกรรมก่อนวาระการประชุม
• พิธีประดับบ่าเครื่องหมายตาแหน่งบนอินทรธนู ระดับเชี่ยวชาญ แก่ นางรุ่งทิวา พานิชสุโข
โดย นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
• นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี แสดงความยินดี และต้อนรับ
นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี คนใหม่
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
1.1 ได้แจกเอสารให้กับผู้บริหารทุกหน่วยงานเพื่อศึกษา เรื่อง “วิสัยทัศน์และตัวชี้วัดการ
ดาเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข” ซึ่งจังหวัดชลบุรี เป็น Focal point ของเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 เรื่อง
งานยาเสพติด และได้แจกเอกสาร แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานบาบัดฟื้นฟูฯ ยาเสพติด
(ระยะเวลา 5 ปี) เพื่อให้ผู้บริหารนาไปศึกษาเพิ่มเติม และใช้เป็นหลักการในการพัฒนาทุกงาน
1.2 ปฏิทินรณรงค์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ปี 2556 ซึ่งเป็นงานที่มุ่งเน้น โดยในช่วงเดือน
มกราคม ตรวจคัดกรองสุขภาพ (Health Screening) สุขภาพประชาชน จานวน 1,300,000 คน แยกเป็นกลุ่มอายุ
และ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง ตามสุขภาวะ กลุ่มป่วยเรื้อรัง พิธีเปิดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ในวันที่ 8 มกราคม
2556
ช่วงเช้า ณ ศาลาเฉลิมพระเกียรติเทศบาลตาบลบางทราย /วันที่ 27 มกราคม 2556 มีกิจกรรมไฮไลต์ระดับเขต
“ครอบครัวยุคใหม่ ลูกหลานสุขใจ เดิน-วิ่ง ต้านภัยยาเสพติด” ณ บริเวณแหลมแท่น บางแสน จังหวัดชลบุรี เพื่อให้
ประชาชนตระหนักถึงอันตรายและภัยของยาเสพติด โดย นายสนธยา คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
เป็นประธานในพิธี , นพ.วิชัย เทียนถาวร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานร่วม ในงานวิ่งจะมีครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ 1,000 ครอบครัว
ผู้บริหารเดิน-วิ่ง 2 กิโลเมตร ขอให้สาธารณสุขอาเภอทุกแห่งมีส่วนร่วม และมีจังหวัดในเขตเข้ามาร่วมกิจกรรม
ด้วย / เดือนกุมภาพันธ์ : งานยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE), เครือข่ายสุขภาพอาเภอ / เดือนมีนาคม :
จังหวัดชลบุรี จะเน้นการดาเนินงานในเรื่องของการลดโรคเบาหวาน , ความดันโลหิตสูง ให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด
และจะมีการประชุม NCD Board เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์เบาหวานความดัน และจัดทาแผน SLM , SRM /เดือน
เมษายน : อาหารปลอดภัย , ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ / เดือนพฤษภาคม : โรคไข้เลือดออก ,วัณโรค /เดือนมิถุนายน :
มะเร็งปากมดลูก , มะเร็งเต้านม /เดือนกรกฎาคม : สุขภาพจิต , โรคซึมเศร้า , ฆ่าตัวตาย /เดือนสิงหาคม : แม่
และเด็ก กิจกรรมแม่และเด็ก /กันยายน : นาผลงานมาจัดมหกรรมสุขภาพ ในงานวิชาการร่วมกัน (งานทั่วไปต้อง
แล้วเสร็จภายใน 31 กรกฎาคม 2556)
กิจกรรมที่สาคัญ ในวันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2556 เชิญชวนผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้อง และสมาชิก
พอ.สว.เข้าร่วมรับเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ณ โรงเรียนบ้านหมื่น
จิต ต.คลองกิ่ว อ.บ้านบึง จังหวัดชลบุรี / วันที่ 18 มกราคม 2556 เซ็น MOU กับ ผอ.รพ. และสาธารณสุขอาเภอ ,
๔
หัวหน้ากลุ่มงานฯ ใน สสจ. 2556 และเชิญผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์ฯ ในแต่ละอาเภอเข้าร่วมประชุมด้วย ซึ่ง
ในปีนี้มี 66 ตัวชี้วัด และนาไปใช้ประกอบการพิจารณาความดีความชอบ
1.3 ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี แจ้งให้ทราบเรื่องการน้อมนาพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว สู่การปฏิบัติ
1.4 รณรงค์ป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ ช่วงเทศกาลปีใหม่
1.5 เชิญชวนใช้สิทธิเลือกตั้งซ่อม ในวันที่ 6 มกราคม 2556 ในเขต 2 จังหวัดชลบุรี
1.6 การร้องทุกข์ผ่านสายตรง ผู้ว่าราชการจังหวัด ใน web site จังหวัดชลบุรี รองผู้ว่าฯ
นายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ รับผิดชอบดูแลเรื่องการร้องเรียน ร้องทุกข์ ขอให้ผู้รับผิดชอบตอบกระทู้ภายใน 3 วัน
ทาการ ตอบอย่างสมเหตุสมผล ในกรณีร้องเรียนผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงานเป็นเรื่องลับ ให้ผู้บริหารมี
ปฏิกิริยาในการตอบ และดูแลสั่งการในการตอบกระทู้
1.7 ผู้ตรวจฯ มอบ 2 เรื่อง คือ หัวใจหลอดเลือด และทารกแรกเกิด ให้จังหวัดชลบุรีเป็นเจ้าภาพ
ในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 จะเชิญเครือข่ายจังหวัดชลบุรี หารือ ในวันที่ 9 มกราคม 2556
1.8 การบรรจุข้าราชการใหม่ จากนโยบายกระทรวงฯ จะมีการบรรจุข้าราชการที่เป็นลูกจ้าง
ประมาณ 30,188 อัตราทั่วประเทศ จะมีการบรรจุใน 3 ปี โดยในปี 2556 จะบรรจุประมาณ 7,547 อัตรา จากการ
สารวจปี 2556 มี 23 สายวิชาชีพ การบรรจุนับย้อนหลังสาหรับคนที่เป็น ลูกจ้างชั่วคราว ตั้งแต่ปี 2551 จะได้รับ
การบรรจุก่อน ไล่ตามลาดับ คุณสมบัติต้องมีวุฒิตรงตามสายวิชาชีพ ในพื้นที่ รพ.สต., รพ.พื้นที่ทุรกันดาร , รพช.
เปิดใหม่ จะได้รับการพิจารณาบรรจุให้ก่อน ซึ่งจากการสารวจของ จ.ชลบุรี ตามเกณฑ์ ได้ทั้งหมด 48 คน ใน
รพศ. 25 คน , สาหรับ รพช./สสอ. ให้ตรวจสอบเพื่อไม่ให้เสียสิทธิ จังหวัดจะรายงานกระทรวงฯ วันที่ 2
มกราคม 2556
มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ
ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองและติดตามรายงานการประชุม
ที่ประชุมมีมติรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2 ปีงบประมาณ 2556
ระเบียบวาระที่ 3 การนาเสนอผลงานเด่น
3.1 สสอ.บ้านบึง เรื่อง “หมอน้อยในครัวเรือน” โดย รพ.สต.บ้านเนินโมก ต.หนองอิรุณ อ.บ้าน
บึง จ.ชลบุรี เนื่องจากได้มีการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ พบว่าโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบ
ในกลุ่มอายุน้อยกว่าเดิม สภาพสังคม-ภาวะเศรษฐกิจส่งผลให้ขาดการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว จากข้อมูล รพ.
สต.บ้านเนินโมก มีผู้ป่วยเรื้อรัง เข้ารับบริการ จานวน 374 คน จาแนกเป็น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 288 คน ,
ผู้ป่วยเบาหวาน 86 คน มีเจ้าหน้าที่ 4 คน คิดเป็นสัดส่วนเจ้าหน้าที่ 1:94.5 , อสม.12 คน สัดส่วน 1:31.17 จึง
ได้จัดทาโครงการ “หมอน้อยในครัวเรือน” เป้าหมายที่ หมู่ 5 บ้านตาลดา มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 111 คน มีนักเรียน
ชั้น ป.4-ป.6 ในพื้นที่และมีผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จานวน 12 คน นามาจัดอบรมให้ความรู้ โดย
การประเมินผลก่อนและหลังการอบรม และมีการติดตามผล
แนวทางการทางานของหมอน้อย
ดูแลการรับประทานยาผู้ป่วยที่รับผิดชอบให้ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง ถูกเวลา ถูกขนาด ถูกวิธี / กระตุ้นให้
ผู้ป่วย
ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมกับโรคที่เป็น / นวดเท้า, มือ ให้กับผู้ป่วยเพื่อป้องกันมือเท้าชา และผลแทรกซ้อนจาก
การเกิดแผล/ ดูแลให้ผู้ป่วยไปรับกรตรวจและรับยาตามนัด / ประสานการนาผู้ป่วยไปเจาะเลือด, วัดความดันโลหิต
กับอาสาสมัครใกล้บ้าน
๕
ประเมินความสาเร็จ
อสม.ในเขตเยี่ยมประเมินทุก 2 สัปดาห์ , จนท.ประเมินทุกเดือน, อภิปรายปัญหาทุก 6 สัปดาห์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในบ้านนักเรียนที่ผ่านการอบรม “หมอน้อยในครัวเรือน” ได้รับการดูแลโดยใช้ความสัมพันธ์
ทางครอบครัว / เป็นการขยายเครือข่ายการดูแลด้านสุขภาพในชุมชน / นักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายจะไม่เจ็บป่วย
ด้วยโรคเรื้อรัง/ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคุมภาวะน้าตาล ความดันโลหิตอยู่ในค่าปกติ
ประธาน : ขอชื่นชม กิจกรรมนวตกรรม เบาหวาน, ความดัน แนวคิดสาคัญคือเรื่องความ
ครอบคลุมทั้งหมด ต้องเป็นกระบวนการที่มีคุณภาพและมีความต่อเนื่องยั่งยืน ในการดาเนินงานต้องมี
ข้อมูลที่ ครอบคลุมทั้งในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน ที่สาคัญคือ ต้องลดกลุ่มเสี่ยง
ไม่ให้เป็นกลุ่มป่วยต้องลดลง และกลุ่มป่วยเป็นกลุ่มแรกที่เราต้องสารวจว่ามีอยู่เท่าไหร่ ต้องไม่มีโรค
แทรกซ้อน ตา ไต เท้า หรือมีก็ต้องลดลง การรับยาต้องมีกระบวนการในการแก้ปัญหาเรื่องยาที่เหลือ
โดยแยกเป็นกลุ่มผู้ป่วย สีแดง สีเหลือง สีเขียว ในหลายแห่ง ใช้ย่ามในการใส่ยา แยกเป็นสีแดง สีเหลือง
สีเขียว โดยในแต่ละครั้งที่คนไข้กลับมารับยาจะต้องนาย่ามและยามาด้วย หากกินยาแล้วคุมน้าตาลไม่
อยู่ให้คืนยาเก่า แลกเอายาใหม่ไป การตัดเท้า ตัดนิ้ว ต้องน้อยลง คนไข้ต้องดูแลตัวเองได้ สาหรับ รพ.
สต. ในเดือนสิงหาคม ซึ่งมีการประเมินความดีความชอบจะเพิ่มการประเมินในส่วนของผลงานเบาหวาน
ความดัน ที่ได้รับการตรวจประเมินจากกลุ่มงานควบคุมโรคมาแล้วและมีผลงานที่โดดเด่น จะให้รางวัลทั้ง
ทีม ให้ไปดูงานต่างประเทศเพื่อเป็นขวัญ กาลังใจ
มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ
3.2 การนาเสนอผลงานเด่น เรื่อง “การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยา ในผู้ป่วยที่มี
การทางานของไตลดลง โดย เภสัชกรรชานนท์ หิรัญวงษ์ รพ.บางละมุง
ปัญหาและสาเหตุ (โดยย่อ) จากการสารวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอายุรก
รรมหญิงในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 พบว่าผู้ป่วยที่มีการทางานของไตลดลงได้รับขนาดยาที่เหมาะสม กับการ
ทางานของไตเพียงร้อยละ 57 สาเหตุของปัญหาอาจเกิดจาก การที่แพทย์ประจาหอผู้ป่วยไม่ได้รับข้อมูล ค่าการ
ทางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาที่เหมาะสม ขนาดตรวจรักษาผู้ป่วย
เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีการทางานของไตลดลง ได้รับขนาดยาที่เหมาะสม กับการทางานของ
ไต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 , เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าการทางานของไต ในกลุ่มผู้ที่ได้รับและผู้ที่
ไม่ได้รับการปรับขนาดยา ให้เหมาะสมกับการทางานของไตที่ลดลง
กิจกรรม
1. รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางานของไต ต่อยาทุกตัวในโรงพยาบาล และจัดทาเป็นคู่มือ
ให้ข้อมูลกับแพทย์
2. สืบค้นสูตรสาหรับคานวณค่าการทางานของไต ที่มีความเหมาะสมและมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ
นามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางานของไตที่ลดลงพร้อมกับสร้างเครื่องมือช่วยคานวณ
3. สร้างแบบบันทึกสาหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา ติดตามค่าการทางานของไตในผู้ป่วยและบันทึกผล
หลังจากการให้ข้อมูลจากแพทย์
4. กาหนดแนวทางการติดตามการให้ข้อมูล และอบรมเภสัชกร ประจางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน
5. ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ป่วยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข
๖
6. เมื่อพบการสั่งใช้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึงดาเนินการให้ข้อมูล และปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาด
ยาให้
เหมาะสมและดาเนินการติดตามต่อเนื่องจนผู้ป่วยถูกจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
ระเบียบวาระที่ 4 สถานการณ์ระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ทางระบาดวิทยาในเดือนธันวาคม 2555 ตรวจจับเหตุการณ์ที่ผิดปกติ จาก
เครือข่าย ได้แก่ โรคปอดบวม ในกลุ่มอายุ 0- 4 ปี (ศรีราชา ,พนัสนิคม, บ่อทอง) และโรคไข้หวัดใหญ่ ในกลุ่ม
อายุ
35-44 ปี (พนัสนิคม, ศรีราชา,บ้านบึง)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในระดับประเทศ มียอดสะสม จานวน 71,299 ราย เสียชีวิต 78 ราย 3
อันดับแรก ได้แก่ 1.) จ.กระบี่ อัตราป่วย 396.11 ต่อแสนประชากร 2) จ.ระยอง อัตราป่วย 341 ต่อแสน
ประชากร 3.) จ.สมุทรสาคร อัตราป่วย 232.57 ต่อแสนประชากร จังหวัดชลบุรี มีจานวนผู้ป่วย 1,765 ราย คิด
เป็นอัตราป่วย 136.87 ต่อแสนประชากร เป็นอันดับที่ 26 ของประเทศ อันดับ 4 ของเขต มีผู้ป่วยเสียชีวิต 4 ราย
อัตราป่วยตายร้อยละ 0.23
การสอบสวนโรคคอตีบ อ.บ่อทอง
วันที่ ๗ ธันวาคม 2555 รับแจ้งว่าพบผู้ป่วยด้วยโรคคอตีบ มีประวัติเคยเดินทางมาที่ ต.บ่อ
กวางทอง
จ.ชลบุรี กลับไปที่ จ.ขอนแก่น และเข้ารับการรักษาที่ รพช.เปลือยน้อย เก็บ TSC ผลตรวจพบ C.diptheria
Toxin negative ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 9 ปี ที่อยู่หมู่ที่ 4 ตาบลสระแก้ว อาเภอเปลือยน้อย จังหวัดขอนแก่น
เรียนชั้น ป.4
เริ่มป่วยเมื่อ วันที่ 23 พ.ย.2555 และเข้าร่วมงานแต่งงาน ที่หมู่ 9 ต.บ่อกวางทอง อ.บ่อทอง จังหวัดชลบุรี ใน
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2555 เดินทางกลับจังหวัดขอนแก่น วันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 เข้ารับการรักษาที่
โรงพยาบาลเปลือกน้อย วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 ด้วยอาการไข้ ไอ เจ็บคอ วันที่ 7 ธันวาคม 2555 เวลา
16.00 น.
ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วอาเภอบ่อทอง (SRRT) ได้ดาเนินการสอบสวนโรค
การควบคุม ป้องกันโรค
1. สอบสวนโรค เก็บ throat swab ผู้สัมผัสทั้ง 9 ราย ผลการตรวจไม่พบเชื้อก่อโรคคอตีบ
2. จ่ายยา Roxithromycin (150) เป็นเวลา 14 วัน
3. ฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (dT) ในผู้สัมผัส 9 คน เด็กไทยอายุ ๒ เดือน- ๖ ปี 169 คน (ให้วัคซีน DTP-
HB ) , ฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (dT) ในกลุ่มคนไทย อายุ 7-15 ปี จานวน 211 คน และ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
86 คน
4. ติดตามการกินยา และอาการหลังได้รับวัคซีนในผู้สัมผัสใกล้ชิด ไม่พบผู้ป่วยเพิ่ม
5. สถานบริการภายในอาเภอบ่อทอง พร้อมทั้ง อสม.ค้นหาและเฝ้าระวังโรคคอตีบ ตามนิยาม
6. ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับโรคคอตีบผ่านทาง อสม.ประจาหมู่บ้าน เพื่อเผยแพร่สู่ประชาชนทั่วไป
มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา
ไม่มีเรื่องแจ้ง
๗
ระเบียบวาระที่ 6 6.1 เรื่องจาก รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
ไม่มีเรื่องแจ้ง
6.๒ เรื่องจากหน่วยงานนอกสังกัด กระทรวงสาธารณสุข
6.2.1 รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา ประชาสัมพันธ์ ดังนี้
6.2.1.1 เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 150 ปี พระราชสมภพสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี
พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า จึงจัดให้มีการประกวดวาดภาพในหัวข้อ “พระมหากรุณาธิคุณ สมเด็จพระศรีสวรินทิ
รา
บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า” ชิงถ้วย และโล่พระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี
ส่งผลงานภายในวันที่ 18 มกราคม 2556 และตัดสินผลงานวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556
6.2.1.2 ขอเชิญร่วมประกวดภาพถ่าย ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี แบ่งเป็น
1. ภาพในอดีต “ภาพเก่า เล่าเรื่องเมืองศรีราชา” ภาพที่ถ่ายจากอดีตในเขตอาเภอศรีราชา-บางพระ-เกาะสีชัง
อายุความเก่าของภาพไม่ต่ากว่า 25 ปี
2. ภาพปัจจุบัน “ตามรอยเสด็จฯพระพันวัสสาฯ ณ ศรีราชา” (เกาะลอย ตลาดศรีราชา โรงพยาบาลสมเด็จฯ
วัดบางพระวรวิหาร)
ส่งภาพถ่ายได้ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 25 มกราคม 2556 ตัดสินภาพถ่ายในวันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2556
6.2.1.3 โครงการสมเด็จย่ารักษ์ดวงตา จะผ่าตัดตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ สิทธิประกัน
สุขภาพ 150 ดวงตา จะเริ่มการผ่าตัดในเดือนมิถุนายน 2556 โดยมีการคัดกรองในวันที่ 2 พฤษภาคม 2556 หาก
รพ.ใดมีคิวผ่าตัดมาก หากต้องการให้ รพ.สมเด็จฯ ดาเนินการ สามารถติดต่อส่งมาได้ ในวันที่ 2 พฤษภาคม
2556
6.3 เรื่องจากหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข
6.3.1 สคร.3 ชลบุรี แจ้งว่า : ได้รับการประสานจากอธิบดีกรมควบคุมโรค เรื่องการตรวจ
เยี่ยม พื้นที่จังหวัดชลบุรี ในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลปีใหม่ วันที่ 30 ธันวาคม 2556 โดยขอ
ประสานในการเยี่ยมจุดตรวจหรือจุดบริการ 1 จุด และ ขอประสานในการเข้าตรวจเยี่ยม รพศ.ชลบุรี ด้วย
6.3.2 โครงการลดอุบัติภัย/ลดอุบัติเหตทางถนน กรมควบคุมโรคเป็นเจ้าภาพหลัก ได้รับทุน
สนับสนุนจาก สสส. รายละเอียดจะประสานอีกครั้ง ในเบื้องต้นจะมีงบประมาณสนับสนุนให้จังหวัดดาเนินการ
เน้นเรื่องมาตรการบังคับใช้กฎหมาย สถานีตารวจภูธร ประมาณการเดือนละ 5,000 บาท ในส่วนกระบวนการ
ทางานตามวัตถุประสงค์ กับการบูรณาการ , พัฒนาระบบฐานข้อมูล ,การจัดการการข้อมูลในระดับจังหวัด ซึ่ง
จังหวัดชลบุรี ได้รับการคัดเลือก เป็น 1 ใน 13 จังหวัด ที่อยู่ในเขต สคร. 12 เขต ในเขตของ สคร.3 จังหวัด
ชลบุรี เป็นพื้นทีนาร่องต้นแบบในระดับประเทศ งบประมาณสนับสนุนในจังหวัดในภาพรวมของอุบัติภัย/อุบัติเหตุ
ในระดับจังหวัดเดือนละ 50,000 บาท รายละเอียดจะอยู่ในโครงการและจะประสานให้ทราบในโอกาสต่อไป
นพ.อัษฎา ตียพันธ์ (ผอ.รพศ.ชลบุรี) : รับทราบและจะประสานในรายละเอียดของการตรวจ
เยี่ยม
ประธาน : เรื่องการลงตรวจเยี่ยมที่ รพศ.ชลบุรี ของอธิบดีกรมควบคุมโรค ฝากท่าน
ผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี ในการจะประสานผู้รับผิดชอบในรายละเอียดการตรวจเยี่ยมอีกครั้ง
๘
มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ
6.3.3 รพศ.ชลบุรี (นพ.อัษฎา ตียพันธ์) : หารือ ในเรื่องของปัญหาอุปสรรค ของ รพศ.
ชลบุรี
ในเรื่องของความแออัด ซึ่งพบว่ามีพยาบาล และเจ้าหน้าที่ลาออกหลายคน จึงขอหารือในกรณีที่คนไข้ที่อยู่ในระยะ
End of life จากการสารวจพบว่ามีคนไข้ที่ไม่รู้จะช่วยเหลืออย่างไร คือต้องรออย่างเดียว ประมาณ 70 กว่าเตียง
คนไข้ใหม่ที่เข้ามาและรักษาได้ก็มีจานวนเตียงรองรับน้อยลง คนไข้อายุรกรรม พบว่ามี คนไข้ที่ควรดูแลที่บ้าน
หรือควร refer กลับประมาณ 48 คน ประเด็นคือกรณีที่คนไข้ส่งมาจาก รพช. และคนไข้ต้อง End of life และต้อง
ใช้เครื่องช่วยหายใจ ปัญหาคือ รพช.จะไม่ใส่เครื่องช่วยหายใจเด็ดขาด กองไว้ที่ รพศ.ชลบุรี จึงขอความกรุณารับ
กลับคนไข้เหล่านี้ไปดูแล หรือกลับไปชุมชน กลับบ้านไปดูแล โรคที่อยู่ใน End of life care ส่วนใหญ่เป็นโรค
เรื้อรัง และนอนโรงพยาบาล ปัญหาคือจะรักษาคนไข้ที่พอจะรักษาได้ อย่างไร ? จานวนพยาบาลของ รพศ.ชลบุรี
อัตรากาลังเจ้าหน้าที่ต่อภาระงาน คือ ต้องมี 1,000 คน แต่มีพยาบาลอยู่เพียง 600 คน เนื่องจากภาระงานหนัก
จึงไม่มีคนสมัคร
ประเด็นเสนอ
1. ความแออัด
2. รพ.ขนาดใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีทั้งหมด 4 โรง ได้แก่ รพศ.ชลบุรี ,รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา, รพ.สมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิต์ , รพ.ม.บูรพา น่าจะมีการเฉลี่ยคนไข้ เพื่อการรักษา
3. กรณีที่ refer มา 1 ราย ให้รับกลับไป 1 ราย (ในส่วนตรงนี้ยังเป็นข้อตกลงหรือไม่) โดยขอเวลาในการ
จัดเตรียมคนไข้ไม่เกิน 45 นาที ขอให้คนขับรถรอเพื่อรับคนไข้กลับด้วย
ประธาน : เป็นข้อมูลแก่ผู้บริหาร รพช. และ ผู้บริหารจังหวัดรับทราบปัญหา ประเด็นในแง่
ของระบบบริการ คงต้องมีการหารือกันในเรื่องกรอบ service plan การพัฒนาแผนโครงสร้าง และแผน
คุณภาพ ที่จะต้องพัฒนาต่อไป จะหารือกันในวันที่ 9 มกราคม 2556 ทราบว่าเคยหารือกันมาแล้วใน
ระดับหนึ่ง ในส่วนของ รพ.พนัสนิคม (M2) รพ.แหลมฉบัง , รพ.บางละมุง(S) ว่าศักยภาพต้องทาได้ระดับ
ไหน จะมีการพัฒนาขีดความสามารถ ในส่วนของ รพศ.ชลบุรี คงต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมว่าคนไข้ใน
รพศ.ชลบุรี ทั้ง IPD และ OPD เป็นคนไข้ในเขตเมือง กี่เปอร์เซ็นต์ , คนไข้เขตอาเภอ ส่งต่อมากี่
เปอร์เซ็นต์, คนไข้นอกเขตกี่% กลุ่มที่ไม่ขึ้นทะเบียน ที่เป็นแรงงานต่างชาติ และต้องแยกสิทธิ UC /
ข้าราชการ /ประกันสังคม ซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องนามาใช้ในการหารือกัน โดยให้กลุ่มงานใน สสจ.นาข้อมูล
เข้ามาหารือกัน ในวันที่ 9 มกราคม 2556
จากข้อมูลเบื้องต้นจากการนาเสนอของ รพศ.ชลบุรี คนไข้ใน End of life ทั้งที่ใช้
เครื่องช่วยหายใจและไม่ใช้ จากการส่งต่อจะทาอย่างไรในการส่งคืนกลับไป ความสาเร็จไม่ได้อยู่ที่ทีม
แพทย์อย่างเดียว ขึ้น
อยู่กับพยาบาลด้วย เครือข่ายพยาบาลจะต้องเข็มแข็งรองรับได้ ในการพัฒนาต้องควบคู่กันไป ต้องเชิญ
หัวหน้ากลุ่มการพยาบาลทั้งรพศ. รพช. รวมทีมหารือกัน และยอมในการพัฒนาคุณภาพ ต้องมี
เป้าประสงค์ร่วมกันในการพัฒนา ทุกแห่งต้องช่วยกัน เช่น การผ่าตัดไส้ติ่ง หารือกันว่าทาอย่างไร การ
ผ่าตัดจะอยู่ใน รพ.แม่ข่ายได้ หรือจะทาอย่างไรถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องไปผ่าตัดที่ รพ.เอกชน ถ้ารพ.
เอกชนสามารถรองรับได้ เป็นสิ่งที่ต้องวิเคราะห์หารือร่วมกันในหน่วยงานของเราก่อน ในโอกาสต่อไปจึง
จะ connect กับหน่วยงานอื่น เช่น รพ.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ,
รพ.สมเด็จ ฯ ณ ศรีราชา, รพ.มหาวิทยาลัยบูรพา สุดท้ายจะหารือ รพ.เอกชนด้วย ภารกิจ รพศ. ซึ่งเป็น
๙
รพ.
ที่จะต้องรองรับเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 ด้วย
นพ.วิชัย ธนาโสภณ (ผชช.ว) รอง นพ.สสจ.ชลบุรี : ในเรื่องของการ refer ต้องมีการพูดคุย
กันในรายละเอียดอีกครั้ง จานวนเตียง รพ.ในจังหวัดชลบุรี เมื่อเทียบกับจานวนประชากร มีจานวนเตียงน้อยมาก
ซึ่งในจังหวัดชลบุรี มีประชากรแฝงจานวนมาก จึงเป็นรายละเอียดที่ต้องพูดคุยกัน ในเรื่องของการเงินซึ่งปัญหาที่
เกิดขึ้นมีทั้งในส่วนที่เป็นปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ในการจ่ายเงินก็จ่ายตามจริงเต็มเพดาน การใช้ case
ที่แพง ควรถูก Audit ซึ่งจะต้องนามาพูดคุยกัน
ประธาน : เชื่อมั่นในศักยภาพของ ผอ.รพศ.ชลบุรี (นพ.อัษฎา ตียพันธ์) ทาง สสจ.และ
ทีมงาน ถ้ามีโอกาสช่วยได้ ก็ยินดีช่วยเหลือ ในเรื่องของงบประมาณ เงินในระบบของ UC สาหรับ OPD
จัดให้แล้ว , IPD จะอยู่ CMI ที่ทาง รพ.จะไปทา ส่วน งบฯ PP จ่ายตามเกณฑ์ กาลังประมวลอยู่ ส่วน
ศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยข้าราชการและประกันสังคม ค่อนข้างมาก เมื่อมีงบประมาณเข้ามาก็จะช่วยได้
มาก
นพ.จุมพล พบสุข (รพ.บ้านบึง) : หลักเกณฑ์การ refer ยังคงเหมือนเดิม และยินดีรับกลับ
ปัญหาคนขับรถไม่รอ ในส่วนนี้ก็ต้องค่อยๆ แก้ไขไป ประเด็นคือ เคยถูกร้องเรียน ว่า คนไข้ที่รับกลับ ไม่ดีขึ้น รับ
ไปแล้วก็ต้องส่งกลับมาที่ รพศ.ชลบุรีใหม่ ไปมาจนคนไข้เสียชีวิต ก็ถูกร้องเรียนอยู่
สสอ.สัตหีบ (นายสมศักดิ์กีรติหัตถยากร) : แจ้งย้ายที่ทาการ สสอ. มาอยู่ในเขตพื้นที่ของ รพ.สัตหีบ
กม. 10 โทร. 038-245330 Fax.038-245339
6.๔ เรื่องจากกลุ่มงานในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
6.4.1 คุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข
6.4.1.1 สรุปผลการตรวจกระเช้าของขวัญปีใหม่ สสจ.ชลบุรี ร่วมตรวจกับ สสอ.เมือง/บางละ
มุง/ศรีราชา และขอความร่วมมือ สสอ./รพช.ทุกแห่ง ตรวจในเขตที่รับผิดชอบ ดาเนินการตรวจสอบสถานที่
จาหน่ายกระเช้าของขวัญปีใหม่ทั้งหมด 134 แห่ง พบการแสดงฉลากอาหารถูกต้อง ทั้งหมด 131 แห่ง คิดเป็น
ร้อยละ 97.76 พบการแสดงฉลากอาหารไม่ถูกต้อง ทั้งหมด 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 2.24 ข้อบกพร่องที่พบ ได้แก่
ไม่มีการแสดงฉลากอาหารรวมไว้ที่กระเช้าของขวัญ 1 แห่ง (บางละมุง) และไม่มีการแสดงวันเดือนปีที่หมดอายุ 2
แห่ง (ศรีราชา 1/เมือง 1) ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้แนะนา ตักเตือนให้แก้ไขทันที, ตรวจสอบสภาพสินค้าพบว่า อยู่ในสภาพ
ปกติทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100
6.4.1.2 การจับกุม ขายยาแก้หวัดผสมซูโดเอฟรีดรีน
เมื่อวันที่วันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๕ ให้สายลับติดต่อขอซื้อยาสูตรผสมซูโดเอฟรีดรีน และให้นา
ยาอื่นๆ มาให้ดูด้วย นัดหมายส่งมอบยาที่ร้านแมคโดนัลล์ เซ็นทรัล ชลบุรี พบเป็นผู้แทนบริษัทยาเขตภาค
ตะวันออก จาหน่ายยาทั้งหมด ๘ จังหวัด
แจ้งข้อกล่าวหา พระราชบัญญัติยา ๒๕๑๐
ขาย หรือ นาหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกไม่เกิน ๕ ปี
และปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท) ขาย หรือนา หรือสั่งเข้ามาใน ราชอาณาจักรซึ่งยาที่มิได้ขึ้นทะเบียนตารับยา
(จาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ๒๕๑๘
๑๐
ขาย นาเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกตั้งแต่ ๕-๒๐ ปี
และปรับ
ตั้งแต่ ๑๐๐,๐๐๐-๔๐๐,๐๐๐ บาท) ครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ใดๆซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท โดยไม่ได้รับ
อนุญาต(จาคุกตั้งแต่ ๑-๕ ปี และปรับตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ บาท) ขาย นาเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน
ประเภท ๔ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต (จาคุกไม่เกิน ๕ ปี และปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท) ขาย หรือ
นาเข้า ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุตารับแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้ (โทษจาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับปรับไม่
เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
6.4.1.3 การจับกุม ลักลอบฉีดโบท๊อกซ์/กลูต้าไธโอน ในร้านเสริมสวย
เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ ส่งสายลับเข้าไปรับบริการฉีด กลูต้าไธโอน และร้อยไหม ณ
ร้านเสริมสวยชื่อ บิวตี้แฮร์คัท น้อง เลขที่ ๑๙/๑๐ หมู่ ๖ ถนนเทศบาล ๗ ตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา จังหวัด
ชลบุรี แจ้งข้อกล่าวหา พระราชบัญญัติยา พ.ศ.๒๕๑๐ ขายหรือนา หรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาที่มิได้ขึ้น
ทะเบียน
ตารับยา (จาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล ๒๕๔๑
ดาเนินการสถานพยาบาล โดยไม่ได้รับอนุญาต ประกอบกิจการสถานพยาบาล โดยไม่ได้รับอนุญาต
(จาคุก
ไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ และศาลจะสั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใช้ในการประกอบ
กิจการสถานพยาบาลด้วยก็ได้)
พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม ๒๕๒๕
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงด้วยวิธีใดๆ ว่าพร้อมที่จะประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิได้เป็นผู้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (จาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท๒๕๑๘
ขาย นาเข้า ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกตั้งแต่ ๕ - ๒๐ ปี และปรับตั้งแต่
๑๐๐,๐๐๐ - ๔๐๐,๐๐๐ บาท) ครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ใดๆ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท โดยไม่ได้รับอนุญาต
(จาคุกตั้งแต่ ๑-๕ ปี และปรับตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ บาท)
ประธาน : ให้ผู้บริหารในระดับอาเภอ เฝ้าระวังเชิงรุก โดยเฉพาะในเขตพัทยา เพราะเป็น
เมืองท่องเที่ยว หากมีข้อมูลการกระทาที่ผิดกฎหมาย ให้แจ้งมาที่ สสจ.ชลบุรี เพื่อประสานลงตรวจสอบ
และดาเนินการ ก่อนที่จะเป็นข่าว
6.4.2 กลุ่มงานควบคุมโรค
6.4.2.1 แนวทางการประเมินผลงานตามมาตรการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และ
NCD ปี 2556 สืบเนื่องจากเป้าหมายและตัวชี้วัด สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ
2556 มีทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด
1. หมู่บ้าน/ชุมชนสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (3อ. 2ส.) เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25(562)
2. รพ.สต.ขนาดใหญ่ ผ่านเกณฑ์ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ตามมาตรฐานที่กาหนด เป้าหมาย
ระดับดีมาก
>ร้อยละ 25
3. ประชาชนอายุ15 ปีขึ้นไป พระภิกษุ สามเณร และผู้นาศาสนาได้รับการคัดกรอง DM & HT ร้อยละ 90
4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ DM (pre-DM) ป่วยเป็น DM เป้าหมาย < ร้อยละ 5
๑๑
5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ HT(pre-HT) ป่วยเป็น HT เป้าหมาย < ร้อยละ 10
6. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ เป้าหมาย < ร้อยละ 4
7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) เป้าหมาย ร้อยละ 60
8. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) เป้าหมาย ร้อยละ 60
9. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ไต) เป้าหมาย ร้อยละ 60
10. อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดลดลง ร้อยละ 1
11. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองลดลง ร้อยละ 2
เกณฑ์ประเมินผลการคัดกรองเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง สาธารณสุขอาเภอ ทุกอาเภอ
(ตุลาคม 2555 - กุมภาพันธ์ 2556) ตัวชี้วัดสาคัญ การคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง แบ่งสีผลสาเร็จของ
งานเป็น 3 สี คือ สีเขียว , สีเหลือง, สีแดง การคัดกรองในกลุ่มอายุ 15 ปี 90% , 35 ปี 90% , 60 ปี 100%
ในช่วงอายุ 15 – 18 ปี ให้พื้นที่มีการคัดกรองในโรงเรียน ความครอบคลุม > ร้อยละ 71 (สีเขียว) , ความ
ครอบคลุม ร้อยละ 51-70 (สีเหลือง) , ความครอบคลุม < ร้อยละ 50 (สีแดง)
เกณฑ์ประเมินการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ในโรงพยาบาลทุกอาเภอ (ตุลาคม 2555 - กุมภาพันธ์
2556)
ตัวชี้วัดสาคัญ การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) ร้อยละ 60 ความครอบคลุม > ร้อยละ 45 (สีเขียว) ,ความ
ครอบคลุม ร้อยละ 31-44 (สีเหลือง) , ความครอบคลุม < ร้อยละ 30 (สีแดง)
เกณฑ์การประเมินค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย HI (รายตาบล) ค่ามาตรฐานดัชนีลูกน้ายุงลาย HI ≤ 10
(ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ายุงลาย) ค่า HI < 10 (สีเขียว) , ค่า HI 11 – 29 (สีเหลือง), ค่า HI > 30 (สีแดง)
เกณฑ์การประเมินค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย CI (หน่วยงานสาธารณสุข, โรงเรียน , วัด) ค่ามาตรฐานดัชนี
ลูกน้ายุงลาย CI = 0 (ร้อยละของภาชนะที่พบลูกน้ายุงลาย) ค่า CI < 0 (สีเขียว) , ค่า CI 1 – 9 (เหลือง), ค่า CI >
10 (สีแดง)
ตาบลใดมี Case Dead ทีมสานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี และทีมสานักงานสาธารณสุขอาเภอ
ร่วมดาเนินการควบคุมโรค
เป้าหมายเฉพาะโรคไข้เลือดออก ปี 2556 คือ การลดผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก, ป้องกันการเสียชีวิต
ลดลง
ร้อยละ 50 เน้นพัฒนาในการวินิจฉัย รักษาโรคไข้เลือดออก วันที่ 8-9 มกราคม 2556 มีประชุม ณ ห้องวิริยกิจจา
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
6.4.2.2 ผลการฉีดวัคซีนคอตีบ เมื่อฉีดวัคซีนแล้วให้ Key ข้อมูลในโปรแกรม 21 แฟ้มด้วย
สาหรับวัคซีน MMR กรมควบคุมโรค ขอความร่วมมือในการกระจายวัคซีนให้ประชาชนคนไทย ในปีใหม่
ส่วนกลางจะส่งมาให้ 50,000 โดส สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี จะประชุมโรงงานทั้งหมดในจังหวัดชลบุรี วันที่
8 มกราคม 2556 หลังวันที่ 8 มกราคม 2556 จะมีการกระจายวัคซีนให้โรงงาน เป็นการกากับ VMI ของทุก
โรงพยาบาล
6.4.2.3 สคร.ประสานการตรวจเยี่ยมของ อธิบดีกรมควบคุมโรค วันที่ 30 ธันวาคม 2555
ประสานจุดตรวจที่ท่าข้าม อาเภอพนัสนิคม และ หนองกะขะ อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี
ประธาน : มอบกลุ่มงานควบคุมโรค และกลุ่มงานทรัพยากรบุคคลฯ ประสานกับ สคร.ใน
รายละเอียด ในการตรวจเยี่ยมตามจุดเยี่ยมและ รพศ.ชลบุรี
๑๒
6.4.3. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
6.4.3.1 โครงการ “ครอบครัวยุคใหม่ ลูกหลานสุขใจ เดิน-วิ่ง ต้านภัยยาเสพติด” วันอาทิตย์ที่ 27
มกราคม 2556 ณ ลานเอนกประสงค์แหลมแท่น ต.แสนสุข เมืองชลบุรี ซึ่งเป็นกิจกรรมโครงการเด่นของเครือข่าย
บริการสุขภาพที่ 6 วัตถุประสงค์ เพื่อรณรงค์สร้างกระแสต่อต้านยาเสพติด ครอบครัวยุคใหม่หันมาดูแลเอใจใส่
ลูกหลานเพื่อต้านภัยยาเสพติด เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพตนเองด้วยการเดิน-วิ่ง
กาหนดการ วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม 2556 รมต.สาธารณสุข เป็นประธานร่วมกับ รมต.วัฒนธรรม
มี 2 กิจกรรม คือ วิ่ง 10.5 กม. และ เดิน 5 กม. เป็นกิจกรรมที่เน้นเป็นครอบครัว พ่อ แม่ ลูก มาเดิน-วิ่ง ด้วยกัน
ขณะนี้อยู่ระหว่างประสาน ผู้เข้าร่วมงานลงทะเบียน จะได้รับเสื้อ มีจานวน 3,000 ตัว ผู้ที่จะได้รับเหรียญที่ระลึก
และถ้วยรางวัล ต้องเดิน-วิ่ง ผ่านจุดที่กาหนดครบทุกจุด การรับสมัคร (ฟรีค่าลงทะเบียน) หน้างาน หรือ ดาวน์
โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซท์สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ขอความร่วมมือในการประสานทุกอาเภอ
ดาเนินการตามเป้าหมาย
6.4.3.2 กีฬาสาธารณสุขเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 วันที่ 4 - 6 กุมภาพันธ์ 2556 ณ สนามกีฬา
สถาบันการพลศึกษาจังหวัดชลบุรี กีฬาที่จัดแข่งขัน รวม 12 ประเภท ณ สนามแข่งขันกีฬา ณ สถาบันการพล
ศึกษาวิทยาเขต ชลบุรี คณะกรรมการตัดสินจากสถาบันพลศึกษา เปิดการแข่งขัน และงานเลี้ยง ในวันที่ 5
กุมภาพันธ์ 2556 จะมีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในแต่ละคณะ ในวันที่ 8 มกราคม 2556
6.4.3.3 การแข่งขันกีฬาสาธารณสุข ระดับภาคและกระทรวง กาหนดการแข่งขันกีฬาภาคกลาง วันที่
11-13 ก.พ. 2556 จ.ชลบุรี ประเภทกีฬาเพื่อคัดเลือกตัวแทน ได้แก่ ฟุตบอล 2 ทีม , กีฬากระทรวงกาหนดแข่งขัน
ที่ 18-22 ก.พ. 2556 ณ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีพิธีเปิดวันที่ 21 ก.พ. 56 เวลา 17.00 น. และประกวดกอง
เชียร์ พิธีปิด วันที่ 22 ก.พ. 2556 การแข่งขันฟุตบอล VIP และประกาศรางวัล, มอบถ้วย
ประธาน : เชิญท่านสาธารณสุขอาเภอ และผู้เกี่ยวข้อง เข้าประชุมเดิน-วิ่ง ต้ายภัยยาเสพ
ติด ในวันที่ 3 มกราคม 2556 เวลา 09.00 น. จะมีหนังสือแจ้งเชิญประชุมอีกครั้ง สาหรับกีฬาสาธารณสุข
เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 เชิญประชุมวันที่ 8 มกราคม 2556
นพ.วิชัย ธนาโสภณ (ผชช.ว.) รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด : 1.) เรื่องวัคซีน MMR
ขอให้ระมัดระวังในการฉีดวัคซีนในคนท้อง หรือฉีดแล้วไปท้อง / 2.) จากการ conference กับผู้ตรวจฯ ขอให้
เตรียมความพร้อมเรื่องอุบัติเหตุ และเน้นย้าเรื่องโรคไข้เลือดออก โดยได้กาชับค่า HI CI ในระดับจังหวัดชลบุรี
ต่อไปจะมีผลต่อการพิจารณาความดีความชอบด้วย สาหรับในรายละเอียดในตัวชี้วัดจากกลุ่มงานจะแจ้งให้ทราบ
อีกครั้ง / 3.) การจัดซื้อยาร่วม ท่านผู้ตรวจฯ มอบหมายให้จังหวัดชลบุรี เป็น center ในการจัดซื้อยาร่วม
ดาเนินการร่วมกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นเลขาฯ และกาชับให้ดาเนินการอย่างจริงจัง ภายในมกราคม 2556 นี้
น่าจะแล้วเสร็จ / 4.) เร่งรัด การก่อหนี้ผูกพัน สาหรับจังหวัดชลบุรี ที่ รพ.บางละมุง (อายุรกรรม , ผู้ป่วยนอก)
เร่งรัดการก่อหนี้ผูกพัน ดาเนินการ
ให้ได้ 15% ในไตรมาสแรก
มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ
ประธาน : ขอขอบคุณ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ทุกท่าน และทุก
หน่วยงาน
ทุกท่าน ร่วมกันปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข เพื่อประชาชนจังหวัดชลบุรีด้วยดีมาตลอด รวมถึงการบริหาร
๑๓
จัดการงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับแนวหน้าในหลายๆ เรื่อง ในระดับประเทศ และอวย
พรปีใหม่ พร้อมเชิญร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน ณ ห้องอาหารศรีนิยม จังหวัดชลบุรี
ระเบียบวาระที่๕ เรื่องอื่น ๆ ไม่มีเรื่องแจ้ง
ปิดประชุมเวลา 12.00น.
นางจรรยา สันติมัค บันทึกรายงานการ
ประชุม
นางผาสุข สุวรรณจิตต์ ตรวจรายงานการ
ประชุม

Mais conteúdo relacionado

Mais de Rachanont Hiranwong

หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
Rachanont Hiranwong
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
Rachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
Rachanont Hiranwong
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 

Mais de Rachanont Hiranwong (20)

ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 

รายงานการประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล ครั้งที่ 3  ปีงบประมาณ 2556

  • 1. สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล ครั้งที่ 3 ปีงบประมาณ 2556 วันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุมวิริยกิจจา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี รายชื่อผู้เข้าประชุม ๑. นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ประธาน 2. นพ.วิชัย ธนาโสภณ นายแพทย์เชี่ยวชาญ ด้านเวชกรรมป้องกัน 3. นางรุ่งทิวา พานิชสุโข นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ด้านส่งเสริมพัฒนา 4. นายเสรี เจตสุคนธร รก.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ 5. นางอัจฉรา เกตุรัตนกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.ชลบุรี 6. นางรติกร ประเสริฐไทยเจริญหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ สสจ.ชลบุรี 7. นายรัก ธนะไพบูลย์ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ สสจ.ชลบุรี 8. นางเบ็ญจวรรณ วิจารณปัญญา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.ชลบุรี 9. นางศิริวรรณ มุลิ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชลบุรี 10. ทพญ.อังคณา มากมาย หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.ชลบุรี 11. นางจันทณา วังคะออม หัวหน้ากลุ่มงานทรัพยากรบุคคลฯ สสจ.ชลบุรี 12. นายสมพงษ์ สุรินทร์ หัวหน้ากลุ่มงานนิติการ 13. น.ส.พรทิพา วรเวช แทน หัวหน้ากลุ่มงานบริหารทั่วไป 14. นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผู้อานวยการโรงพาบาลชลบุรี 15. นพ.พิชัย ศิริพรพาณิชย์ รองผู้อานวยการโรงพยาบาลชลบุรี 16. พญ.อาภรณ์ อุบลสะอาด ผู้อานวยการโรงพยาบาลเมืองชลบุรี 17. นพ.จุมพล พบสุข ผู้อานวยการโรงพยาบาลบ้านบึง 18. นพ.ประยุทธ หมื่นหน้า ผู้อานวยการโรงพยาบาลพนัสนิคม 19. นพ.กรณ์พงศ์ วิเชียรประไพ ผู้อานวยการโรงพยาบาลพานทอง 20. นพ.สุกิจ พึ่งเกศสุนทร ผู้อานวยการโรงพยาบาลแหลมฉบัง 21. นพ.ปัณณวัฒน์ มงคลรัตนกูล แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลบ่อทอง 22. นพ.อุดม อัศวุตมางกุร ผู้อานวยการโรงพยาบาลวัดญาณสังวราราม ๒3. พญ.แววดาว พิมลธเรศ ผู้อานวยการโรงพยาบาลหนองใหญ่ 24. น.ส.ธนันญา ทองปั้น แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสัตหีบ กม.10 25. นพ.สุกิจ พึ่งเกศสุนทร รก. ผู้อานวยการโรงพยาบาลเกาะสีชัง 26. นายสมประสงค์ ปิวไธสงค์ รก. สาธารณสุขอาเภอเมือง 27. นายวิโรจน์ มุมานะจิตต์ สาธารณสุขอาเภอบ้านบึง 28. นางนันทาวดี ทองอินทร์ รก. สาธารณสุขอาเภอศรีราชา 29. นายสมศักดิ์ กีรติหัตถยากร สาธารณสุขอาเภอสัตหีบ 30. นายสหภูมิ เดชธนภิรมย์ สาธารณสุขอาเภอบางละมุง 31. น.ส.สมฤดี สุขอุดม สาธารณสุขอาเภอพนัสนิคม 32. นายกมนต์ อินทรวิชัย สาธารณสุขอาเภอพานทอง 33. นายชลิต ไทยอุทิศ สาธารณสุขอาเภอบ่อทอง 34. นายสมพล จิตติเรืองเกียรติ สาธารณสุขอาเภอหนองใหญ่
  • 2. ๒ ๓5. นายกิตติ บุญรัตนเนตร สาธารณสุขอาเภอเกาะสีชัง 36. นายกิตติวัฒน์ สกุลวัฒนานนท์ สาธารณสุขอาเภอเกาะจันทร์ 37. ดร.วิบูลย์ลักษณ์ ปรียาวงศากุล ผอ.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี 38. นายสุวัฒนา ค่านคร ผู้อานวยการวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี 39. น.ส.วัลลภา พ่วงขา แทน ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ม.บูรภา 40. น.ส.มยุรี ลามะไหย์ แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา 41. น.อ.กิติศักดิ์ สายนุช แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 42. น.ส.วันวิสาข์ แทน ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชลบุรี 43. นายสนิท ทวีกุล แทน ผู้อานวยการศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ที่ ๘ ชลบุรี 44. นางกรชนก วุฒิสมวงค์กุล แทน ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชฯ ญาณสังวรเพื่อ ผู้สูงอายุ 45. นางมาลี เกิดพันธุ์ แทน ผู้อานวยการศูนย์ควบคุมป้องกันโรคที่ 3 ชลบุรี 46. นายมานะ กมลธเนศ เทศบาลเมืองแสนสุข 47. นางเพชรรัตน์ อุดมทัศณีย์ เทศบาลเมืองศรีราชา 48. นางผาสุข สุวรรณจิตต์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสจ.ชลบุรี เลขานุการ 49. นางจรรยา สันติมัค นั ก วิเคราะห์ น โย บ าย แ ละแ ผ น ช าน าญ การ สส จ.ช ลบุ รี ผู้ช่วยเลขานุการ 1 50. นางวิจิตรา นวลรัตน์สกุล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสจ.ชลบุรี ผู้ช่วยเลขานุการ 2 ผู้เข้าร่วมประชุม 1 ภก.รชานนท์ นิรัญวงษ์ เภสัชกรปฏิบัติการ รพ.บางละมุง (นาเสนอผลงานเด่น) 2. นางกษิรา บุญวัฒนเจริญ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ สสอ.บ้านบึง (นาเสนอผลงานเด่น) 3. นางสุภาพร พุทธรัตน์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ สคร.3 ชลบุรี 4. นางขวัญยืน โบขุนทด นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ 5. นายจีระสันต์ มีรัตน์ เภสัชกรชานาญการ 6. น.ส.นลิน ไตรยราช เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน 7. น.ส.บุศรินทร์ ถิ่นสูง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 8. นายณัฐวุฒิ การุณเกียรติกุล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ผู้ไม่มาประชุมเนื่องจากติดราชการ 1. นางอุไรวรรณ ประสิทธิพงษ์ หน.ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลงที่ 3.1 อ.ศรีราชา 2. ดร.สลักจิต ชุติพงษ์วิเวท ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชลบุรี 3. นพ.บุญแสง บุญอานวยกิจ ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี 4. นางสุจินดา สุขกาเนิด ผู้อานวยการศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนฯ 5. นพ.กิติศักดิ์ เทพสุวรรณ ผู้อานวยการโรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี 6. พ.อ.ปณิธาน เปมะโยธิน ผู้อานวยการโรงพยาบาลค่ายนวมินทราชินี 7. นพ.พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ ผู้อานวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ม.บูรพา 8. พล.ร.ต.อเนก ตันติวรสิทธิ์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์ 9. องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี 10. เมืองพัทยา
  • 3. ๓ 11. เทศบาลนครแหลมฉบับ 12. เทศบาลเมืองชลบุรี 13. เทศบาลเมืองพนัสนิคม 14. เทศบาลเมืองบ้านบึง 15. เทศบาลเมืองหนองปรือ 16. เทศบาลเมืองบ้านสวน เปิ ดประชุมเวลา 09.40 น. กิจกรรมก่อนวาระการประชุม • พิธีประดับบ่าเครื่องหมายตาแหน่งบนอินทรธนู ระดับเชี่ยวชาญ แก่ นางรุ่งทิวา พานิชสุโข โดย นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี • นพ.สมิต ประสันนาการ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี แสดงความยินดี และต้อนรับ นพ.อัษฎา ตียพันธ์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี คนใหม่ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 ได้แจกเอสารให้กับผู้บริหารทุกหน่วยงานเพื่อศึกษา เรื่อง “วิสัยทัศน์และตัวชี้วัดการ ดาเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข” ซึ่งจังหวัดชลบุรี เป็น Focal point ของเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 เรื่อง งานยาเสพติด และได้แจกเอกสาร แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานบาบัดฟื้นฟูฯ ยาเสพติด (ระยะเวลา 5 ปี) เพื่อให้ผู้บริหารนาไปศึกษาเพิ่มเติม และใช้เป็นหลักการในการพัฒนาทุกงาน 1.2 ปฏิทินรณรงค์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ปี 2556 ซึ่งเป็นงานที่มุ่งเน้น โดยในช่วงเดือน มกราคม ตรวจคัดกรองสุขภาพ (Health Screening) สุขภาพประชาชน จานวน 1,300,000 คน แยกเป็นกลุ่มอายุ และ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง ตามสุขภาวะ กลุ่มป่วยเรื้อรัง พิธีเปิดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ในวันที่ 8 มกราคม 2556 ช่วงเช้า ณ ศาลาเฉลิมพระเกียรติเทศบาลตาบลบางทราย /วันที่ 27 มกราคม 2556 มีกิจกรรมไฮไลต์ระดับเขต “ครอบครัวยุคใหม่ ลูกหลานสุขใจ เดิน-วิ่ง ต้านภัยยาเสพติด” ณ บริเวณแหลมแท่น บางแสน จังหวัดชลบุรี เพื่อให้ ประชาชนตระหนักถึงอันตรายและภัยของยาเสพติด โดย นายสนธยา คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานในพิธี , นพ.วิชัย เทียนถาวร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานร่วม ในงานวิ่งจะมีครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ 1,000 ครอบครัว ผู้บริหารเดิน-วิ่ง 2 กิโลเมตร ขอให้สาธารณสุขอาเภอทุกแห่งมีส่วนร่วม และมีจังหวัดในเขตเข้ามาร่วมกิจกรรม ด้วย / เดือนกุมภาพันธ์ : งานยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE), เครือข่ายสุขภาพอาเภอ / เดือนมีนาคม : จังหวัดชลบุรี จะเน้นการดาเนินงานในเรื่องของการลดโรคเบาหวาน , ความดันโลหิตสูง ให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด และจะมีการประชุม NCD Board เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์เบาหวานความดัน และจัดทาแผน SLM , SRM /เดือน เมษายน : อาหารปลอดภัย , ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ / เดือนพฤษภาคม : โรคไข้เลือดออก ,วัณโรค /เดือนมิถุนายน : มะเร็งปากมดลูก , มะเร็งเต้านม /เดือนกรกฎาคม : สุขภาพจิต , โรคซึมเศร้า , ฆ่าตัวตาย /เดือนสิงหาคม : แม่ และเด็ก กิจกรรมแม่และเด็ก /กันยายน : นาผลงานมาจัดมหกรรมสุขภาพ ในงานวิชาการร่วมกัน (งานทั่วไปต้อง แล้วเสร็จภายใน 31 กรกฎาคม 2556) กิจกรรมที่สาคัญ ในวันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2556 เชิญชวนผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้อง และสมาชิก พอ.สว.เข้าร่วมรับเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ณ โรงเรียนบ้านหมื่น จิต ต.คลองกิ่ว อ.บ้านบึง จังหวัดชลบุรี / วันที่ 18 มกราคม 2556 เซ็น MOU กับ ผอ.รพ. และสาธารณสุขอาเภอ ,
  • 4. ๔ หัวหน้ากลุ่มงานฯ ใน สสจ. 2556 และเชิญผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์ฯ ในแต่ละอาเภอเข้าร่วมประชุมด้วย ซึ่ง ในปีนี้มี 66 ตัวชี้วัด และนาไปใช้ประกอบการพิจารณาความดีความชอบ 1.3 ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี แจ้งให้ทราบเรื่องการน้อมนาพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว สู่การปฏิบัติ 1.4 รณรงค์ป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ ช่วงเทศกาลปีใหม่ 1.5 เชิญชวนใช้สิทธิเลือกตั้งซ่อม ในวันที่ 6 มกราคม 2556 ในเขต 2 จังหวัดชลบุรี 1.6 การร้องทุกข์ผ่านสายตรง ผู้ว่าราชการจังหวัด ใน web site จังหวัดชลบุรี รองผู้ว่าฯ นายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ รับผิดชอบดูแลเรื่องการร้องเรียน ร้องทุกข์ ขอให้ผู้รับผิดชอบตอบกระทู้ภายใน 3 วัน ทาการ ตอบอย่างสมเหตุสมผล ในกรณีร้องเรียนผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงานเป็นเรื่องลับ ให้ผู้บริหารมี ปฏิกิริยาในการตอบ และดูแลสั่งการในการตอบกระทู้ 1.7 ผู้ตรวจฯ มอบ 2 เรื่อง คือ หัวใจหลอดเลือด และทารกแรกเกิด ให้จังหวัดชลบุรีเป็นเจ้าภาพ ในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 จะเชิญเครือข่ายจังหวัดชลบุรี หารือ ในวันที่ 9 มกราคม 2556 1.8 การบรรจุข้าราชการใหม่ จากนโยบายกระทรวงฯ จะมีการบรรจุข้าราชการที่เป็นลูกจ้าง ประมาณ 30,188 อัตราทั่วประเทศ จะมีการบรรจุใน 3 ปี โดยในปี 2556 จะบรรจุประมาณ 7,547 อัตรา จากการ สารวจปี 2556 มี 23 สายวิชาชีพ การบรรจุนับย้อนหลังสาหรับคนที่เป็น ลูกจ้างชั่วคราว ตั้งแต่ปี 2551 จะได้รับ การบรรจุก่อน ไล่ตามลาดับ คุณสมบัติต้องมีวุฒิตรงตามสายวิชาชีพ ในพื้นที่ รพ.สต., รพ.พื้นที่ทุรกันดาร , รพช. เปิดใหม่ จะได้รับการพิจารณาบรรจุให้ก่อน ซึ่งจากการสารวจของ จ.ชลบุรี ตามเกณฑ์ ได้ทั้งหมด 48 คน ใน รพศ. 25 คน , สาหรับ รพช./สสอ. ให้ตรวจสอบเพื่อไม่ให้เสียสิทธิ จังหวัดจะรายงานกระทรวงฯ วันที่ 2 มกราคม 2556 มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองและติดตามรายงานการประชุม ที่ประชุมมีมติรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2 ปีงบประมาณ 2556 ระเบียบวาระที่ 3 การนาเสนอผลงานเด่น 3.1 สสอ.บ้านบึง เรื่อง “หมอน้อยในครัวเรือน” โดย รพ.สต.บ้านเนินโมก ต.หนองอิรุณ อ.บ้าน บึง จ.ชลบุรี เนื่องจากได้มีการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ พบว่าโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง พบ ในกลุ่มอายุน้อยกว่าเดิม สภาพสังคม-ภาวะเศรษฐกิจส่งผลให้ขาดการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว จากข้อมูล รพ. สต.บ้านเนินโมก มีผู้ป่วยเรื้อรัง เข้ารับบริการ จานวน 374 คน จาแนกเป็น ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 288 คน , ผู้ป่วยเบาหวาน 86 คน มีเจ้าหน้าที่ 4 คน คิดเป็นสัดส่วนเจ้าหน้าที่ 1:94.5 , อสม.12 คน สัดส่วน 1:31.17 จึง ได้จัดทาโครงการ “หมอน้อยในครัวเรือน” เป้าหมายที่ หมู่ 5 บ้านตาลดา มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 111 คน มีนักเรียน ชั้น ป.4-ป.6 ในพื้นที่และมีผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จานวน 12 คน นามาจัดอบรมให้ความรู้ โดย การประเมินผลก่อนและหลังการอบรม และมีการติดตามผล แนวทางการทางานของหมอน้อย ดูแลการรับประทานยาผู้ป่วยที่รับผิดชอบให้ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง ถูกเวลา ถูกขนาด ถูกวิธี / กระตุ้นให้ ผู้ป่วย ออกกาลังกายอย่างเหมาะสมกับโรคที่เป็น / นวดเท้า, มือ ให้กับผู้ป่วยเพื่อป้องกันมือเท้าชา และผลแทรกซ้อนจาก การเกิดแผล/ ดูแลให้ผู้ป่วยไปรับกรตรวจและรับยาตามนัด / ประสานการนาผู้ป่วยไปเจาะเลือด, วัดความดันโลหิต กับอาสาสมัครใกล้บ้าน
  • 5. ๕ ประเมินความสาเร็จ อสม.ในเขตเยี่ยมประเมินทุก 2 สัปดาห์ , จนท.ประเมินทุกเดือน, อภิปรายปัญหาทุก 6 สัปดาห์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในบ้านนักเรียนที่ผ่านการอบรม “หมอน้อยในครัวเรือน” ได้รับการดูแลโดยใช้ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว / เป็นการขยายเครือข่ายการดูแลด้านสุขภาพในชุมชน / นักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายจะไม่เจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง/ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคุมภาวะน้าตาล ความดันโลหิตอยู่ในค่าปกติ ประธาน : ขอชื่นชม กิจกรรมนวตกรรม เบาหวาน, ความดัน แนวคิดสาคัญคือเรื่องความ ครอบคลุมทั้งหมด ต้องเป็นกระบวนการที่มีคุณภาพและมีความต่อเนื่องยั่งยืน ในการดาเนินงานต้องมี ข้อมูลที่ ครอบคลุมทั้งในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน ที่สาคัญคือ ต้องลดกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้เป็นกลุ่มป่วยต้องลดลง และกลุ่มป่วยเป็นกลุ่มแรกที่เราต้องสารวจว่ามีอยู่เท่าไหร่ ต้องไม่มีโรค แทรกซ้อน ตา ไต เท้า หรือมีก็ต้องลดลง การรับยาต้องมีกระบวนการในการแก้ปัญหาเรื่องยาที่เหลือ โดยแยกเป็นกลุ่มผู้ป่วย สีแดง สีเหลือง สีเขียว ในหลายแห่ง ใช้ย่ามในการใส่ยา แยกเป็นสีแดง สีเหลือง สีเขียว โดยในแต่ละครั้งที่คนไข้กลับมารับยาจะต้องนาย่ามและยามาด้วย หากกินยาแล้วคุมน้าตาลไม่ อยู่ให้คืนยาเก่า แลกเอายาใหม่ไป การตัดเท้า ตัดนิ้ว ต้องน้อยลง คนไข้ต้องดูแลตัวเองได้ สาหรับ รพ. สต. ในเดือนสิงหาคม ซึ่งมีการประเมินความดีความชอบจะเพิ่มการประเมินในส่วนของผลงานเบาหวาน ความดัน ที่ได้รับการตรวจประเมินจากกลุ่มงานควบคุมโรคมาแล้วและมีผลงานที่โดดเด่น จะให้รางวัลทั้ง ทีม ให้ไปดูงานต่างประเทศเพื่อเป็นขวัญ กาลังใจ มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ 3.2 การนาเสนอผลงานเด่น เรื่อง “การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยา ในผู้ป่วยที่มี การทางานของไตลดลง โดย เภสัชกรรชานนท์ หิรัญวงษ์ รพ.บางละมุง ปัญหาและสาเหตุ (โดยย่อ) จากการสารวจการใช้ยาในผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในหอผู้ป่วยอายุรก รรมหญิงในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 พบว่าผู้ป่วยที่มีการทางานของไตลดลงได้รับขนาดยาที่เหมาะสม กับการ ทางานของไตเพียงร้อยละ 57 สาเหตุของปัญหาอาจเกิดจาก การที่แพทย์ประจาหอผู้ป่วยไม่ได้รับข้อมูล ค่าการ ทางานของไตของผู้ป่วย และขนาดยาที่เหมาะสม ขนาดตรวจรักษาผู้ป่วย เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีการทางานของไตลดลง ได้รับขนาดยาที่เหมาะสม กับการทางานของ ไต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 , เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของค่าการทางานของไต ในกลุ่มผู้ที่ได้รับและผู้ที่ ไม่ได้รับการปรับขนาดยา ให้เหมาะสมกับการทางานของไตที่ลดลง กิจกรรม 1. รวบรวมข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางานของไต ต่อยาทุกตัวในโรงพยาบาล และจัดทาเป็นคู่มือ ให้ข้อมูลกับแพทย์ 2. สืบค้นสูตรสาหรับคานวณค่าการทางานของไต ที่มีความเหมาะสมและมีหลักฐานยืนยันว่าสามารถ นามาใช้กับข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมกับการทางานของไตที่ลดลงพร้อมกับสร้างเครื่องมือช่วยคานวณ 3. สร้างแบบบันทึกสาหรับใช้ในการติดตามการสั่งใช้ยา ติดตามค่าการทางานของไตในผู้ป่วยและบันทึกผล หลังจากการให้ข้อมูลจากแพทย์ 4. กาหนดแนวทางการติดตามการให้ข้อมูล และอบรมเภสัชกร ประจางานบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยใน 5. ติดตามการสั่งใช้ยาในผู้ป่วยในทุกรายที่เข้าเงื่อนไข
  • 6. ๖ 6. เมื่อพบการสั่งใช้ยาที่ต้องมีการปรับขนาดยา จึงดาเนินการให้ข้อมูล และปรึกษาแพทย์เพื่อปรับขนาด ยาให้ เหมาะสมและดาเนินการติดตามต่อเนื่องจนผู้ป่วยถูกจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล ระเบียบวาระที่ 4 สถานการณ์ระบาดวิทยา การเฝ้าระวังเหตุการณ์ทางระบาดวิทยาในเดือนธันวาคม 2555 ตรวจจับเหตุการณ์ที่ผิดปกติ จาก เครือข่าย ได้แก่ โรคปอดบวม ในกลุ่มอายุ 0- 4 ปี (ศรีราชา ,พนัสนิคม, บ่อทอง) และโรคไข้หวัดใหญ่ ในกลุ่ม อายุ 35-44 ปี (พนัสนิคม, ศรีราชา,บ้านบึง) สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในระดับประเทศ มียอดสะสม จานวน 71,299 ราย เสียชีวิต 78 ราย 3 อันดับแรก ได้แก่ 1.) จ.กระบี่ อัตราป่วย 396.11 ต่อแสนประชากร 2) จ.ระยอง อัตราป่วย 341 ต่อแสน ประชากร 3.) จ.สมุทรสาคร อัตราป่วย 232.57 ต่อแสนประชากร จังหวัดชลบุรี มีจานวนผู้ป่วย 1,765 ราย คิด เป็นอัตราป่วย 136.87 ต่อแสนประชากร เป็นอันดับที่ 26 ของประเทศ อันดับ 4 ของเขต มีผู้ป่วยเสียชีวิต 4 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.23 การสอบสวนโรคคอตีบ อ.บ่อทอง วันที่ ๗ ธันวาคม 2555 รับแจ้งว่าพบผู้ป่วยด้วยโรคคอตีบ มีประวัติเคยเดินทางมาที่ ต.บ่อ กวางทอง จ.ชลบุรี กลับไปที่ จ.ขอนแก่น และเข้ารับการรักษาที่ รพช.เปลือยน้อย เก็บ TSC ผลตรวจพบ C.diptheria Toxin negative ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 9 ปี ที่อยู่หมู่ที่ 4 ตาบลสระแก้ว อาเภอเปลือยน้อย จังหวัดขอนแก่น เรียนชั้น ป.4 เริ่มป่วยเมื่อ วันที่ 23 พ.ย.2555 และเข้าร่วมงานแต่งงาน ที่หมู่ 9 ต.บ่อกวางทอง อ.บ่อทอง จังหวัดชลบุรี ใน วันที่ 24 พฤศจิกายน 2555 เดินทางกลับจังหวัดขอนแก่น วันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 เข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลเปลือกน้อย วันที่ 28 พฤศจิกายน 2555 ด้วยอาการไข้ ไอ เจ็บคอ วันที่ 7 ธันวาคม 2555 เวลา 16.00 น. ทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็วอาเภอบ่อทอง (SRRT) ได้ดาเนินการสอบสวนโรค การควบคุม ป้องกันโรค 1. สอบสวนโรค เก็บ throat swab ผู้สัมผัสทั้ง 9 ราย ผลการตรวจไม่พบเชื้อก่อโรคคอตีบ 2. จ่ายยา Roxithromycin (150) เป็นเวลา 14 วัน 3. ฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (dT) ในผู้สัมผัส 9 คน เด็กไทยอายุ ๒ เดือน- ๖ ปี 169 คน (ให้วัคซีน DTP- HB ) , ฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ (dT) ในกลุ่มคนไทย อายุ 7-15 ปี จานวน 211 คน และ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 86 คน 4. ติดตามการกินยา และอาการหลังได้รับวัคซีนในผู้สัมผัสใกล้ชิด ไม่พบผู้ป่วยเพิ่ม 5. สถานบริการภายในอาเภอบ่อทอง พร้อมทั้ง อสม.ค้นหาและเฝ้าระวังโรคคอตีบ ตามนิยาม 6. ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับโรคคอตีบผ่านทาง อสม.ประจาหมู่บ้าน เพื่อเผยแพร่สู่ประชาชนทั่วไป มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา ไม่มีเรื่องแจ้ง
  • 7. ๗ ระเบียบวาระที่ 6 6.1 เรื่องจาก รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ไม่มีเรื่องแจ้ง 6.๒ เรื่องจากหน่วยงานนอกสังกัด กระทรวงสาธารณสุข 6.2.1 รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา ประชาสัมพันธ์ ดังนี้ 6.2.1.1 เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 150 ปี พระราชสมภพสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า จึงจัดให้มีการประกวดวาดภาพในหัวข้อ “พระมหากรุณาธิคุณ สมเด็จพระศรีสวรินทิ รา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า” ชิงถ้วย และโล่พระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ส่งผลงานภายในวันที่ 18 มกราคม 2556 และตัดสินผลงานวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 6.2.1.2 ขอเชิญร่วมประกวดภาพถ่าย ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แบ่งเป็น 1. ภาพในอดีต “ภาพเก่า เล่าเรื่องเมืองศรีราชา” ภาพที่ถ่ายจากอดีตในเขตอาเภอศรีราชา-บางพระ-เกาะสีชัง อายุความเก่าของภาพไม่ต่ากว่า 25 ปี 2. ภาพปัจจุบัน “ตามรอยเสด็จฯพระพันวัสสาฯ ณ ศรีราชา” (เกาะลอย ตลาดศรีราชา โรงพยาบาลสมเด็จฯ วัดบางพระวรวิหาร) ส่งภาพถ่ายได้ตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ 25 มกราคม 2556 ตัดสินภาพถ่ายในวันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2556 6.2.1.3 โครงการสมเด็จย่ารักษ์ดวงตา จะผ่าตัดตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ สิทธิประกัน สุขภาพ 150 ดวงตา จะเริ่มการผ่าตัดในเดือนมิถุนายน 2556 โดยมีการคัดกรองในวันที่ 2 พฤษภาคม 2556 หาก รพ.ใดมีคิวผ่าตัดมาก หากต้องการให้ รพ.สมเด็จฯ ดาเนินการ สามารถติดต่อส่งมาได้ ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2556 6.3 เรื่องจากหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข 6.3.1 สคร.3 ชลบุรี แจ้งว่า : ได้รับการประสานจากอธิบดีกรมควบคุมโรค เรื่องการตรวจ เยี่ยม พื้นที่จังหวัดชลบุรี ในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลปีใหม่ วันที่ 30 ธันวาคม 2556 โดยขอ ประสานในการเยี่ยมจุดตรวจหรือจุดบริการ 1 จุด และ ขอประสานในการเข้าตรวจเยี่ยม รพศ.ชลบุรี ด้วย 6.3.2 โครงการลดอุบัติภัย/ลดอุบัติเหตทางถนน กรมควบคุมโรคเป็นเจ้าภาพหลัก ได้รับทุน สนับสนุนจาก สสส. รายละเอียดจะประสานอีกครั้ง ในเบื้องต้นจะมีงบประมาณสนับสนุนให้จังหวัดดาเนินการ เน้นเรื่องมาตรการบังคับใช้กฎหมาย สถานีตารวจภูธร ประมาณการเดือนละ 5,000 บาท ในส่วนกระบวนการ ทางานตามวัตถุประสงค์ กับการบูรณาการ , พัฒนาระบบฐานข้อมูล ,การจัดการการข้อมูลในระดับจังหวัด ซึ่ง จังหวัดชลบุรี ได้รับการคัดเลือก เป็น 1 ใน 13 จังหวัด ที่อยู่ในเขต สคร. 12 เขต ในเขตของ สคร.3 จังหวัด ชลบุรี เป็นพื้นทีนาร่องต้นแบบในระดับประเทศ งบประมาณสนับสนุนในจังหวัดในภาพรวมของอุบัติภัย/อุบัติเหตุ ในระดับจังหวัดเดือนละ 50,000 บาท รายละเอียดจะอยู่ในโครงการและจะประสานให้ทราบในโอกาสต่อไป นพ.อัษฎา ตียพันธ์ (ผอ.รพศ.ชลบุรี) : รับทราบและจะประสานในรายละเอียดของการตรวจ เยี่ยม ประธาน : เรื่องการลงตรวจเยี่ยมที่ รพศ.ชลบุรี ของอธิบดีกรมควบคุมโรค ฝากท่าน ผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์ชลบุรี ในการจะประสานผู้รับผิดชอบในรายละเอียดการตรวจเยี่ยมอีกครั้ง
  • 8. ๘ มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ 6.3.3 รพศ.ชลบุรี (นพ.อัษฎา ตียพันธ์) : หารือ ในเรื่องของปัญหาอุปสรรค ของ รพศ. ชลบุรี ในเรื่องของความแออัด ซึ่งพบว่ามีพยาบาล และเจ้าหน้าที่ลาออกหลายคน จึงขอหารือในกรณีที่คนไข้ที่อยู่ในระยะ End of life จากการสารวจพบว่ามีคนไข้ที่ไม่รู้จะช่วยเหลืออย่างไร คือต้องรออย่างเดียว ประมาณ 70 กว่าเตียง คนไข้ใหม่ที่เข้ามาและรักษาได้ก็มีจานวนเตียงรองรับน้อยลง คนไข้อายุรกรรม พบว่ามี คนไข้ที่ควรดูแลที่บ้าน หรือควร refer กลับประมาณ 48 คน ประเด็นคือกรณีที่คนไข้ส่งมาจาก รพช. และคนไข้ต้อง End of life และต้อง ใช้เครื่องช่วยหายใจ ปัญหาคือ รพช.จะไม่ใส่เครื่องช่วยหายใจเด็ดขาด กองไว้ที่ รพศ.ชลบุรี จึงขอความกรุณารับ กลับคนไข้เหล่านี้ไปดูแล หรือกลับไปชุมชน กลับบ้านไปดูแล โรคที่อยู่ใน End of life care ส่วนใหญ่เป็นโรค เรื้อรัง และนอนโรงพยาบาล ปัญหาคือจะรักษาคนไข้ที่พอจะรักษาได้ อย่างไร ? จานวนพยาบาลของ รพศ.ชลบุรี อัตรากาลังเจ้าหน้าที่ต่อภาระงาน คือ ต้องมี 1,000 คน แต่มีพยาบาลอยู่เพียง 600 คน เนื่องจากภาระงานหนัก จึงไม่มีคนสมัคร ประเด็นเสนอ 1. ความแออัด 2. รพ.ขนาดใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีทั้งหมด 4 โรง ได้แก่ รพศ.ชลบุรี ,รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา, รพ.สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ , รพ.ม.บูรพา น่าจะมีการเฉลี่ยคนไข้ เพื่อการรักษา 3. กรณีที่ refer มา 1 ราย ให้รับกลับไป 1 ราย (ในส่วนตรงนี้ยังเป็นข้อตกลงหรือไม่) โดยขอเวลาในการ จัดเตรียมคนไข้ไม่เกิน 45 นาที ขอให้คนขับรถรอเพื่อรับคนไข้กลับด้วย ประธาน : เป็นข้อมูลแก่ผู้บริหาร รพช. และ ผู้บริหารจังหวัดรับทราบปัญหา ประเด็นในแง่ ของระบบบริการ คงต้องมีการหารือกันในเรื่องกรอบ service plan การพัฒนาแผนโครงสร้าง และแผน คุณภาพ ที่จะต้องพัฒนาต่อไป จะหารือกันในวันที่ 9 มกราคม 2556 ทราบว่าเคยหารือกันมาแล้วใน ระดับหนึ่ง ในส่วนของ รพ.พนัสนิคม (M2) รพ.แหลมฉบัง , รพ.บางละมุง(S) ว่าศักยภาพต้องทาได้ระดับ ไหน จะมีการพัฒนาขีดความสามารถ ในส่วนของ รพศ.ชลบุรี คงต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมว่าคนไข้ใน รพศ.ชลบุรี ทั้ง IPD และ OPD เป็นคนไข้ในเขตเมือง กี่เปอร์เซ็นต์ , คนไข้เขตอาเภอ ส่งต่อมากี่ เปอร์เซ็นต์, คนไข้นอกเขตกี่% กลุ่มที่ไม่ขึ้นทะเบียน ที่เป็นแรงงานต่างชาติ และต้องแยกสิทธิ UC / ข้าราชการ /ประกันสังคม ซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องนามาใช้ในการหารือกัน โดยให้กลุ่มงานใน สสจ.นาข้อมูล เข้ามาหารือกัน ในวันที่ 9 มกราคม 2556 จากข้อมูลเบื้องต้นจากการนาเสนอของ รพศ.ชลบุรี คนไข้ใน End of life ทั้งที่ใช้ เครื่องช่วยหายใจและไม่ใช้ จากการส่งต่อจะทาอย่างไรในการส่งคืนกลับไป ความสาเร็จไม่ได้อยู่ที่ทีม แพทย์อย่างเดียว ขึ้น อยู่กับพยาบาลด้วย เครือข่ายพยาบาลจะต้องเข็มแข็งรองรับได้ ในการพัฒนาต้องควบคู่กันไป ต้องเชิญ หัวหน้ากลุ่มการพยาบาลทั้งรพศ. รพช. รวมทีมหารือกัน และยอมในการพัฒนาคุณภาพ ต้องมี เป้าประสงค์ร่วมกันในการพัฒนา ทุกแห่งต้องช่วยกัน เช่น การผ่าตัดไส้ติ่ง หารือกันว่าทาอย่างไร การ ผ่าตัดจะอยู่ใน รพ.แม่ข่ายได้ หรือจะทาอย่างไรถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องไปผ่าตัดที่ รพ.เอกชน ถ้ารพ. เอกชนสามารถรองรับได้ เป็นสิ่งที่ต้องวิเคราะห์หารือร่วมกันในหน่วยงานของเราก่อน ในโอกาสต่อไปจึง จะ connect กับหน่วยงานอื่น เช่น รพ.สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ , รพ.สมเด็จ ฯ ณ ศรีราชา, รพ.มหาวิทยาลัยบูรพา สุดท้ายจะหารือ รพ.เอกชนด้วย ภารกิจ รพศ. ซึ่งเป็น
  • 9. ๙ รพ. ที่จะต้องรองรับเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 ด้วย นพ.วิชัย ธนาโสภณ (ผชช.ว) รอง นพ.สสจ.ชลบุรี : ในเรื่องของการ refer ต้องมีการพูดคุย กันในรายละเอียดอีกครั้ง จานวนเตียง รพ.ในจังหวัดชลบุรี เมื่อเทียบกับจานวนประชากร มีจานวนเตียงน้อยมาก ซึ่งในจังหวัดชลบุรี มีประชากรแฝงจานวนมาก จึงเป็นรายละเอียดที่ต้องพูดคุยกัน ในเรื่องของการเงินซึ่งปัญหาที่ เกิดขึ้นมีทั้งในส่วนที่เป็นปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ในการจ่ายเงินก็จ่ายตามจริงเต็มเพดาน การใช้ case ที่แพง ควรถูก Audit ซึ่งจะต้องนามาพูดคุยกัน ประธาน : เชื่อมั่นในศักยภาพของ ผอ.รพศ.ชลบุรี (นพ.อัษฎา ตียพันธ์) ทาง สสจ.และ ทีมงาน ถ้ามีโอกาสช่วยได้ ก็ยินดีช่วยเหลือ ในเรื่องของงบประมาณ เงินในระบบของ UC สาหรับ OPD จัดให้แล้ว , IPD จะอยู่ CMI ที่ทาง รพ.จะไปทา ส่วน งบฯ PP จ่ายตามเกณฑ์ กาลังประมวลอยู่ ส่วน ศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยข้าราชการและประกันสังคม ค่อนข้างมาก เมื่อมีงบประมาณเข้ามาก็จะช่วยได้ มาก นพ.จุมพล พบสุข (รพ.บ้านบึง) : หลักเกณฑ์การ refer ยังคงเหมือนเดิม และยินดีรับกลับ ปัญหาคนขับรถไม่รอ ในส่วนนี้ก็ต้องค่อยๆ แก้ไขไป ประเด็นคือ เคยถูกร้องเรียน ว่า คนไข้ที่รับกลับ ไม่ดีขึ้น รับ ไปแล้วก็ต้องส่งกลับมาที่ รพศ.ชลบุรีใหม่ ไปมาจนคนไข้เสียชีวิต ก็ถูกร้องเรียนอยู่ สสอ.สัตหีบ (นายสมศักดิ์กีรติหัตถยากร) : แจ้งย้ายที่ทาการ สสอ. มาอยู่ในเขตพื้นที่ของ รพ.สัตหีบ กม. 10 โทร. 038-245330 Fax.038-245339 6.๔ เรื่องจากกลุ่มงานในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี 6.4.1 คุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข 6.4.1.1 สรุปผลการตรวจกระเช้าของขวัญปีใหม่ สสจ.ชลบุรี ร่วมตรวจกับ สสอ.เมือง/บางละ มุง/ศรีราชา และขอความร่วมมือ สสอ./รพช.ทุกแห่ง ตรวจในเขตที่รับผิดชอบ ดาเนินการตรวจสอบสถานที่ จาหน่ายกระเช้าของขวัญปีใหม่ทั้งหมด 134 แห่ง พบการแสดงฉลากอาหารถูกต้อง ทั้งหมด 131 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 97.76 พบการแสดงฉลากอาหารไม่ถูกต้อง ทั้งหมด 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 2.24 ข้อบกพร่องที่พบ ได้แก่ ไม่มีการแสดงฉลากอาหารรวมไว้ที่กระเช้าของขวัญ 1 แห่ง (บางละมุง) และไม่มีการแสดงวันเดือนปีที่หมดอายุ 2 แห่ง (ศรีราชา 1/เมือง 1) ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้แนะนา ตักเตือนให้แก้ไขทันที, ตรวจสอบสภาพสินค้าพบว่า อยู่ในสภาพ ปกติทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 6.4.1.2 การจับกุม ขายยาแก้หวัดผสมซูโดเอฟรีดรีน เมื่อวันที่วันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๕ ให้สายลับติดต่อขอซื้อยาสูตรผสมซูโดเอฟรีดรีน และให้นา ยาอื่นๆ มาให้ดูด้วย นัดหมายส่งมอบยาที่ร้านแมคโดนัลล์ เซ็นทรัล ชลบุรี พบเป็นผู้แทนบริษัทยาเขตภาค ตะวันออก จาหน่ายยาทั้งหมด ๘ จังหวัด แจ้งข้อกล่าวหา พระราชบัญญัติยา ๒๕๑๐ ขาย หรือ นาหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบัน โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกไม่เกิน ๕ ปี และปรับไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท) ขาย หรือนา หรือสั่งเข้ามาใน ราชอาณาจักรซึ่งยาที่มิได้ขึ้นทะเบียนตารับยา (จาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ) พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ๒๕๑๘
  • 10. ๑๐ ขาย นาเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกตั้งแต่ ๕-๒๐ ปี และปรับ ตั้งแต่ ๑๐๐,๐๐๐-๔๐๐,๐๐๐ บาท) ครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ใดๆซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท โดยไม่ได้รับ อนุญาต(จาคุกตั้งแต่ ๑-๕ ปี และปรับตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ บาท) ขาย นาเข้า หรือส่งออกซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ใน ประเภท ๔ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต (จาคุกไม่เกิน ๕ ปี และปรับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท) ขาย หรือ นาเข้า ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ที่ต้องขึ้นทะเบียนวัตถุตารับแต่มิได้ขึ้นทะเบียนไว้ (โทษจาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับปรับไม่ เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ) 6.4.1.3 การจับกุม ลักลอบฉีดโบท๊อกซ์/กลูต้าไธโอน ในร้านเสริมสวย เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๕ ส่งสายลับเข้าไปรับบริการฉีด กลูต้าไธโอน และร้อยไหม ณ ร้านเสริมสวยชื่อ บิวตี้แฮร์คัท น้อง เลขที่ ๑๙/๑๐ หมู่ ๖ ถนนเทศบาล ๗ ตาบลบางพระ อาเภอศรีราชา จังหวัด ชลบุรี แจ้งข้อกล่าวหา พระราชบัญญัติยา พ.ศ.๒๕๑๐ ขายหรือนา หรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาที่มิได้ขึ้น ทะเบียน ตารับยา (จาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ) พระราชบัญญัติสถานพยาบาล ๒๕๔๑ ดาเนินการสถานพยาบาล โดยไม่ได้รับอนุญาต ประกอบกิจการสถานพยาบาล โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุก ไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ และศาลจะสั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใช้ในการประกอบ กิจการสถานพยาบาลด้วยก็ได้) พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม ๒๕๒๕ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงด้วยวิธีใดๆ ว่าพร้อมที่จะประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิได้เป็นผู้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (จาคุกไม่เกิน ๓ ปี หรือปรับไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ) พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท๒๕๑๘ ขาย นาเข้า ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกตั้งแต่ ๕ - ๒๐ ปี และปรับตั้งแต่ ๑๐๐,๐๐๐ - ๔๐๐,๐๐๐ บาท) ครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ใดๆ ซึ่งวัตถุออกฤทธิ์ทุกประเภท โดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกตั้งแต่ ๑-๕ ปี และปรับตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ บาท) ประธาน : ให้ผู้บริหารในระดับอาเภอ เฝ้าระวังเชิงรุก โดยเฉพาะในเขตพัทยา เพราะเป็น เมืองท่องเที่ยว หากมีข้อมูลการกระทาที่ผิดกฎหมาย ให้แจ้งมาที่ สสจ.ชลบุรี เพื่อประสานลงตรวจสอบ และดาเนินการ ก่อนที่จะเป็นข่าว 6.4.2 กลุ่มงานควบคุมโรค 6.4.2.1 แนวทางการประเมินผลงานตามมาตรการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และ NCD ปี 2556 สืบเนื่องจากเป้าหมายและตัวชี้วัด สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2556 มีทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด 1. หมู่บ้าน/ชุมชนสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (3อ. 2ส.) เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25(562) 2. รพ.สต.ขนาดใหญ่ ผ่านเกณฑ์ตาบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ตามมาตรฐานที่กาหนด เป้าหมาย ระดับดีมาก >ร้อยละ 25 3. ประชาชนอายุ15 ปีขึ้นไป พระภิกษุ สามเณร และผู้นาศาสนาได้รับการคัดกรอง DM & HT ร้อยละ 90 4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ DM (pre-DM) ป่วยเป็น DM เป้าหมาย < ร้อยละ 5
  • 11. ๑๑ 5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ HT(pre-HT) ป่วยเป็น HT เป้าหมาย < ร้อยละ 10 6. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ เป้าหมาย < ร้อยละ 4 7. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) เป้าหมาย ร้อยละ 60 8. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) เป้าหมาย ร้อยละ 60 9. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ไต) เป้าหมาย ร้อยละ 60 10. อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดลดลง ร้อยละ 1 11. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองลดลง ร้อยละ 2 เกณฑ์ประเมินผลการคัดกรองเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง สาธารณสุขอาเภอ ทุกอาเภอ (ตุลาคม 2555 - กุมภาพันธ์ 2556) ตัวชี้วัดสาคัญ การคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง แบ่งสีผลสาเร็จของ งานเป็น 3 สี คือ สีเขียว , สีเหลือง, สีแดง การคัดกรองในกลุ่มอายุ 15 ปี 90% , 35 ปี 90% , 60 ปี 100% ในช่วงอายุ 15 – 18 ปี ให้พื้นที่มีการคัดกรองในโรงเรียน ความครอบคลุม > ร้อยละ 71 (สีเขียว) , ความ ครอบคลุม ร้อยละ 51-70 (สีเหลือง) , ความครอบคลุม < ร้อยละ 50 (สีแดง) เกณฑ์ประเมินการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ในโรงพยาบาลทุกอาเภอ (ตุลาคม 2555 - กุมภาพันธ์ 2556) ตัวชี้วัดสาคัญ การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) ร้อยละ 60 ความครอบคลุม > ร้อยละ 45 (สีเขียว) ,ความ ครอบคลุม ร้อยละ 31-44 (สีเหลือง) , ความครอบคลุม < ร้อยละ 30 (สีแดง) เกณฑ์การประเมินค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย HI (รายตาบล) ค่ามาตรฐานดัชนีลูกน้ายุงลาย HI ≤ 10 (ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ายุงลาย) ค่า HI < 10 (สีเขียว) , ค่า HI 11 – 29 (สีเหลือง), ค่า HI > 30 (สีแดง) เกณฑ์การประเมินค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย CI (หน่วยงานสาธารณสุข, โรงเรียน , วัด) ค่ามาตรฐานดัชนี ลูกน้ายุงลาย CI = 0 (ร้อยละของภาชนะที่พบลูกน้ายุงลาย) ค่า CI < 0 (สีเขียว) , ค่า CI 1 – 9 (เหลือง), ค่า CI > 10 (สีแดง) ตาบลใดมี Case Dead ทีมสานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี และทีมสานักงานสาธารณสุขอาเภอ ร่วมดาเนินการควบคุมโรค เป้าหมายเฉพาะโรคไข้เลือดออก ปี 2556 คือ การลดผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก, ป้องกันการเสียชีวิต ลดลง ร้อยละ 50 เน้นพัฒนาในการวินิจฉัย รักษาโรคไข้เลือดออก วันที่ 8-9 มกราคม 2556 มีประชุม ณ ห้องวิริยกิจจา สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี 6.4.2.2 ผลการฉีดวัคซีนคอตีบ เมื่อฉีดวัคซีนแล้วให้ Key ข้อมูลในโปรแกรม 21 แฟ้มด้วย สาหรับวัคซีน MMR กรมควบคุมโรค ขอความร่วมมือในการกระจายวัคซีนให้ประชาชนคนไทย ในปีใหม่ ส่วนกลางจะส่งมาให้ 50,000 โดส สภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี จะประชุมโรงงานทั้งหมดในจังหวัดชลบุรี วันที่ 8 มกราคม 2556 หลังวันที่ 8 มกราคม 2556 จะมีการกระจายวัคซีนให้โรงงาน เป็นการกากับ VMI ของทุก โรงพยาบาล 6.4.2.3 สคร.ประสานการตรวจเยี่ยมของ อธิบดีกรมควบคุมโรค วันที่ 30 ธันวาคม 2555 ประสานจุดตรวจที่ท่าข้าม อาเภอพนัสนิคม และ หนองกะขะ อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ประธาน : มอบกลุ่มงานควบคุมโรค และกลุ่มงานทรัพยากรบุคคลฯ ประสานกับ สคร.ใน รายละเอียด ในการตรวจเยี่ยมตามจุดเยี่ยมและ รพศ.ชลบุรี
  • 12. ๑๒ 6.4.3. กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 6.4.3.1 โครงการ “ครอบครัวยุคใหม่ ลูกหลานสุขใจ เดิน-วิ่ง ต้านภัยยาเสพติด” วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม 2556 ณ ลานเอนกประสงค์แหลมแท่น ต.แสนสุข เมืองชลบุรี ซึ่งเป็นกิจกรรมโครงการเด่นของเครือข่าย บริการสุขภาพที่ 6 วัตถุประสงค์ เพื่อรณรงค์สร้างกระแสต่อต้านยาเสพติด ครอบครัวยุคใหม่หันมาดูแลเอใจใส่ ลูกหลานเพื่อต้านภัยยาเสพติด เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพตนเองด้วยการเดิน-วิ่ง กาหนดการ วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม 2556 รมต.สาธารณสุข เป็นประธานร่วมกับ รมต.วัฒนธรรม มี 2 กิจกรรม คือ วิ่ง 10.5 กม. และ เดิน 5 กม. เป็นกิจกรรมที่เน้นเป็นครอบครัว พ่อ แม่ ลูก มาเดิน-วิ่ง ด้วยกัน ขณะนี้อยู่ระหว่างประสาน ผู้เข้าร่วมงานลงทะเบียน จะได้รับเสื้อ มีจานวน 3,000 ตัว ผู้ที่จะได้รับเหรียญที่ระลึก และถ้วยรางวัล ต้องเดิน-วิ่ง ผ่านจุดที่กาหนดครบทุกจุด การรับสมัคร (ฟรีค่าลงทะเบียน) หน้างาน หรือ ดาวน์ โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซท์สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ขอความร่วมมือในการประสานทุกอาเภอ ดาเนินการตามเป้าหมาย 6.4.3.2 กีฬาสาธารณสุขเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 วันที่ 4 - 6 กุมภาพันธ์ 2556 ณ สนามกีฬา สถาบันการพลศึกษาจังหวัดชลบุรี กีฬาที่จัดแข่งขัน รวม 12 ประเภท ณ สนามแข่งขันกีฬา ณ สถาบันการพล ศึกษาวิทยาเขต ชลบุรี คณะกรรมการตัดสินจากสถาบันพลศึกษา เปิดการแข่งขัน และงานเลี้ยง ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556 จะมีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในแต่ละคณะ ในวันที่ 8 มกราคม 2556 6.4.3.3 การแข่งขันกีฬาสาธารณสุข ระดับภาคและกระทรวง กาหนดการแข่งขันกีฬาภาคกลาง วันที่ 11-13 ก.พ. 2556 จ.ชลบุรี ประเภทกีฬาเพื่อคัดเลือกตัวแทน ได้แก่ ฟุตบอล 2 ทีม , กีฬากระทรวงกาหนดแข่งขัน ที่ 18-22 ก.พ. 2556 ณ กระทรวงสาธารณสุข โดยมีพิธีเปิดวันที่ 21 ก.พ. 56 เวลา 17.00 น. และประกวดกอง เชียร์ พิธีปิด วันที่ 22 ก.พ. 2556 การแข่งขันฟุตบอล VIP และประกาศรางวัล, มอบถ้วย ประธาน : เชิญท่านสาธารณสุขอาเภอ และผู้เกี่ยวข้อง เข้าประชุมเดิน-วิ่ง ต้ายภัยยาเสพ ติด ในวันที่ 3 มกราคม 2556 เวลา 09.00 น. จะมีหนังสือแจ้งเชิญประชุมอีกครั้ง สาหรับกีฬาสาธารณสุข เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 6 เชิญประชุมวันที่ 8 มกราคม 2556 นพ.วิชัย ธนาโสภณ (ผชช.ว.) รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด : 1.) เรื่องวัคซีน MMR ขอให้ระมัดระวังในการฉีดวัคซีนในคนท้อง หรือฉีดแล้วไปท้อง / 2.) จากการ conference กับผู้ตรวจฯ ขอให้ เตรียมความพร้อมเรื่องอุบัติเหตุ และเน้นย้าเรื่องโรคไข้เลือดออก โดยได้กาชับค่า HI CI ในระดับจังหวัดชลบุรี ต่อไปจะมีผลต่อการพิจารณาความดีความชอบด้วย สาหรับในรายละเอียดในตัวชี้วัดจากกลุ่มงานจะแจ้งให้ทราบ อีกครั้ง / 3.) การจัดซื้อยาร่วม ท่านผู้ตรวจฯ มอบหมายให้จังหวัดชลบุรี เป็น center ในการจัดซื้อยาร่วม ดาเนินการร่วมกับจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นเลขาฯ และกาชับให้ดาเนินการอย่างจริงจัง ภายในมกราคม 2556 นี้ น่าจะแล้วเสร็จ / 4.) เร่งรัด การก่อหนี้ผูกพัน สาหรับจังหวัดชลบุรี ที่ รพ.บางละมุง (อายุรกรรม , ผู้ป่วยนอก) เร่งรัดการก่อหนี้ผูกพัน ดาเนินการ ให้ได้ 15% ในไตรมาสแรก มติที่ประชุม : รับทราบและรับไปดาเนินการ ประธาน : ขอขอบคุณ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ทุกท่าน และทุก หน่วยงาน ทุกท่าน ร่วมกันปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข เพื่อประชาชนจังหวัดชลบุรีด้วยดีมาตลอด รวมถึงการบริหาร
  • 13. ๑๓ จัดการงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี อยู่ในระดับแนวหน้าในหลายๆ เรื่อง ในระดับประเทศ และอวย พรปีใหม่ พร้อมเชิญร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน ณ ห้องอาหารศรีนิยม จังหวัดชลบุรี ระเบียบวาระที่๕ เรื่องอื่น ๆ ไม่มีเรื่องแจ้ง ปิดประชุมเวลา 12.00น. นางจรรยา สันติมัค บันทึกรายงานการ ประชุม นางผาสุข สุวรรณจิตต์ ตรวจรายงานการ ประชุม