SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
ใบความรู้เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
1. ความหมายของผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
            ผลิตภัณฑ์ หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ค้นคว้า ออกแบบ ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อช่วยอานวยความสะดวกสบายในการ
ดารงชีวิต
            วัสดุท้องถิ่น หมายถึง วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งสามารถนามาผลิตหรือประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่าง ๆ ที่
นาไปใช้ประโยชน์ได้
            ในด้านที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ คือชนในท้องถิ่นส่วนใหญ่ได้ใช้สอยผลิตภัณฑ์ที่ทาขึ้น เพื่อ
อานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวัน เช่น การนาดินเหนียวมาทาเป็นผลิตภัณฑ์ปั้นหม้อดินสาหรับหุงข้าว
และปั้นชามดิน สาหรับใส่อาหาร ซึ่งถือว่าเป็นประดิษฐ์กรรมชิ้นแรกของมนุษย์ที่สร้างขึ้ นเพื่อการดารงชีวิตที่ดี
ควบคู่มากับวิวัฒนาการด้านอื่นของมนุษย์
            การนาวัสดุจากท้องถิ่นมาประดิษฐ์หรือทาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีจุดมุ่งหมายหลายประการ โดยจาแนกเป็น
ข้อ ๆ ได้ ดังนี้
          1.1 ทาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ การทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นนั้น แต่ดั้งเดิมจะเกิดขึ้นควบคู่กับการ
ดารงชีวิตของชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อใช้สอยตามความจาเป็นของการดารงชีวิต รูปทรงของผลิตภัณฑ์
ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การสานกระบุงไว้ใส่ ข้าว การสานกระจาดสาหรับใส่ผลไม้ หรือทาเป็น
เครื่องมือในการประกอบอาชีพ เช่น ทาลอบ ทาไซไว้ดักปลา ทากี่กระตุกไว้ใช้ทอผ้าต่าง ๆ เป็นต้น
          1.2 ทาเป็นงานอดิเรก เมื่อว่างเว้นจากการทางานให้คนมีเวลาว่างที่จะประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ขึ้นมา โดยเลือก
เอาวัสดุในท้องถิ่ นที่สามารถหาได้ง่ายมาทาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อทาเป็นงานอดิเรก เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ และเป็นการผ่อนคลายความเครียด
          1.3 เพื่อเป็นการเสริมรายได้ในครอบครัว อาชีพหลักของคนไทยส่วนใหญ่ ได้แก่ เกษตรกรซึ่งจะต้องทา
เป็นช่วงเลา เช่น การทานา ดังนั้นเมื่ อว่างเวนจากการประกอบอาชีพหลักจึงมีการนาวัสดุในท้องถิ่นมาประดิษฐ์
เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจาหน่ายเป็นการเสริมรายได้ให้แก่ครอบครัว
          1.4 ทาเป็นอาชีพหลัก แต่แรกการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นก็เพื่อใช้ในครัวเรือน และทาเป็น
อาชีพเสริมบ้างยามว่างเว้นจากการทาอาชี พหลัก แต่เมื่อผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นได้กลายมาเป็นที่นิยมของคน
ทั่ ว ไป และสามารถท ารายได้ ใ ห้ ม ากกว่ า การประกอบอาชี พ หลั ก อี ก ทั้ง ต้ น ทุ นในการผลิ ต ต่ า ท าให้ ห ลาย
ครอบครัวหันมาประกอบอาชีพนี้แทน และมีการทาเป็นอุตสาหกรรมในครอบครั วเพื่อส่งออกจาหน่ายอย่างจริงจัง
เช่น โครงการศิลปาชีพบางไทรได้ส่งเสริมให้คนทางานหัตถกรรมเพื่อประกอบเป็นอาชีพหลัก




                  ภาพที่ 1 แสดงลักษณะผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ที่ทาจากวัสดุท้องถิ่น
2. ชนิดของวัสดุท้องถิ่น
         หลักในการออกแบบผลิตภัณฑ์วัสดุท้องถิ่นให้มีความสวยงามนั้ นมีหลักสาคัญอยู่ที่ความคิดสร้างสรรค์ใน
การออกแบบและการเลือกใช้วัสดุท้องถิ่นที่สามารถนามาประดิษฐ์ของใช้ต่าง ๆ นั้นมีอยู่มากมายหลายชนิด เราจึง
ควรรู้จักลักษณะชนิดและคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุแต่ละชนิดก่อน เพื่อจะได้นาวัสดุมาใช้ได้เหมาะสมกับงาน
ชนิดของวัสดุท้องถิ่นที่ควรรู้จักมีดังนี้
         2.1 ไม้ไผ่
         ไม้ไผ่เป็นไม้ยืนต้นจัดอยู่ในตระกูลหญ้าชนิดใบเดี่ยวลักษณะใบเรียวแหลมลาต้น มีลักษณะเป็นปล้องสลับ
กับข้อไม้ไผ่ชอบขึ้นในเขตอบอุ่น อากาศร้อน และฝนตกชุก เช่นประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย เป็นต้น ไม้ไผ่
เป็นพืชที่เจริญเติบโตเร็ว ชอบขึ้นในดินโปร่งร่วนดินทราย หรือดินที่น้าสามารถไหลถ่ายเทได้สะดวก อากาศไม่
หนาวจัดเกินไป การแพร่พันธุ์ทาได้ 2 วิธี คือ การแพร่พันธุ์ด้วยเมล็ด และการแพร่พันทางหน่อ




                                 ภาพที่ 2 แสดงกระเป๋าจากไม้ไผ่
          ไม้ไผ่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น หน่อไม้ไผ่นามาทาอาหาร ลาต้นไผ่สามารถนามาทา
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้เช่น นามาสานเป็นภาชนะใส่ของจาพวกกระบุง กระจาด ตะกร้า ชะลอม เข่ง ฯลฯ หรือนามา
ทาเครื่องเรือน เช่น ชุดเก้าอี้ไม้ไผ่ เป็นต้น
          2.2 หวาย
         หวายเป็นไม้เลื้อยจาพวกตระกูลปาล์มมีลักษณะลาต้นกลมยาวและโตเสมอกันตั้งแต่โคนจนถึงปลาย
ไส้ตัน กาบหุ้มคล้ายต้นหมาก ที่กาบและก้านใบมีหนาม ผิวเกลี้ยงเหนียวเป็นมัน
ใบคล้ายใบจาก มีหนามตามริบใบ หวายเจริญงอกงามขึ้นเองตามธรรมชาติ มีมากในภูมิประเทศที่เป็นป่าเขา ดง
ดิบ น้าตก ชอบขึ้นในบริเวณพื้นที่เป็นดินร่วนชุ่มชื้น ไม่ชอบดินทราย หรือดินที่มีกรวดหิน
          หวายมีอยู่ตามป่าทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย เช่น ประเทศไทย ศรีลังกา ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ใน
ประเทศไทยไม่มีการปลูกหวาย แต่หวายจะขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติ มีมากทางภาคใต้ในแถบจังหวัดชุมพร ตรัง
พังงา สุราษฏ์ธานี นครศรีธรรมราช และทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีมากตามป่าในจังหวัดอุบลราชธานี
          หวายเป็นวัสดุท้องถิ่นอีกชนิดหนึ่งที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ส่วนมากเราใช้หวายทาเป็นเครื่องจัก
สานประกอบเครื่องจักสานไม้ไผ่ แต่ก็มีการนาหวายมาทาเครื่องจักสานโดยตรงหลายอย่าง เช่น ตะกร้า กระเป๋า
ฝาชี ถาดผลไม้ เก้าอี้ เป็นต้น




                                     ภาพที่ 3 แสดงเก้าอี้ทาจากหวาย
2.3 มะพร้าว
           มะพร้าวเป็นไม้ยืนต้นในตระกูลปาล์ม ลักษณะของใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยวเรียงติดกันเป็นแถวอยู่สองข้างของ
ทางมะพร้าว มีลาต้นเป็นรูปทรงกระบอก ส่วนโคนต้นจะใหญ่กว่าตอนปลายชอบขึ้นในดินร่วนหรือดินร่วนปน
ทราย อากาศอบอุ่นหรือค่อนข้า งร้อน และมีปริมาณน้าฝนมากเพีย งพอหรือริมฝั่งทะเลที่น้าทะเลเข้าถึง เช่น
ประเทศไทย มาเลเซีย อินเดีย ละตามหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
           ในประเทศไทยนั้นมะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างหนึ่งของไทยมีการปลูกมากในภาคกลาง และภาคใต้
โดยเฉพาะจังหวัดตามชายทะเล เช่น ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎ์ธานี นครศรีธรรมราช เป็นต้น มะพร้าวเป็น
พืช ที่มี ค วามส าคัญอย่ า งยิ่ งในการดารงชีวิต เนื่องจากเป็นพืชที่เราไม่ต้องดูแลรักษามาก แต่สามารถนามาใช้
ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า กล่าวคือ นอกจากใช้บริโภคแล้ว ส่วนต่าง ๆ ของมะพร้าวยังสามารถนามาประดิษฐ์ของ
ใช้ที่มีประโยชน์ได้ เช่น รากใช้สานตะกร้า ลาต้นนามาใช้ในการก่อสร้าง ใบนามาสานเป็นภาชนะใส่ของหรือทา
ของเล่น เป็นต้น




                           ภาพที่ 4 แสดงโคมไฟจากกะลามะพร้าว
           2.4 ไม้เนื้ออ่อน
        ไม้เนื้ออ่อน คือ ไม้ที่มีเนื้อไม้สีอ่อนหรือสีซีด มีน้าหนักเบา มีความแข็งแรงน้อย และมีความทนทาน
น้อย ไม่ค่อยทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ หรือการกัดแทะของแมลง เช่น ปลวก มอด เหมาะสาหรับนามาใช้งาน
ชั่วคราวหรืองานในร่ม ไม้เนืออ่อน ได้แก่ ไม้ฉาฉา ไม้ยาง ไม้กระบาก ไม้สัก เป็นต้น บางชนิดพบได้ป่าดิบชื้น
                             ้
บริเวณทิวเขาในภาคเหนือ คาบสมุทรภาคใต้ ทิวเขาทาง ด้านตะวันตก และทิวเขาด้านตะวันออกของอ่าวไทย
เช่น ไม้ยาง ไม้กระบาก บางชนิดพบในป่าเบญจพรรณที่มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง เช่น ไม้สัก เป็นต้น ไม้เนื้ออ่อน
เป็นไม้ที่หาได้ง่าย และมีราคาไม่แพง
        ไม้เนื้ออ่อนสามารถนามาแกะสลักเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ ทาเป็นภาพประดับฝาผนังหรือนามาทาเครื่องเรือน
เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางของ เป็นต้น




                                      ภาพที่ 5 แสดงเก้าอี้ไม้เนื้ออ่อน
2.5 ย่านลิเภา
         ย่านลิเภาเป็นพืชประเภทเถาวัลย์ มีลักษณะเป็นเถา ลาต้นจะโตประมาณก้านไม้ขีด หรือหลอดกาแฟ เมื่อโต
เต็มที่จะยาวประมาณ 2 วา ใบของย่านลิเภาจะเป็นใบเล็ก ๆ และหยิกงอชอบขึ้นอยู่ตามชายป่าละเมาะ และจะเลื้อย
เกี่ยวพันอยู่กับต้นไม้อื่น ๆ แต่จะขึ้นเกาะอยู่เหนือต้ นไม้อื่นจึงทาให้มองเห็นได้ง่ายย่านลิเภามีมากในแถบจังหวัด
ภาคใต้ของไทยโดยเฉพาะที่จังหวัดนครศรีธรรมราช
         คุณสมบัติพิเศษของย่านลิเภา คือ มีลาต้นเหนียวทนทาน จึงเหมาะที่จะนามาสานเป็นภาชนะเครื่องใช้ต่าง
ๆ เช่น เชี่ยนหมาก พาน กล่องยาเส้น กล่องใส่ของ กระเป๋าถือ เป็นต้น หรือนามาใช้ผูกรัดสิ่งของก็ได้




                            ภาพที่ 6 แสดงกล่องหมากพระราชทาน รัชกาลที่ 5
        2.6 ใบลาน
        ลานเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในตระกูลปาล์มชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายต้นตาล จัดเป็นไม้ ยืนต้นขนาด
กลาง ลาต้นตรงและแข็ง สูงประมาณ 10 เมตร มีใบออกรอบลาต้นเป็นชั้น ๆ               ยาวประมาณ 2 - 3 เมตร
ใบมีลักษณะคล้ายพัด พบได้ทั่วไปทางภาคกลาง และภาคใต้ทางแถบชายฝั่งด้านตะวันออก เช่น นครศรีธรรมราช
สงขลา พัทลุง เป็นต้น เรานิยมนาใบลานมาสานเป็นหมวกงอบ หรือนามาสานเป็นของเล่นให้เด็ก เช่น การสาน
เป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ




                                   ภาพที่ 7 แสดงหมวกจากใบลาน
2.7 ผักตบชวา
        ผักตบชวาจัดเป็นพืชน้าประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวลอยน้าเจริญงอกงามโดยไม่ต้องอาศัยรากยึดเกาะ มีชื่อเรียกใน
แต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน เช่น ผักปอด สวะ ผักโรค ผักตบชวา ผักยะวา ผักอีโยก เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยมี
ผักตบชวามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยเจ้านายในสมัยนั้นได้ตามเสด็จไปประเทศอินโดนีเชีย พ.ศ. 2444 ได้เห็นผัก
ชนิดนี้ออกดอกสีม่วงสวยงามอยู่ทั่วไปจึงได้นาเอาพันธุ์ผักตบชวามายังประเทศไทยเพียงเล็กน้อย ใส่อ่างดินเลี้ยงไว้
หน้าวังสระประทุมจนกระทั่งออกดอกสวยงามและเพิ่มจานวนมากขึ้นจนล้นกระถางประกอบด้วยในช่วงนั้นเกิดน้า
ท่วมวังสระประทุมทาให้ผักตบชวาล่องลอยกระจัดกระจายออกไปตามที่ต่าง ๆ              ผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์ที่
ตลาดมีความต้องการมาก จัดเป็นผลิตภัณฑ์หลักในการผลิตของผู้ผลิต เช่น กระเป๋า ตะกร้า เป้ ในรูปแบบต่าง ๆ
        ผลิตภัณฑ์รอง ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ตลาดมีความต้องการรองลงไป คือ กรอบรูป หมวก รองเท้า ของ
ชาร่วย และโคมไฟ เป็นต้น
ภาพที่ 8 แสดงตะกร้าจากผักตบชวา

           2.8 เปลือกข้าวโพด
         ข้าวโพด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซีเมส์ (Zea mays) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลาต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลาต้น 0.5-2.0 นิ้ว ถิ่นกาเนิดก็คือ ได้มีการขุดพบซังข้าวโพดและซากของต้นข้าวโพดที่
ใกล้แม่น้าในนิวเม็กซิโก (แถบอเมริกาใต้) และปัจจุบันนิยมปลูกแพร่หลายในแถบอเมริกา แคนาดา ฯลฯ สามารถ
ปลูกได้ในสภาพที่ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก ๆ เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสัตว์ เพราะสามารถนามาเลี้ยงสัตว์ได้
ทั้งต้น ใบ และเมล็ด
           นอกจากนี้ เปลือกข้าวโพด สามารถนาไปประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆได้อีกมากมาย เช่น ตุ๊กตา กระเป๋า
ครอบกล่องกระดาษทิชชู พัด ดอกไม้จันทน์ กระทง เป็นต้น




                            ภาพที่ 9 แสดงกระทงจากเปลือกข้าวโพด
          2.9 เกล็ดปลา
        เกล็ดปลาทุกชนิดมีคุณสมบัติในการดูดสีและกลิ่น จึงสามารถนามาย้อมสีและอบกลิ่นหอมได้ เกล็ดปลาที่
เหมาะสาหรับทาสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ควรเป็นเกล็ดปลาที่มีพื้นผิวสาก ลักษณะของเกล็ดปลาที่มีผิวสาก ขอบเกล็ดบาง
ใส มีสันเป็นแกนหนา พื้นผิวเกล็ดมีลักษณะสากมือเมื่อสัมผัส เนื่องจากมีหนามเล็ก ๆ โดยเฉพาะบริเวณแกนกลาง
ของเกล็ด หนามที่ผิวเกล็ดช่วยให้เกล็ดดูดซึมสีและกลิ่นได้ดีติดทนนาน ส่วนสันที่เป็นแกนหนา ช่วยให้เกล็ดปลามี
คุณสมบัติในการคงรูปทรงเกล็ดปลาที่อยู่ในกลุ่มนี้ และมีปริมาณมากพอที่จะนามาทาในเชิงการค้า ได้แก่ เกล็ด
ปลากระพง ปลาครืดคราด ปลากระบอก เป็นต้น
        นอกจากนี้เกล็ดปลายังสามารถนามาทางานประดิษฐ์ประเภทต่าง ๆ ได้ เช่น เครื่องประดับดอกไม้ ของ
ชาร่วย เป็นต้น
ภาพที่ 10 แสดงดอกไม้เกล็ดปลาประดับกล่องทิชชู
           2.10 ตะโก
          ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 15 เมตร เปลือกต้นสีดาแตกเป็นสะเก็ด หน้าใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน
รูปไข่กับหรือรูปป้อม ๆ กว้าง 2.5-7 ซม. ยาว 3 - 12 ซม. โคนใบสอบเป็นรูปลิ่ม ปลายใบโค้งมน ป้าน เว้าเข้าใบ
เกลี้ยงด้านล่าง เมื่อใยยังอ่อนอยู่มีขนบ้าง เส้นใบมี 6 - 8 คู่ เห็นได้ชัดทางด้านล่าง เส้นกลางใบสีแดงเรื่อ ๆ เมื่อใบ
แห้ ง ดอก ดอกเพศผู้ แ ละดอกเพศเมี ย อยู่ ค นละต้ น ดอกเพศผู้ อ อกเป็ น ช่ อ เล็ ก ๆ ตามง่ า มใบ ช่ อ หนึ่ ง ๆ มี
ประมาณ 3 ดอก มีขนนุ่ม กลีบรองกลีบดอกและกลีบดอกมี 4 กลีบ กลีบดอกยาว 8 - 12 มม. เชื่อมติดกันเห็นรูป
เหยือกน้าหรือรูปป้อม ๆ ปลายแยกเป็นแฉกเล็ก ๆ ส่วนดอกเพศเมียออกดอกเดี่ยวตามง่ามใบ กลีบรองดอก และ
กลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้แต่ใหญ่กว่า ผล มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.52.5 ซม. เมื่อผลอ่อนมีขนสีน้าตาล
แดง          ขนร่วงง่าย โคนและปลายผลมักบุ๋ม
           ใบตะโกสามารถนามาทาเป็นใบบางเพื่อประดิษฐ์ดอกไม้ เป็นเครื่องประดับ หรือเป็นโคมไฟ เป็นต้น




                               ภาพที่ 11 แสดงดอกไม้ประดิษฐ์จากใบตะโก
3. คุณค่าของผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
         ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อการดารงชีวิตของคนมานานแล้ว โดยการเลือกสรร
วัสดุพื้นบ้านที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่าง ๆ โดย มุ่งประโยชน์ในด้านการใช้สอยเป็นหลัก
นอกจากนั้นบางแห่งยังให้ความสาคัญในด้านความสวยงามด้วย จนทาให้ผลิตภัณฑ์บางอย่างกลายเป็นงาน
ศิลปหัตถกรรมที่มีคุณค่าเช่น กระเป๋าถือที่สานด้วยย่านลิเภา ชุดฝาชีที่สานด้วยหวาย เสื่อที่สานด้วยกระจูด เป็นต้น
         จุดมุ่งหมายของการทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ประเมินคุณค่าได้ 2 ประเภท คือ
         3.1 คุณค่าทางด้านประโยชน์ในการใช้สอย ได้แก่ การใช้วัสดุท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือหรือ
ภาชนะต่าง ๆ เพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น มีการสานกระบุงไว้ใส่ข้าว มีการสานกระจาดไว้ใส่ผลไม้ หรือมีการ
ทาลอบไว้จับปลา เป็นต้น หรือการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆในทางศาสนา หรือ
ประเพณี เช่น การสานเสื่อลาเจียกเพื่อใช้ในประเพณีการแต่งงานทางภาคใต้
ภาพที่ 12 แสดงกระบุงที่ทาขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือน
                      ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน).(2551)
         3.2 คุณค่าทางด้านความงดงามทางศิลปะ คุณค่าทางด้านนี้เกิดจากการประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ ที่มีความ
สวยงามละเอีย ดและประณีตบนผลิตภัณฑ์ ซึ่งขึ้นอยู่ กั บความสามารถของผู้ประดิษ ฐ์ในแต่ล ะท้องถิ่น ทาให้
ผลิตภัณฑ์นั้นกลายเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่มีค่า เช่น กระเป๋าย่านลิเภา ชุดฝาชีหวาย เป็นต้น




                                ภาพที่ 13 แสดงกระเป๋าย่านลิเภา

ความสาคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
            งานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์มีความสาคัญและประโยชน์ ดังนี้
            1. การใช้สอย งานประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นทุกชิ้นส่วน มีจุดมุ่งหมายที่สาคัญ คือการนาไปใช้ประโยชน์ด้าน
ต่าง ๆ
            2. การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การใช้เวลาว่างในการทางานประดิษฐ์จะทาให้เกิดนิสัยรักการทางาน
ขยัน อดทน และมองเห็นคุณค่าของงาน
            3. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การทางานประดิษฐ์อย่างสม่าเสมอจะทาให้เกิดความคิดในการพัฒนา
ปรับปรุงและดัดแปลงชิ้นงาน ทาให้ได้ชิ้นงานที่มีความแปลกใหม่ และประณีตที่เกิดจากความชานาญ
            4. เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เมื่อประดิษฐ์ผลงานได้สาเร็จ และนาไปใช้ได้ตามวัตถุประสงค์
            5. เพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ที่ประณีต สวยงามมีความแปลกใหม่
เป็นที่ชื่นชมและสนใจแก่ผู้พบเห็น สามารถเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
หลักการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
           การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ให้ประสบความสาเร็จได้นั้น ผู้ประดิษฐ์จะต้องมีนิสัยรักการทางาน ขยัน
อดทน และมองเห็นคุณค่าของงานประดิษฐ์ โดยยืดหลักการดังนี้
1. หมั่นศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ และเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ การจะสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ให้สวยงาม
แปลกใหม่ จะต้องหมั่ นศึ กษา ค้ นคว้า เช่ น ศึ กษาจากนวัตกรรมที่ผู้เขีย นสร้างขึ้นเป็นพื้ นฐาน และศึก ษาจาก
วารสาร นิตยสารประเภทงานฝีมือหรืองานประดิษฐ์ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อนามาเป็นแนวทางในการพัฒนาให้
เกิดความคิดสร้างสรรค์และประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ที่แปลกใหม่
           2. หมั่นพัฒนาทักษะฝีมือ การทางานประดิษฐ์ด้วยความมุ่งมั่น หมั่นฝึกฝนฝีมือและประสบการณ์ในการ
ทางาน จะทาให้เกิดความชานาญ เมื่อประดิษฐ์ชิ้นงานออกมาก็จะได้ชิ้นงานที่มีคุณภาพและสวยงามประณีต และ
เป็นที่สนใจแก่ผู้พบเห็น
             ปัจจุบันผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นเป็นสินค้าที่เป็นที่นิยมทั้งของชาวไทย และชาวต่างประเทศไม่ว่าจะ
เป็นของใช้หรือของที่ระลึก ที่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันออกไป ผลิตภัณฑ์บางชนิดแสดงถึงเอกลักษณ์ของชน
ในชาติ บางชนิดก็เน้นในเรื่ องการออกแบบรูปทรงให้สวยงามและเหมาะสมกับประโยชน์ในการใช้สอย ทั้งนี้มี
หลักสาคัญอยู่ที่ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสม
       1. ความสาคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์
1. ฝึกให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างผลงานให้มีรูปร่างแปลกใหม่และพัฒนางานประดิษฐ์เดิมให้สามารถใช้
ประโยชน์ขึ้น
2. งานประดิษฐ์ที่ใช้วัสดุต่าง ๆ ที่นามาประกอบกันเป็นชิ้นงาน สามารถใช้วัสดุอื่นทดแทนกันได้ และสามารถนา
วัสดุที่มีในท้องถิ่น มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
3. ฝึกให้รู้จักการวางแผนทางานอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอนการปฏิบัติเป็นการสร้างระเบียบวินัยให้ตนเอง และมี
นิสัยรักในงานประดิษฐ์
4. ให้นักเรียนรู้จักใช้และดูแลรักษาเครื่องมือในงานประดิษฐ์อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับประเภทของงาน
ประดิษฐ์
5. ฝึกการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถทางานได้อย่างมีสมาธิและมีความสุข ในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
ประดิษฐ์ของตนเอง
6. ฝึกให้นักเรียนรู้จักประหยัด สามารถนาสิ่งของที่เหลือใช้มาทาให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ในการลงทุนมากนัก
7. เป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้มีการสืบทอดและพัฒนาต่อไปจากภูมิปัญญาเดิมสู่การเรียนรู้ที่มากขึ้น
และเป็นผลงานของคนไทย
8. สามารถเพิ่มพูนรายได้ให้กับผู้ประดิษฐ์ โดยการนาออกไปจาหน่ายในโอกาสต่าง ๆและสร้างเป็นอาชีพได้ใน
อนาคต
9. เกิดความภาคภูมิใจในชิ้นงานของตนเอง ทาให้ผู้อื่นยอมในความสามารถของตนเองในระดับหนึ่ง
 2. ลักษณะของงานประดิษฐ์ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
             1. งานประดิษฐ์ทั่วไป
เป็นงานประดิษฐ์ที่ไม่มีความเป็นมาจากบรรพบุรุษหรือท้องถิ่น กล่าวคือเป็นงานประดิษฐ์ที่บุคคลทั่วไป สามารถ
เรียนรู้และนาไปประดิษฐ์ได้โดยอาศัยการศึกษาจากตารา เช่นดอกไม้จากเศษวัสดุเหลือใช้ หมวก ตุ๊กตา เครื่องใช้
ต่าง ๆ
             2. งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
เป็นงานประดิษฐ์ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษหรืองานประดิษฐ์ที่มีเฉพาะในท้องถิ่นนั้น ๆ โดยส่วนมากจะเป็นการ
สืบทอดจากผู้ใหญ่ในครอบครัวมาสู่ลูกหลานงานประดิษฐ์หลายอย่างทาขึ้นเพื่องานประเพณีทางเช่น พานพุ่ม มาลัย
เครื่องแขวนบายศรี และบางอย่างก็ทาขึ้นเพื่อความสวยงาม สนุกสนาน ภายในครอบครัว เช่นว่าวไทย รถลาก ตุ๊กตา
      3. ประเภทของงานประดิษฐ์ตามโอกาสใช้สอย
งานประดิษฐ์ต่าง ๆ เราสามารถเลือกชิ้นงานประดิษฐ์ได้ตามประโยชน์ หรือความต้องการใช้สอยในโอกาสต่าง ๆ
ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของงานประดิษฐ์ตามโอกาสใช้สอยดังนี้
1. ประเภทงานประดิษฐ์เครื่องเล่น งานประดิษฐ์เครื่องเล่นส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนรู้และฝึกฝนจากผู้ใหญ่มาสู่
ลูกหลานในบ้าน และมีการแพร่กระจายจากเพื่อนมาสู่เพื่อน เช่นการประดิษฐ์ตุ๊กตา ว่าว และรถลาก
2. ประเภทเครื่องใช้ งานประดิษฐ์เครื่องใช้เป็นชิ้นงานที่ทาขึ้นเพื่อความสะดวกสบายและเป็นเครื่องทุ่นแรงในการ
ดาเนินชีวิต หรือประกอบอาชีพในชีวิตประจาวัน เช่นเสื้อผ้า แจกัน หมวก ตะกร้า กระจาดและเข่ง
3. ประเภทเครื่องตกแต่ง งานประดิษฐ์ตกแต่ง ทาขึ้นเพื่อความสวยงามและเป็นสิ่งประดิษฐ์ใช้กับบ้านเรือน
นอกจากนี้บางชิ้นงานสามารถนามาใช้ในด้านการใช้สอยได้ เช่นกรอบรูป โคมไฟ ภาพวาด งานแกะสลัก
4. ประเภทเครื่องใช้ในพิธี ทาขึ้นเพื่อใช้ในพิธีทางศาสนา ในช่วงโอกาสต่าง ๆ และงานประเพณีสาคัญ เช่นงานลอย
กระทง งานวันเข้าพรรษา ออกพรรษา งานศพ งานประดิษฐ์เครื่องใช้ เช่น พานพุ่ม มาลัย บายศรี การจัดดอกไม้ใน
งานศพ
 4.หลักการทางานประดิษฐ์
ในการทางานประดิษฐ์เพื่อให้ได้ผลงานตามจุดหมายที่กาหนดไว้ ควรยึดหลักในการทางานประดิษฐ์ดังต่อไปนี้
1. ศึกษารายละเอียดของงานที่จะนามาประดิษฐ์ให้เข้าใจ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบต่าง ๆ ของงาน
และเลือกทาสิ่งประดิษฐ์ให้เหมาะสมความรู้ ความสามารถของตนเอง และเป็นสิ่งที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวันได้
2. วางแผนการทางาน กาหนดขั้นตอนการทางานให้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่ายและออกแบบ
รายละเอียดวิธีการประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วน เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน
3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทางานประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วนและใช้ให้เหมาะสมกับการที่ออกแบบไว้
โดยทั่วไปการเลือกวัสดุมาใช้ในงานประดิษฐ์ นิยมเลือกใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น หรือวัสดุที่มีอยู่ภายในบ้านซึ่งหา
ง่าย มีราคาถูก
4. ลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ขณะที่ทาการประดิษฐ์ เมื่อเกิดปัญหาไม่ควรท้อถอย ควรปรึกษาครู
หรือผู้ที่มีความสามารถ และควรพยายามตั้งใจปฏิบัติงานต่อไปจนกว่างานจะสาเร็จ
 5. การออกแบบงานประดิษฐ์
การออกแบบ หมายถึงการแสดงความคิด การวางแผน เพื่อกาหนดรูปแบบผลงานที่ต้องการก่อนทางาน
ประดิษฐ์ โดยการร่างภาพเขียนด้วยดินสอและไม้บรรทัดเท่านั้น การออกแบบมีความสาคัญมากเพราะผู้ออกแบบ
ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์การดัดแปลง แก้ผลงาน ให้มีรูปร่างแปลกใหม่ การออกแบบที่ดีจะช่วยให้การทางานได้
สะดวกรวดเร็วขึ้นผลงานสาเร็จตรงตามต้องการไม่มีผิดพลาด
 หลักการออกแบบ
เมื่อจะออกแบบควรนาองค์ประกอบที่สาคัญของการออกแบบมาใช้โดยยึดหลักดังต่อไปนี้
 1. ความสมดุล เกี่ยวข้องกับความรู้สึกในการมองเห็นทั้งด้านรูปทรง น้าหนัก สี ความสมดุลเท่ากัน และความสมดุล




ที่ไม่เท่ากัน
2. สัดส่วนหมายถึงการได้ส่วนกันของสิ่งที่ออกแบบ เช่น การออกแบบดอกไม้ ส่วนประกอบดอกไม้ ใบ ก้าน ควร
ได้สัดส่วนดอกไม่ควรใหญ่เกินก้านและใบมากนัก
3. ความกลมกลืน คือการออกแบบวัตถุให้มีรูปทรงที่ไปด้วยกันได้ สีก็ต้องกลมกลืนกันการใช้แสง และเงาที่ไป
ด้วยกันได้
4. ความแตกต่าง คือการใช้ส่วนประกอบของการออกแบบที่ไม่ซ้ากัน ใช้สีที่ไม่เหมือนกัน
5. การเน้นให้เกิดจุดเด่น คือการออกแบบที่ทาให้เกิดจุดเด่นสะดุดตา ทาให้น่าสนใจ น่าดู อาจเน้นสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพียง
อย่างเดียวก็ได้ เช่น สี เส้น รูปร่าง
 วิธีการออกแบบงานประดิษฐ์
1. ร่างโครงร่าง กาหนดรูปแบบ บอกขั้นตอนการประดิษฐ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนสาเร็จ
2. กาหนดวัสดุ หรือเศษวัสดุ ที่ต้องนามาใช้ให้ครบถ้วน
3.กาหนดรายชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องใช้
4.กาหนดราคาทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประดิษฐ์
5.บอกประโยชน์ของผลงานว่าจะนาไปใช้ประโยชน์อะไรดีกว่าเดิมหรือไม่
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในงานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น
           ในการประดิษ ฐ์ ผลิตภัณฑ์จากวัส ดุท้องถิ่น ขึ้นมานั้น ผลิตภัณฑ์ ที่ ผลิต ออกมาจะมีคุณภาพดีหรือไม่
เพียงใด และจะใช้ระยะเวลาในการประดิษฐ์ชิ้นงานสั้นยาวเท่าไร ขึ้นอยู่กับเครื่องมือที่ใช้เป็นสิ่งสาคัญ เครื่องมือ
แต่ละประเภท มีลักษณะการใช้งานไม่เหมือนกัน ดังนั้นการเลือกใช้เครื่องมือจึงจาเป็นต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม
กับประเภทของงาน คุณภาพและประหยัดเวลาใน                   การผลิตชิ้นงาน เครื่องมือแต่ละชนิดที่เราควรรู้จัก มีดังนี้
1. เลื่อย
เลื่อยเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับตัดวัสดุต่าง ๆ สาหรับผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น เลื่อยมีหลายชนิด ดังนี้
           1.1 เลื่อยลันดา เป็นเลื่อยที่ใช้ตัดไม้และใช้โกรกไม้ มีขนาดต่าง ๆ กัน การเลือกใช้ต้องให้เหมาะสมกับ
ชนิดของงาน เช่น ใช้เลื่อยลันดาที่มีฟันละเอียด ตัดลาไผ่ ข้อ ตา และตอเหง้าไม้ เป็นต้น



                                           ภาพที่ 14 แสดงเลื่อยลันดา
          1.2 เลื่อยอกหรือเลื่อยโครง ลักษณะรูปร่างของเลื่อยมีโครงเป็นไม้เนื้อแข็งมีมือจับด้านข้าง และหัวท้าย
ของใบเลื่อยจะมีที่จับใบเลื่อย ฟันของเลื่อยอกจะเป็นฟันละเอียด เหมาะแก่การตัดลาไผ่ ปล้อง ข้อ ตา และตอเง่า
ไม้




                                    ภาพที่ 15 แสดงเลื่อยอกหรือเลื่อยโครง
         1.3 เลื่อยลอ ลักษณะฟันเลื่อยจะมีความถี่มาก มีด้ามกลม เหมาะสาหรับการจับเลื่อยลอนี้เหมาะสาหรับ
ใช้กับงานเฟอร์นิเจอร์ทั่ว ๆ ไป มีประโยชน์ใช้ตัดเข้าปากไม้




                                              ภาพที่ 16 แสดงเลื่อยลอ
         1.4 เลื่อยฉลุ เป็นเลื่อยที่มีสันเหล็กเป็นรูปโค้ง มีด้ามถือเป็นไม้ ใช้ตัดไม้ไผ่ที่ผ่าเหลาเกลาเสี้ยนเรียบร้อย
แล้ว หรือใช้เลื่อยตัดสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ตัดกิ่งไม้ไผ่ หวาย เป็นต้น
ภาพที่ 17 แสดงเลื่อยฉลุ
2. สว่าน
    สว่านเป็นเครื่องมือประเภทเจาะใช้สาหรับงานเจาะรูวัสดุเพื่อผลิตชิ้นงาน สว่านมีหลายชนิด การเลือกใช้สว่าน
จึงควรพิจารณาให้เหมาะสมกับชิ้นงานแต่ละประเภท สว่านที่จาเป็นสาหรับงานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น มีดังนี้
          2.1 สว่านข้อเสือ เป็นสว่านที่ใช้กับงานไม่ได้สะดวกโดยไม่จาเป็นต้องใช้กับไฟฟ้า สามารถเปลี่ยนดอก
สว่านได้หลายขนาดตามความต้องการ




                                      ภาพที่ 18 แสดงสว่านข้อเสือ
         2.2 สว่านมือ ใช้สาหรับเจาะรูนาก่อนที่จะตอกตะปูเข้าเนื้อไม้ เหมาะสาหรับงานเล็ก ๆ




                                        ภาพที่ 19 แสดงสว่านมือ
3. มีด
         มีดเป็นเครื่องมือที่ใช้ตัดหรือผ่าไม้ มีดที่นิยมใช้กันมี 2 ชนิด ดังนี้
         3.1 มีดผ่า ใช้สาหรับผ่าไม้ มี 2 แบบ คือ
              1) มีดโต้หัวมน ใช้ตัดไม้ไผ่ หวาย เป็นท่อน ๆ ผ่าเป็นชิ้น มีดโต้หัวมนนี้เป็นมีดแบบไทย



                                     ภาพที่ 20 แสดงมีดโต้หัวมน
             2) มีดปลายตัด เป็นมีดแบบญี่ปุ่น ใช้ผ่า เหลา ขูดเกลาเสี้ยน และจักตอก



                                         ภาพที่ 21 แสดงมีดปลายตัด
        3.2 มีดตอก ใช้สาหรับจักตอกให้เป็นเส้น แต่งเนื้อไม้ ขูดเกลาเสี้ยน มักมีรูปเรียวแหลม ปลายและด้าม
งอน ตัวมีดจะสั้นกว่าเดิม เพื่อให้เหมาะแก่การใช้งาน มีน้าหนักเบาทาให้ใช้งานได้สะดวก




                                         ภาพที่ 22 แสดงมีดตอก
นอกจากนี้ อาจจะมีมีดบางเล็กหรือมีดเจียนหมากไว้สาหรับช่วยงานเล็ ก ๆ น้อย ๆ เช่น ผ่าหวาย เจียน
แต่งวัสดุต่าง ๆ มีบางนี้เป็นมีดที่หาได้ง่ายและมีราคาถูก
4. คีม
          คีมที่ใช้กับงานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น มี 2 ชนิด ดังนี้
          4.1 คีมไม้ เป็นเครื่องมืออีกชนิดหนึ่ง ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง ใช้สาหรับหนีบ หรือจับชิ้นงาน




                                         ภาพที่ 23 แสดงคีมไม้
          4.2 คีมเหล็ก เป็นคีมปากยาว มีร่องฟันละเอียดเหมาะสาหรับการคีบดึงปลายหวายที่ผูกพัน หรือเส้น
ตอกที่สั้นดึงด้วยมือไม่ถนัด



                                        ภาพที่ 24 แสดงคีมเหล็ก
5. กรรไกร
           กรรไกรใช้สาหรับตัดเศษหวายหรือเส้นตอกในส่วนที่ไม่ต้องการทิ้งไป กรรไกรที่ใช้ นี้จะมีปลายงอน
เช่นเดียวกับกรรไกรตัดโค้งที่ใช้ตัดโลหะ ระหว่างขากรรไกรมีแหนบสปริง เมื่อปลดขอเกี่ยวจะทาให้ขากรรไกร
ถ่างอยู่เสมอ ทาให้บีบจับขยับมือได้สะดวก




                                        ภาพที่ 25 แสดงกรรไกร
6. เหล็กหมาด
         เหล็กหมาดเป็นเหล็กปลายแหลมใช้สาหรั บเจาะ งัด แงะ มีทั้งเหล็กหมาดปลายแหลม และเล็กหมาด
ปลายแบน ซึ่งเหล็กหมาดทั้ง 2 ชนิดนี้ เราสามารถทาใช้เองได้ โดยใช้เหล็กก้านร่มซึ่งเอามาจากร่มที่ชารุด นามา
ตัดให้ยาวประมาณ 5.5 นิ้ว แล้วฝังลงไปในด้ามไม้ประมาณ 1.5 นิ้ว จากนั้นนามาฝนกับหินให้แหลมหรื อจะทุบ
ปลายให้แบน แต่งปลายให้คล้ายปลายลูกศรหรือ ใบหอก เหล็กหมาดนี้ใช้เจาะรูหรือเจาะเบิกนาช่องเพื่อร้อย
หวายสาหรับผูกขอบปากงาน




                                      ภาพที่ 26 แสดงเหล็กหมาด
7. คราดเลียด
         คราดเลียดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแต่งเส้นหวายให้มีขนาดเส้นเท่า ๆ กัน ทาด้วยแผ่นสังกะสี นามาเจาะรู
ขนาดต่าง ๆ กัน โดยเรียงลาดับจากรูใหญ่และเล็กลงตามลาดับ ซึ่งมีทั้งรูกลมและรูแบน




                                        ภาพที่ 27 แสดงคราดเลียด
8. ค้อน
ค้อนใช้สาหรับตอกชิ้นงานให้ยึดติดกัน ต้อนที่ใช้ในงานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นมักใช้ค้อนที่มีขนาดเล็ก




                                           ภาพที่ 28 แสดงค้อน
9. ไม้สาหรับกรีดใบลาน
          ไม้สาหรับกรีดใบลานมีลักษณะคล้ายด้ามแปรง มีตะปูตอกเป็นระยะห่างเท่า ๆ กัน และให้ปลายตะปู
โผล่ขึ้น ใช้สาหรับหวีกรีดใบลาน หรือกาบกล้วยเพื่อให้เส้นงานที่จะใช้สานถักมีขนาดเท่ากันทุกเส้น




                                   ภาพที่ 29 แสดงไม้สาหรับกรีดใบลาน
10. แท่นหุ่นทาด้วยไม้
          แท่นหุ่นทาด้วยไม้ ซึ่งทาเป็นรูปต่าง ๆ เช่น รูปกระเป๋า รูปตะกร้า เพื่อใช้เป็นโครงของการถักสาน
ชิ้นงาน เป็นต้น




                                     ภาพที่ 30 แสดงแท่นหุ่นทาด้วยไม้
11. การใช้และการบารุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้
          การเก็บรักษาเครื่องมือเป็นสิ่งจาเป็นที่เราควรฝึกให้เป็นนิสัย หลังจากการปฏิบัติงานเสร็จแล้ว ควรเก็บ
เครื่องมือให้เรียบร้อย เพราะการเก็บรักษาเครื่องมือให้ถูกวิธีจะเป็นการช่วยถนอมรักษาเครื่องมือให้ใช้งานได้นาน
ไม่ชารุดหรือเสียหายง่าย และสามารถหยิบใช้ได้สะดวกเมื่อต้องการใช้งาน การจัดเก็บเครื่องมือมีหลายวิธี อาจจะ
เก็บไว้บนชั้น ในตู้ หรือแขวนไว้กับผนัง โดยแยกเก็บเป็นประเภทการใช้งาน การจัดเก็บแต่ละวิธีต้องคานึงถึง
ประโยชน์ ความเหมาะสม ความปลอดภัย และสามารถหยิบใช้ได้สะดวก ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้
           1. ใช้เครื่องมือให้ถูกประเภท ถูกหน้าที่และวิธีการใช้
           2. ควรใช้เครื่องมืออย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เครื่องมือเกิดการชารุดเสียหาย
           3. เมื่อปฏิบัติงานเสร็จแล้วต้องเช็ด ถู ทาความสะอาดเครื่องมือทุกครั้ง ถ้าเป็นเครื่องมือที่ทาด้วยโลหะให้
หยอดด้วยน้ามันเพื่อป้องกันสนิม
           4. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
Chok Ke
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
อำนาจ ศรีทิม
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
Yutthana Sriumnaj
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
Petsa Petsa
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
krupeak
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 

Mais procurados (20)

สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 

Destaque

ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
Duangsuwun Lasadang
 

Destaque (8)

ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือช่างพื้นฐานงานประดิษฐ์
 
ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
 
ใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่างใบความรู้ช่าง
ใบความรู้ช่าง
 

Semelhante a ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์

Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
Wanlop Chimpalee
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
varut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kanjanarut II
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
Benjawan Punkum
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
Nuttayaporn2138
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
pangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
mingpimon
 

Semelhante a ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ (20)

Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
natchuda
natchudanatchuda
natchuda
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 

Mais de Duangsuwun Lasadang

มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
Duangsuwun Lasadang
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
Duangsuwun Lasadang
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
Duangsuwun Lasadang
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
Duangsuwun Lasadang
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
Duangsuwun Lasadang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Duangsuwun Lasadang
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
Duangsuwun Lasadang
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน Flowchart
Duangsuwun Lasadang
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
Duangsuwun Lasadang
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
Duangsuwun Lasadang
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
Duangsuwun Lasadang
 

Mais de Duangsuwun Lasadang (20)

111
111111
111
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
Multimedia
MultimediaMultimedia
Multimedia
 
1storyboard
1storyboard1storyboard
1storyboard
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงานแบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงานการนำเสนอโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน Flowchart
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้ประกาศรับสมัครครูสามโก้
ประกาศรับสมัครครูสามโก้
 
3
33
3
 
1
11
1
 
2
22
2
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
ตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอมตัวอย่าโครงงานคอม
ตัวอย่าโครงงานคอม
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
 

ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์

  • 1. ใบความรู้เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น 1. ความหมายของผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ค้นคว้า ออกแบบ ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อช่วยอานวยความสะดวกสบายในการ ดารงชีวิต วัสดุท้องถิ่น หมายถึง วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่งสามารถนามาผลิตหรือประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่าง ๆ ที่ นาไปใช้ประโยชน์ได้ ในด้านที่เกี่ยวกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ คือชนในท้องถิ่นส่วนใหญ่ได้ใช้สอยผลิตภัณฑ์ที่ทาขึ้น เพื่อ อานวยความสะดวกสบายในชีวิตประจาวัน เช่น การนาดินเหนียวมาทาเป็นผลิตภัณฑ์ปั้นหม้อดินสาหรับหุงข้าว และปั้นชามดิน สาหรับใส่อาหาร ซึ่งถือว่าเป็นประดิษฐ์กรรมชิ้นแรกของมนุษย์ที่สร้างขึ้ นเพื่อการดารงชีวิตที่ดี ควบคู่มากับวิวัฒนาการด้านอื่นของมนุษย์ การนาวัสดุจากท้องถิ่นมาประดิษฐ์หรือทาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีจุดมุ่งหมายหลายประการ โดยจาแนกเป็น ข้อ ๆ ได้ ดังนี้ 1.1 ทาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ การทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นนั้น แต่ดั้งเดิมจะเกิดขึ้นควบคู่กับการ ดารงชีวิตของชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อใช้สอยตามความจาเป็นของการดารงชีวิต รูปทรงของผลิตภัณฑ์ ขึ้นอยู่กับการนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การสานกระบุงไว้ใส่ ข้าว การสานกระจาดสาหรับใส่ผลไม้ หรือทาเป็น เครื่องมือในการประกอบอาชีพ เช่น ทาลอบ ทาไซไว้ดักปลา ทากี่กระตุกไว้ใช้ทอผ้าต่าง ๆ เป็นต้น 1.2 ทาเป็นงานอดิเรก เมื่อว่างเว้นจากการทางานให้คนมีเวลาว่างที่จะประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ขึ้นมา โดยเลือก เอาวัสดุในท้องถิ่ นที่สามารถหาได้ง่ายมาทาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อทาเป็นงานอดิเรก เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ และเป็นการผ่อนคลายความเครียด 1.3 เพื่อเป็นการเสริมรายได้ในครอบครัว อาชีพหลักของคนไทยส่วนใหญ่ ได้แก่ เกษตรกรซึ่งจะต้องทา เป็นช่วงเลา เช่น การทานา ดังนั้นเมื่ อว่างเวนจากการประกอบอาชีพหลักจึงมีการนาวัสดุในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจาหน่ายเป็นการเสริมรายได้ให้แก่ครอบครัว 1.4 ทาเป็นอาชีพหลัก แต่แรกการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นก็เพื่อใช้ในครัวเรือน และทาเป็น อาชีพเสริมบ้างยามว่างเว้นจากการทาอาชี พหลัก แต่เมื่อผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นได้กลายมาเป็นที่นิยมของคน ทั่ ว ไป และสามารถท ารายได้ ใ ห้ ม ากกว่ า การประกอบอาชี พ หลั ก อี ก ทั้ง ต้ น ทุ นในการผลิ ต ต่ า ท าให้ ห ลาย ครอบครัวหันมาประกอบอาชีพนี้แทน และมีการทาเป็นอุตสาหกรรมในครอบครั วเพื่อส่งออกจาหน่ายอย่างจริงจัง เช่น โครงการศิลปาชีพบางไทรได้ส่งเสริมให้คนทางานหัตถกรรมเพื่อประกอบเป็นอาชีพหลัก ภาพที่ 1 แสดงลักษณะผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ที่ทาจากวัสดุท้องถิ่น
  • 2. 2. ชนิดของวัสดุท้องถิ่น หลักในการออกแบบผลิตภัณฑ์วัสดุท้องถิ่นให้มีความสวยงามนั้ นมีหลักสาคัญอยู่ที่ความคิดสร้างสรรค์ใน การออกแบบและการเลือกใช้วัสดุท้องถิ่นที่สามารถนามาประดิษฐ์ของใช้ต่าง ๆ นั้นมีอยู่มากมายหลายชนิด เราจึง ควรรู้จักลักษณะชนิดและคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุแต่ละชนิดก่อน เพื่อจะได้นาวัสดุมาใช้ได้เหมาะสมกับงาน ชนิดของวัสดุท้องถิ่นที่ควรรู้จักมีดังนี้ 2.1 ไม้ไผ่ ไม้ไผ่เป็นไม้ยืนต้นจัดอยู่ในตระกูลหญ้าชนิดใบเดี่ยวลักษณะใบเรียวแหลมลาต้น มีลักษณะเป็นปล้องสลับ กับข้อไม้ไผ่ชอบขึ้นในเขตอบอุ่น อากาศร้อน และฝนตกชุก เช่นประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย เป็นต้น ไม้ไผ่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตเร็ว ชอบขึ้นในดินโปร่งร่วนดินทราย หรือดินที่น้าสามารถไหลถ่ายเทได้สะดวก อากาศไม่ หนาวจัดเกินไป การแพร่พันธุ์ทาได้ 2 วิธี คือ การแพร่พันธุ์ด้วยเมล็ด และการแพร่พันทางหน่อ ภาพที่ 2 แสดงกระเป๋าจากไม้ไผ่ ไม้ไผ่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น หน่อไม้ไผ่นามาทาอาหาร ลาต้นไผ่สามารถนามาทา ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้เช่น นามาสานเป็นภาชนะใส่ของจาพวกกระบุง กระจาด ตะกร้า ชะลอม เข่ง ฯลฯ หรือนามา ทาเครื่องเรือน เช่น ชุดเก้าอี้ไม้ไผ่ เป็นต้น 2.2 หวาย หวายเป็นไม้เลื้อยจาพวกตระกูลปาล์มมีลักษณะลาต้นกลมยาวและโตเสมอกันตั้งแต่โคนจนถึงปลาย ไส้ตัน กาบหุ้มคล้ายต้นหมาก ที่กาบและก้านใบมีหนาม ผิวเกลี้ยงเหนียวเป็นมัน ใบคล้ายใบจาก มีหนามตามริบใบ หวายเจริญงอกงามขึ้นเองตามธรรมชาติ มีมากในภูมิประเทศที่เป็นป่าเขา ดง ดิบ น้าตก ชอบขึ้นในบริเวณพื้นที่เป็นดินร่วนชุ่มชื้น ไม่ชอบดินทราย หรือดินที่มีกรวดหิน หวายมีอยู่ตามป่าทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย เช่น ประเทศไทย ศรีลังกา ฟิลิปปินส์ เป็นต้น ใน ประเทศไทยไม่มีการปลูกหวาย แต่หวายจะขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติ มีมากทางภาคใต้ในแถบจังหวัดชุมพร ตรัง พังงา สุราษฏ์ธานี นครศรีธรรมราช และทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีมากตามป่าในจังหวัดอุบลราชธานี หวายเป็นวัสดุท้องถิ่นอีกชนิดหนึ่งที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ส่วนมากเราใช้หวายทาเป็นเครื่องจัก สานประกอบเครื่องจักสานไม้ไผ่ แต่ก็มีการนาหวายมาทาเครื่องจักสานโดยตรงหลายอย่าง เช่น ตะกร้า กระเป๋า ฝาชี ถาดผลไม้ เก้าอี้ เป็นต้น ภาพที่ 3 แสดงเก้าอี้ทาจากหวาย
  • 3. 2.3 มะพร้าว มะพร้าวเป็นไม้ยืนต้นในตระกูลปาล์ม ลักษณะของใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยวเรียงติดกันเป็นแถวอยู่สองข้างของ ทางมะพร้าว มีลาต้นเป็นรูปทรงกระบอก ส่วนโคนต้นจะใหญ่กว่าตอนปลายชอบขึ้นในดินร่วนหรือดินร่วนปน ทราย อากาศอบอุ่นหรือค่อนข้า งร้อน และมีปริมาณน้าฝนมากเพีย งพอหรือริมฝั่งทะเลที่น้าทะเลเข้าถึง เช่น ประเทศไทย มาเลเซีย อินเดีย ละตามหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ในประเทศไทยนั้นมะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างหนึ่งของไทยมีการปลูกมากในภาคกลาง และภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดตามชายทะเล เช่น ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎ์ธานี นครศรีธรรมราช เป็นต้น มะพร้าวเป็น พืช ที่มี ค วามส าคัญอย่ า งยิ่ งในการดารงชีวิต เนื่องจากเป็นพืชที่เราไม่ต้องดูแลรักษามาก แต่สามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า กล่าวคือ นอกจากใช้บริโภคแล้ว ส่วนต่าง ๆ ของมะพร้าวยังสามารถนามาประดิษฐ์ของ ใช้ที่มีประโยชน์ได้ เช่น รากใช้สานตะกร้า ลาต้นนามาใช้ในการก่อสร้าง ใบนามาสานเป็นภาชนะใส่ของหรือทา ของเล่น เป็นต้น ภาพที่ 4 แสดงโคมไฟจากกะลามะพร้าว 2.4 ไม้เนื้ออ่อน ไม้เนื้ออ่อน คือ ไม้ที่มีเนื้อไม้สีอ่อนหรือสีซีด มีน้าหนักเบา มีความแข็งแรงน้อย และมีความทนทาน น้อย ไม่ค่อยทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ หรือการกัดแทะของแมลง เช่น ปลวก มอด เหมาะสาหรับนามาใช้งาน ชั่วคราวหรืองานในร่ม ไม้เนืออ่อน ได้แก่ ไม้ฉาฉา ไม้ยาง ไม้กระบาก ไม้สัก เป็นต้น บางชนิดพบได้ป่าดิบชื้น ้ บริเวณทิวเขาในภาคเหนือ คาบสมุทรภาคใต้ ทิวเขาทาง ด้านตะวันตก และทิวเขาด้านตะวันออกของอ่าวไทย เช่น ไม้ยาง ไม้กระบาก บางชนิดพบในป่าเบญจพรรณที่มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง เช่น ไม้สัก เป็นต้น ไม้เนื้ออ่อน เป็นไม้ที่หาได้ง่าย และมีราคาไม่แพง ไม้เนื้ออ่อนสามารถนามาแกะสลักเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ ทาเป็นภาพประดับฝาผนังหรือนามาทาเครื่องเรือน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางของ เป็นต้น ภาพที่ 5 แสดงเก้าอี้ไม้เนื้ออ่อน
  • 4. 2.5 ย่านลิเภา ย่านลิเภาเป็นพืชประเภทเถาวัลย์ มีลักษณะเป็นเถา ลาต้นจะโตประมาณก้านไม้ขีด หรือหลอดกาแฟ เมื่อโต เต็มที่จะยาวประมาณ 2 วา ใบของย่านลิเภาจะเป็นใบเล็ก ๆ และหยิกงอชอบขึ้นอยู่ตามชายป่าละเมาะ และจะเลื้อย เกี่ยวพันอยู่กับต้นไม้อื่น ๆ แต่จะขึ้นเกาะอยู่เหนือต้ นไม้อื่นจึงทาให้มองเห็นได้ง่ายย่านลิเภามีมากในแถบจังหวัด ภาคใต้ของไทยโดยเฉพาะที่จังหวัดนครศรีธรรมราช คุณสมบัติพิเศษของย่านลิเภา คือ มีลาต้นเหนียวทนทาน จึงเหมาะที่จะนามาสานเป็นภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น เชี่ยนหมาก พาน กล่องยาเส้น กล่องใส่ของ กระเป๋าถือ เป็นต้น หรือนามาใช้ผูกรัดสิ่งของก็ได้ ภาพที่ 6 แสดงกล่องหมากพระราชทาน รัชกาลที่ 5 2.6 ใบลาน ลานเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในตระกูลปาล์มชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายต้นตาล จัดเป็นไม้ ยืนต้นขนาด กลาง ลาต้นตรงและแข็ง สูงประมาณ 10 เมตร มีใบออกรอบลาต้นเป็นชั้น ๆ ยาวประมาณ 2 - 3 เมตร ใบมีลักษณะคล้ายพัด พบได้ทั่วไปทางภาคกลาง และภาคใต้ทางแถบชายฝั่งด้านตะวันออก เช่น นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง เป็นต้น เรานิยมนาใบลานมาสานเป็นหมวกงอบ หรือนามาสานเป็นของเล่นให้เด็ก เช่น การสาน เป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ ภาพที่ 7 แสดงหมวกจากใบลาน 2.7 ผักตบชวา ผักตบชวาจัดเป็นพืชน้าประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวลอยน้าเจริญงอกงามโดยไม่ต้องอาศัยรากยึดเกาะ มีชื่อเรียกใน แต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน เช่น ผักปอด สวะ ผักโรค ผักตบชวา ผักยะวา ผักอีโยก เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยมี ผักตบชวามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยเจ้านายในสมัยนั้นได้ตามเสด็จไปประเทศอินโดนีเชีย พ.ศ. 2444 ได้เห็นผัก ชนิดนี้ออกดอกสีม่วงสวยงามอยู่ทั่วไปจึงได้นาเอาพันธุ์ผักตบชวามายังประเทศไทยเพียงเล็กน้อย ใส่อ่างดินเลี้ยงไว้ หน้าวังสระประทุมจนกระทั่งออกดอกสวยงามและเพิ่มจานวนมากขึ้นจนล้นกระถางประกอบด้วยในช่วงนั้นเกิดน้า ท่วมวังสระประทุมทาให้ผักตบชวาล่องลอยกระจัดกระจายออกไปตามที่ต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์ที่ ตลาดมีความต้องการมาก จัดเป็นผลิตภัณฑ์หลักในการผลิตของผู้ผลิต เช่น กระเป๋า ตะกร้า เป้ ในรูปแบบต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์รอง ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ตลาดมีความต้องการรองลงไป คือ กรอบรูป หมวก รองเท้า ของ ชาร่วย และโคมไฟ เป็นต้น
  • 5. ภาพที่ 8 แสดงตะกร้าจากผักตบชวา 2.8 เปลือกข้าวโพด ข้าวโพด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซีเมส์ (Zea mays) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลาต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลาต้น 0.5-2.0 นิ้ว ถิ่นกาเนิดก็คือ ได้มีการขุดพบซังข้าวโพดและซากของต้นข้าวโพดที่ ใกล้แม่น้าในนิวเม็กซิโก (แถบอเมริกาใต้) และปัจจุบันนิยมปลูกแพร่หลายในแถบอเมริกา แคนาดา ฯลฯ สามารถ ปลูกได้ในสภาพที่ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก ๆ เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสัตว์ เพราะสามารถนามาเลี้ยงสัตว์ได้ ทั้งต้น ใบ และเมล็ด นอกจากนี้ เปลือกข้าวโพด สามารถนาไปประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆได้อีกมากมาย เช่น ตุ๊กตา กระเป๋า ครอบกล่องกระดาษทิชชู พัด ดอกไม้จันทน์ กระทง เป็นต้น ภาพที่ 9 แสดงกระทงจากเปลือกข้าวโพด 2.9 เกล็ดปลา เกล็ดปลาทุกชนิดมีคุณสมบัติในการดูดสีและกลิ่น จึงสามารถนามาย้อมสีและอบกลิ่นหอมได้ เกล็ดปลาที่ เหมาะสาหรับทาสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ควรเป็นเกล็ดปลาที่มีพื้นผิวสาก ลักษณะของเกล็ดปลาที่มีผิวสาก ขอบเกล็ดบาง ใส มีสันเป็นแกนหนา พื้นผิวเกล็ดมีลักษณะสากมือเมื่อสัมผัส เนื่องจากมีหนามเล็ก ๆ โดยเฉพาะบริเวณแกนกลาง ของเกล็ด หนามที่ผิวเกล็ดช่วยให้เกล็ดดูดซึมสีและกลิ่นได้ดีติดทนนาน ส่วนสันที่เป็นแกนหนา ช่วยให้เกล็ดปลามี คุณสมบัติในการคงรูปทรงเกล็ดปลาที่อยู่ในกลุ่มนี้ และมีปริมาณมากพอที่จะนามาทาในเชิงการค้า ได้แก่ เกล็ด ปลากระพง ปลาครืดคราด ปลากระบอก เป็นต้น นอกจากนี้เกล็ดปลายังสามารถนามาทางานประดิษฐ์ประเภทต่าง ๆ ได้ เช่น เครื่องประดับดอกไม้ ของ ชาร่วย เป็นต้น
  • 6. ภาพที่ 10 แสดงดอกไม้เกล็ดปลาประดับกล่องทิชชู 2.10 ตะโก ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 15 เมตร เปลือกต้นสีดาแตกเป็นสะเก็ด หน้าใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน รูปไข่กับหรือรูปป้อม ๆ กว้าง 2.5-7 ซม. ยาว 3 - 12 ซม. โคนใบสอบเป็นรูปลิ่ม ปลายใบโค้งมน ป้าน เว้าเข้าใบ เกลี้ยงด้านล่าง เมื่อใยยังอ่อนอยู่มีขนบ้าง เส้นใบมี 6 - 8 คู่ เห็นได้ชัดทางด้านล่าง เส้นกลางใบสีแดงเรื่อ ๆ เมื่อใบ แห้ ง ดอก ดอกเพศผู้ แ ละดอกเพศเมี ย อยู่ ค นละต้ น ดอกเพศผู้ อ อกเป็ น ช่ อ เล็ ก ๆ ตามง่ า มใบ ช่ อ หนึ่ ง ๆ มี ประมาณ 3 ดอก มีขนนุ่ม กลีบรองกลีบดอกและกลีบดอกมี 4 กลีบ กลีบดอกยาว 8 - 12 มม. เชื่อมติดกันเห็นรูป เหยือกน้าหรือรูปป้อม ๆ ปลายแยกเป็นแฉกเล็ก ๆ ส่วนดอกเพศเมียออกดอกเดี่ยวตามง่ามใบ กลีบรองดอก และ กลีบดอกเหมือนดอกเพศผู้แต่ใหญ่กว่า ผล มีลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.52.5 ซม. เมื่อผลอ่อนมีขนสีน้าตาล แดง ขนร่วงง่าย โคนและปลายผลมักบุ๋ม ใบตะโกสามารถนามาทาเป็นใบบางเพื่อประดิษฐ์ดอกไม้ เป็นเครื่องประดับ หรือเป็นโคมไฟ เป็นต้น ภาพที่ 11 แสดงดอกไม้ประดิษฐ์จากใบตะโก 3. คุณค่าของผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อการดารงชีวิตของคนมานานแล้ว โดยการเลือกสรร วัสดุพื้นบ้านที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติมาประดิษฐ์เป็นสิ่งของต่าง ๆ โดย มุ่งประโยชน์ในด้านการใช้สอยเป็นหลัก นอกจากนั้นบางแห่งยังให้ความสาคัญในด้านความสวยงามด้วย จนทาให้ผลิตภัณฑ์บางอย่างกลายเป็นงาน ศิลปหัตถกรรมที่มีคุณค่าเช่น กระเป๋าถือที่สานด้วยย่านลิเภา ชุดฝาชีที่สานด้วยหวาย เสื่อที่สานด้วยกระจูด เป็นต้น จุดมุ่งหมายของการทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ประเมินคุณค่าได้ 2 ประเภท คือ 3.1 คุณค่าทางด้านประโยชน์ในการใช้สอย ได้แก่ การใช้วัสดุท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือหรือ ภาชนะต่าง ๆ เพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น มีการสานกระบุงไว้ใส่ข้าว มีการสานกระจาดไว้ใส่ผลไม้ หรือมีการ ทาลอบไว้จับปลา เป็นต้น หรือการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆในทางศาสนา หรือ ประเพณี เช่น การสานเสื่อลาเจียกเพื่อใช้ในประเพณีการแต่งงานทางภาคใต้
  • 7. ภาพที่ 12 แสดงกระบุงที่ทาขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือน ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน).(2551) 3.2 คุณค่าทางด้านความงดงามทางศิลปะ คุณค่าทางด้านนี้เกิดจากการประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ ที่มีความ สวยงามละเอีย ดและประณีตบนผลิตภัณฑ์ ซึ่งขึ้นอยู่ กั บความสามารถของผู้ประดิษ ฐ์ในแต่ล ะท้องถิ่น ทาให้ ผลิตภัณฑ์นั้นกลายเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่มีค่า เช่น กระเป๋าย่านลิเภา ชุดฝาชีหวาย เป็นต้น ภาพที่ 13 แสดงกระเป๋าย่านลิเภา ความสาคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น งานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์มีความสาคัญและประโยชน์ ดังนี้ 1. การใช้สอย งานประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นทุกชิ้นส่วน มีจุดมุ่งหมายที่สาคัญ คือการนาไปใช้ประโยชน์ด้าน ต่าง ๆ 2. การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การใช้เวลาว่างในการทางานประดิษฐ์จะทาให้เกิดนิสัยรักการทางาน ขยัน อดทน และมองเห็นคุณค่าของงาน 3. ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การทางานประดิษฐ์อย่างสม่าเสมอจะทาให้เกิดความคิดในการพัฒนา ปรับปรุงและดัดแปลงชิ้นงาน ทาให้ได้ชิ้นงานที่มีความแปลกใหม่ และประณีตที่เกิดจากความชานาญ 4. เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เมื่อประดิษฐ์ผลงานได้สาเร็จ และนาไปใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ 5. เพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ที่ประณีต สวยงามมีความแปลกใหม่ เป็นที่ชื่นชมและสนใจแก่ผู้พบเห็น สามารถเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว หลักการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ให้ประสบความสาเร็จได้นั้น ผู้ประดิษฐ์จะต้องมีนิสัยรักการทางาน ขยัน อดทน และมองเห็นคุณค่าของงานประดิษฐ์ โดยยืดหลักการดังนี้
  • 8. 1. หมั่นศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ และเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ การจะสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ให้สวยงาม แปลกใหม่ จะต้องหมั่ นศึ กษา ค้ นคว้า เช่ น ศึ กษาจากนวัตกรรมที่ผู้เขีย นสร้างขึ้นเป็นพื้ นฐาน และศึก ษาจาก วารสาร นิตยสารประเภทงานฝีมือหรืองานประดิษฐ์ และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อนามาเป็นแนวทางในการพัฒนาให้ เกิดความคิดสร้างสรรค์และประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ที่แปลกใหม่ 2. หมั่นพัฒนาทักษะฝีมือ การทางานประดิษฐ์ด้วยความมุ่งมั่น หมั่นฝึกฝนฝีมือและประสบการณ์ในการ ทางาน จะทาให้เกิดความชานาญ เมื่อประดิษฐ์ชิ้นงานออกมาก็จะได้ชิ้นงานที่มีคุณภาพและสวยงามประณีต และ เป็นที่สนใจแก่ผู้พบเห็น ปัจจุบันผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นเป็นสินค้าที่เป็นที่นิยมทั้งของชาวไทย และชาวต่างประเทศไม่ว่าจะ เป็นของใช้หรือของที่ระลึก ที่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกันออกไป ผลิตภัณฑ์บางชนิดแสดงถึงเอกลักษณ์ของชน ในชาติ บางชนิดก็เน้นในเรื่ องการออกแบบรูปทรงให้สวยงามและเหมาะสมกับประโยชน์ในการใช้สอย ทั้งนี้มี หลักสาคัญอยู่ที่ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสม 1. ความสาคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์ 1. ฝึกให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างผลงานให้มีรูปร่างแปลกใหม่และพัฒนางานประดิษฐ์เดิมให้สามารถใช้ ประโยชน์ขึ้น 2. งานประดิษฐ์ที่ใช้วัสดุต่าง ๆ ที่นามาประกอบกันเป็นชิ้นงาน สามารถใช้วัสดุอื่นทดแทนกันได้ และสามารถนา วัสดุที่มีในท้องถิ่น มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ 3. ฝึกให้รู้จักการวางแผนทางานอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอนการปฏิบัติเป็นการสร้างระเบียบวินัยให้ตนเอง และมี นิสัยรักในงานประดิษฐ์ 4. ให้นักเรียนรู้จักใช้และดูแลรักษาเครื่องมือในงานประดิษฐ์อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับประเภทของงาน ประดิษฐ์ 5. ฝึกการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถทางานได้อย่างมีสมาธิและมีความสุข ในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ประดิษฐ์ของตนเอง 6. ฝึกให้นักเรียนรู้จักประหยัด สามารถนาสิ่งของที่เหลือใช้มาทาให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ในการลงทุนมากนัก 7. เป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้มีการสืบทอดและพัฒนาต่อไปจากภูมิปัญญาเดิมสู่การเรียนรู้ที่มากขึ้น และเป็นผลงานของคนไทย 8. สามารถเพิ่มพูนรายได้ให้กับผู้ประดิษฐ์ โดยการนาออกไปจาหน่ายในโอกาสต่าง ๆและสร้างเป็นอาชีพได้ใน อนาคต 9. เกิดความภาคภูมิใจในชิ้นงานของตนเอง ทาให้ผู้อื่นยอมในความสามารถของตนเองในระดับหนึ่ง 2. ลักษณะของงานประดิษฐ์ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1. งานประดิษฐ์ทั่วไป
  • 9. เป็นงานประดิษฐ์ที่ไม่มีความเป็นมาจากบรรพบุรุษหรือท้องถิ่น กล่าวคือเป็นงานประดิษฐ์ที่บุคคลทั่วไป สามารถ เรียนรู้และนาไปประดิษฐ์ได้โดยอาศัยการศึกษาจากตารา เช่นดอกไม้จากเศษวัสดุเหลือใช้ หมวก ตุ๊กตา เครื่องใช้ ต่าง ๆ 2. งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานประดิษฐ์ที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษหรืองานประดิษฐ์ที่มีเฉพาะในท้องถิ่นนั้น ๆ โดยส่วนมากจะเป็นการ สืบทอดจากผู้ใหญ่ในครอบครัวมาสู่ลูกหลานงานประดิษฐ์หลายอย่างทาขึ้นเพื่องานประเพณีทางเช่น พานพุ่ม มาลัย เครื่องแขวนบายศรี และบางอย่างก็ทาขึ้นเพื่อความสวยงาม สนุกสนาน ภายในครอบครัว เช่นว่าวไทย รถลาก ตุ๊กตา 3. ประเภทของงานประดิษฐ์ตามโอกาสใช้สอย งานประดิษฐ์ต่าง ๆ เราสามารถเลือกชิ้นงานประดิษฐ์ได้ตามประโยชน์ หรือความต้องการใช้สอยในโอกาสต่าง ๆ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของงานประดิษฐ์ตามโอกาสใช้สอยดังนี้ 1. ประเภทงานประดิษฐ์เครื่องเล่น งานประดิษฐ์เครื่องเล่นส่วนใหญ่จะเป็นการเรียนรู้และฝึกฝนจากผู้ใหญ่มาสู่ ลูกหลานในบ้าน และมีการแพร่กระจายจากเพื่อนมาสู่เพื่อน เช่นการประดิษฐ์ตุ๊กตา ว่าว และรถลาก 2. ประเภทเครื่องใช้ งานประดิษฐ์เครื่องใช้เป็นชิ้นงานที่ทาขึ้นเพื่อความสะดวกสบายและเป็นเครื่องทุ่นแรงในการ ดาเนินชีวิต หรือประกอบอาชีพในชีวิตประจาวัน เช่นเสื้อผ้า แจกัน หมวก ตะกร้า กระจาดและเข่ง 3. ประเภทเครื่องตกแต่ง งานประดิษฐ์ตกแต่ง ทาขึ้นเพื่อความสวยงามและเป็นสิ่งประดิษฐ์ใช้กับบ้านเรือน นอกจากนี้บางชิ้นงานสามารถนามาใช้ในด้านการใช้สอยได้ เช่นกรอบรูป โคมไฟ ภาพวาด งานแกะสลัก 4. ประเภทเครื่องใช้ในพิธี ทาขึ้นเพื่อใช้ในพิธีทางศาสนา ในช่วงโอกาสต่าง ๆ และงานประเพณีสาคัญ เช่นงานลอย กระทง งานวันเข้าพรรษา ออกพรรษา งานศพ งานประดิษฐ์เครื่องใช้ เช่น พานพุ่ม มาลัย บายศรี การจัดดอกไม้ใน งานศพ 4.หลักการทางานประดิษฐ์ ในการทางานประดิษฐ์เพื่อให้ได้ผลงานตามจุดหมายที่กาหนดไว้ ควรยึดหลักในการทางานประดิษฐ์ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษารายละเอียดของงานที่จะนามาประดิษฐ์ให้เข้าใจ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบต่าง ๆ ของงาน และเลือกทาสิ่งประดิษฐ์ให้เหมาะสมความรู้ ความสามารถของตนเอง และเป็นสิ่งที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันได้ 2. วางแผนการทางาน กาหนดขั้นตอนการทางานให้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่ายและออกแบบ รายละเอียดวิธีการประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วน เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน 3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทางานประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วนและใช้ให้เหมาะสมกับการที่ออกแบบไว้ โดยทั่วไปการเลือกวัสดุมาใช้ในงานประดิษฐ์ นิยมเลือกใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น หรือวัสดุที่มีอยู่ภายในบ้านซึ่งหา ง่าย มีราคาถูก 4. ลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ขณะที่ทาการประดิษฐ์ เมื่อเกิดปัญหาไม่ควรท้อถอย ควรปรึกษาครู หรือผู้ที่มีความสามารถ และควรพยายามตั้งใจปฏิบัติงานต่อไปจนกว่างานจะสาเร็จ 5. การออกแบบงานประดิษฐ์
  • 10. การออกแบบ หมายถึงการแสดงความคิด การวางแผน เพื่อกาหนดรูปแบบผลงานที่ต้องการก่อนทางาน ประดิษฐ์ โดยการร่างภาพเขียนด้วยดินสอและไม้บรรทัดเท่านั้น การออกแบบมีความสาคัญมากเพราะผู้ออกแบบ ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์การดัดแปลง แก้ผลงาน ให้มีรูปร่างแปลกใหม่ การออกแบบที่ดีจะช่วยให้การทางานได้ สะดวกรวดเร็วขึ้นผลงานสาเร็จตรงตามต้องการไม่มีผิดพลาด หลักการออกแบบ เมื่อจะออกแบบควรนาองค์ประกอบที่สาคัญของการออกแบบมาใช้โดยยึดหลักดังต่อไปนี้ 1. ความสมดุล เกี่ยวข้องกับความรู้สึกในการมองเห็นทั้งด้านรูปทรง น้าหนัก สี ความสมดุลเท่ากัน และความสมดุล ที่ไม่เท่ากัน 2. สัดส่วนหมายถึงการได้ส่วนกันของสิ่งที่ออกแบบ เช่น การออกแบบดอกไม้ ส่วนประกอบดอกไม้ ใบ ก้าน ควร ได้สัดส่วนดอกไม่ควรใหญ่เกินก้านและใบมากนัก 3. ความกลมกลืน คือการออกแบบวัตถุให้มีรูปทรงที่ไปด้วยกันได้ สีก็ต้องกลมกลืนกันการใช้แสง และเงาที่ไป ด้วยกันได้ 4. ความแตกต่าง คือการใช้ส่วนประกอบของการออกแบบที่ไม่ซ้ากัน ใช้สีที่ไม่เหมือนกัน 5. การเน้นให้เกิดจุดเด่น คือการออกแบบที่ทาให้เกิดจุดเด่นสะดุดตา ทาให้น่าสนใจ น่าดู อาจเน้นสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพียง อย่างเดียวก็ได้ เช่น สี เส้น รูปร่าง วิธีการออกแบบงานประดิษฐ์ 1. ร่างโครงร่าง กาหนดรูปแบบ บอกขั้นตอนการประดิษฐ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนสาเร็จ 2. กาหนดวัสดุ หรือเศษวัสดุ ที่ต้องนามาใช้ให้ครบถ้วน 3.กาหนดรายชื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องใช้ 4.กาหนดราคาทุนหรือค่าใช้จ่ายในการประดิษฐ์ 5.บอกประโยชน์ของผลงานว่าจะนาไปใช้ประโยชน์อะไรดีกว่าเดิมหรือไม่
  • 11. ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในงานประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น ในการประดิษ ฐ์ ผลิตภัณฑ์จากวัส ดุท้องถิ่น ขึ้นมานั้น ผลิตภัณฑ์ ที่ ผลิต ออกมาจะมีคุณภาพดีหรือไม่ เพียงใด และจะใช้ระยะเวลาในการประดิษฐ์ชิ้นงานสั้นยาวเท่าไร ขึ้นอยู่กับเครื่องมือที่ใช้เป็นสิ่งสาคัญ เครื่องมือ แต่ละประเภท มีลักษณะการใช้งานไม่เหมือนกัน ดังนั้นการเลือกใช้เครื่องมือจึงจาเป็นต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม กับประเภทของงาน คุณภาพและประหยัดเวลาใน การผลิตชิ้นงาน เครื่องมือแต่ละชนิดที่เราควรรู้จัก มีดังนี้ 1. เลื่อย เลื่อยเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับตัดวัสดุต่าง ๆ สาหรับผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น เลื่อยมีหลายชนิด ดังนี้ 1.1 เลื่อยลันดา เป็นเลื่อยที่ใช้ตัดไม้และใช้โกรกไม้ มีขนาดต่าง ๆ กัน การเลือกใช้ต้องให้เหมาะสมกับ ชนิดของงาน เช่น ใช้เลื่อยลันดาที่มีฟันละเอียด ตัดลาไผ่ ข้อ ตา และตอเหง้าไม้ เป็นต้น ภาพที่ 14 แสดงเลื่อยลันดา 1.2 เลื่อยอกหรือเลื่อยโครง ลักษณะรูปร่างของเลื่อยมีโครงเป็นไม้เนื้อแข็งมีมือจับด้านข้าง และหัวท้าย ของใบเลื่อยจะมีที่จับใบเลื่อย ฟันของเลื่อยอกจะเป็นฟันละเอียด เหมาะแก่การตัดลาไผ่ ปล้อง ข้อ ตา และตอเง่า ไม้ ภาพที่ 15 แสดงเลื่อยอกหรือเลื่อยโครง 1.3 เลื่อยลอ ลักษณะฟันเลื่อยจะมีความถี่มาก มีด้ามกลม เหมาะสาหรับการจับเลื่อยลอนี้เหมาะสาหรับ ใช้กับงานเฟอร์นิเจอร์ทั่ว ๆ ไป มีประโยชน์ใช้ตัดเข้าปากไม้ ภาพที่ 16 แสดงเลื่อยลอ 1.4 เลื่อยฉลุ เป็นเลื่อยที่มีสันเหล็กเป็นรูปโค้ง มีด้ามถือเป็นไม้ ใช้ตัดไม้ไผ่ที่ผ่าเหลาเกลาเสี้ยนเรียบร้อย แล้ว หรือใช้เลื่อยตัดสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ตัดกิ่งไม้ไผ่ หวาย เป็นต้น
  • 12. ภาพที่ 17 แสดงเลื่อยฉลุ 2. สว่าน สว่านเป็นเครื่องมือประเภทเจาะใช้สาหรับงานเจาะรูวัสดุเพื่อผลิตชิ้นงาน สว่านมีหลายชนิด การเลือกใช้สว่าน จึงควรพิจารณาให้เหมาะสมกับชิ้นงานแต่ละประเภท สว่านที่จาเป็นสาหรับงานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น มีดังนี้ 2.1 สว่านข้อเสือ เป็นสว่านที่ใช้กับงานไม่ได้สะดวกโดยไม่จาเป็นต้องใช้กับไฟฟ้า สามารถเปลี่ยนดอก สว่านได้หลายขนาดตามความต้องการ ภาพที่ 18 แสดงสว่านข้อเสือ 2.2 สว่านมือ ใช้สาหรับเจาะรูนาก่อนที่จะตอกตะปูเข้าเนื้อไม้ เหมาะสาหรับงานเล็ก ๆ ภาพที่ 19 แสดงสว่านมือ 3. มีด มีดเป็นเครื่องมือที่ใช้ตัดหรือผ่าไม้ มีดที่นิยมใช้กันมี 2 ชนิด ดังนี้ 3.1 มีดผ่า ใช้สาหรับผ่าไม้ มี 2 แบบ คือ 1) มีดโต้หัวมน ใช้ตัดไม้ไผ่ หวาย เป็นท่อน ๆ ผ่าเป็นชิ้น มีดโต้หัวมนนี้เป็นมีดแบบไทย ภาพที่ 20 แสดงมีดโต้หัวมน 2) มีดปลายตัด เป็นมีดแบบญี่ปุ่น ใช้ผ่า เหลา ขูดเกลาเสี้ยน และจักตอก ภาพที่ 21 แสดงมีดปลายตัด 3.2 มีดตอก ใช้สาหรับจักตอกให้เป็นเส้น แต่งเนื้อไม้ ขูดเกลาเสี้ยน มักมีรูปเรียวแหลม ปลายและด้าม งอน ตัวมีดจะสั้นกว่าเดิม เพื่อให้เหมาะแก่การใช้งาน มีน้าหนักเบาทาให้ใช้งานได้สะดวก ภาพที่ 22 แสดงมีดตอก
  • 13. นอกจากนี้ อาจจะมีมีดบางเล็กหรือมีดเจียนหมากไว้สาหรับช่วยงานเล็ ก ๆ น้อย ๆ เช่น ผ่าหวาย เจียน แต่งวัสดุต่าง ๆ มีบางนี้เป็นมีดที่หาได้ง่ายและมีราคาถูก 4. คีม คีมที่ใช้กับงานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่น มี 2 ชนิด ดังนี้ 4.1 คีมไม้ เป็นเครื่องมืออีกชนิดหนึ่ง ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง ใช้สาหรับหนีบ หรือจับชิ้นงาน ภาพที่ 23 แสดงคีมไม้ 4.2 คีมเหล็ก เป็นคีมปากยาว มีร่องฟันละเอียดเหมาะสาหรับการคีบดึงปลายหวายที่ผูกพัน หรือเส้น ตอกที่สั้นดึงด้วยมือไม่ถนัด ภาพที่ 24 แสดงคีมเหล็ก 5. กรรไกร กรรไกรใช้สาหรับตัดเศษหวายหรือเส้นตอกในส่วนที่ไม่ต้องการทิ้งไป กรรไกรที่ใช้ นี้จะมีปลายงอน เช่นเดียวกับกรรไกรตัดโค้งที่ใช้ตัดโลหะ ระหว่างขากรรไกรมีแหนบสปริง เมื่อปลดขอเกี่ยวจะทาให้ขากรรไกร ถ่างอยู่เสมอ ทาให้บีบจับขยับมือได้สะดวก ภาพที่ 25 แสดงกรรไกร 6. เหล็กหมาด เหล็กหมาดเป็นเหล็กปลายแหลมใช้สาหรั บเจาะ งัด แงะ มีทั้งเหล็กหมาดปลายแหลม และเล็กหมาด ปลายแบน ซึ่งเหล็กหมาดทั้ง 2 ชนิดนี้ เราสามารถทาใช้เองได้ โดยใช้เหล็กก้านร่มซึ่งเอามาจากร่มที่ชารุด นามา ตัดให้ยาวประมาณ 5.5 นิ้ว แล้วฝังลงไปในด้ามไม้ประมาณ 1.5 นิ้ว จากนั้นนามาฝนกับหินให้แหลมหรื อจะทุบ ปลายให้แบน แต่งปลายให้คล้ายปลายลูกศรหรือ ใบหอก เหล็กหมาดนี้ใช้เจาะรูหรือเจาะเบิกนาช่องเพื่อร้อย หวายสาหรับผูกขอบปากงาน ภาพที่ 26 แสดงเหล็กหมาด
  • 14. 7. คราดเลียด คราดเลียดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแต่งเส้นหวายให้มีขนาดเส้นเท่า ๆ กัน ทาด้วยแผ่นสังกะสี นามาเจาะรู ขนาดต่าง ๆ กัน โดยเรียงลาดับจากรูใหญ่และเล็กลงตามลาดับ ซึ่งมีทั้งรูกลมและรูแบน ภาพที่ 27 แสดงคราดเลียด 8. ค้อน ค้อนใช้สาหรับตอกชิ้นงานให้ยึดติดกัน ต้อนที่ใช้ในงานผลิตภัณฑ์จากวัสดุท้องถิ่นมักใช้ค้อนที่มีขนาดเล็ก ภาพที่ 28 แสดงค้อน 9. ไม้สาหรับกรีดใบลาน ไม้สาหรับกรีดใบลานมีลักษณะคล้ายด้ามแปรง มีตะปูตอกเป็นระยะห่างเท่า ๆ กัน และให้ปลายตะปู โผล่ขึ้น ใช้สาหรับหวีกรีดใบลาน หรือกาบกล้วยเพื่อให้เส้นงานที่จะใช้สานถักมีขนาดเท่ากันทุกเส้น ภาพที่ 29 แสดงไม้สาหรับกรีดใบลาน 10. แท่นหุ่นทาด้วยไม้ แท่นหุ่นทาด้วยไม้ ซึ่งทาเป็นรูปต่าง ๆ เช่น รูปกระเป๋า รูปตะกร้า เพื่อใช้เป็นโครงของการถักสาน ชิ้นงาน เป็นต้น ภาพที่ 30 แสดงแท่นหุ่นทาด้วยไม้
  • 15. 11. การใช้และการบารุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ การเก็บรักษาเครื่องมือเป็นสิ่งจาเป็นที่เราควรฝึกให้เป็นนิสัย หลังจากการปฏิบัติงานเสร็จแล้ว ควรเก็บ เครื่องมือให้เรียบร้อย เพราะการเก็บรักษาเครื่องมือให้ถูกวิธีจะเป็นการช่วยถนอมรักษาเครื่องมือให้ใช้งานได้นาน ไม่ชารุดหรือเสียหายง่าย และสามารถหยิบใช้ได้สะดวกเมื่อต้องการใช้งาน การจัดเก็บเครื่องมือมีหลายวิธี อาจจะ เก็บไว้บนชั้น ในตู้ หรือแขวนไว้กับผนัง โดยแยกเก็บเป็นประเภทการใช้งาน การจัดเก็บแต่ละวิธีต้องคานึงถึง ประโยชน์ ความเหมาะสม ความปลอดภัย และสามารถหยิบใช้ได้สะดวก ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้ 1. ใช้เครื่องมือให้ถูกประเภท ถูกหน้าที่และวิธีการใช้ 2. ควรใช้เครื่องมืออย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เครื่องมือเกิดการชารุดเสียหาย 3. เมื่อปฏิบัติงานเสร็จแล้วต้องเช็ด ถู ทาความสะอาดเครื่องมือทุกครั้ง ถ้าเป็นเครื่องมือที่ทาด้วยโลหะให้ หยอดด้วยน้ามันเพื่อป้องกันสนิม 4. เก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย