SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 53
ดร . น . พ . เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ  มหาวิทยาลัยรามคำแหง การจัดองค์ความรู้ในระบบการดูแลทางสุขภาพ   Knowledge Management in Health Care Systems
Review Chapter 2   ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้  (Understanding Knowledge)
ความรู้ (Knowledge) ข้อมูลสารสนเทศ (Information) ข้อมูลดิบ (DATA) DATA: บันทึกที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวในกิจกรรมประเภทต่างๆ เป็นบันทึก ที่ยังไม่มีความหมายในตัวของมันเอง คุณค่าอยู่ที่ ความทันการณ์ , ความรวดเร็วและความจุ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],KNOWLEDGE: ส่วนผสมของประสบการณ์ ค่านิยม ความเชี่ยวชาญ ซึ่งใช้เป็นกรอบในการตัดสินใจได้ คุณค่าของความรู้จึงวัดที่ผลของการกระทำ
วงจรความรู้  ( Knowledge Spiral   :  SECI  Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน   (Tacit Knowledge) ความรู้ที่ชัดแจ้ง   (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ชัดแจ้ง   (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน   (Tacit Knowledge) S ocialization E xternalization C ombination I nternalization (  อ้างอิงจาก  : Nonaka & Takeuchi )
การจัดเก็บองค์ความรู้แฝง  (Capturing Tacit Knowledge) Chapter 3 ดร . น . พ . เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ  มหาวิทยาลัยรามคำแหง
องค์กรจะต้องมีวิธีเกาะกุม   (Capture)  ความรู้ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานตามปกติไว้เป็นความรู้ขององค์กร ทำให้ความรู้ขององค์กรมีการยกระดับ   (Leverage)  ขึ้น ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการทำงานในเบื้องต้นเป็นความรู้ของบุคคล   (individual knowledge)   จะต้องมีกระบวนการ   " จารึก " (embed)  ความรู้เหล่านี้ไว้ในองค์กร ให้เป็นความรู้ขององค์กร (organizational knowledge)  การจัดเก็บองค์ความรู้  Capturing tacit knowledge
การจัดเก็บองค์ความรู้คืออะไร  ,[object Object],[object Object],[object Object]
ความเชี่ยวชาญ ,[object Object]
หลักเกณฑ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผู้เชี่ยวชาญ   (Expert)
ผู้เชี่ยวชาญ  (The Expert) ผู้เชี่ยวชาญอาจเป็นได้ทั้งรายบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีความรู้และความชำนาญในระดับเดียวกัน  ถึงแม้จะมีอยู่น้อยแต่สามารถนำความรู้ความชำนาญในเรื่องที่ตนเชี่ยวชาญมาอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างเป็นเชิงเหตุและผล รวมถึงเรียนรู้และสร้างสิ่งใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ในการแก้ปัญหา
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คุณสมบัติของ ผู้เชี่ยวชาญ
คุณลักษณะของผู้เชี่ยวชาญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความยุ่งยากของการจัดเก็บองค์ความรู้   ,[object Object],[object Object],[object Object]
การใช้ผู้เชี่ยวชาญคนเดียว ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การใช้หลากหลายผู้เชี่ยวชาญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การใช้หลากหลายผู้เชี่ยวชาญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มาตรการรองรับความหลากหลายผู้เชี่ยวชาญ ,[object Object],[object Object],[object Object]
แนวคิด   (Concept) เป็นกระบวนการร่วมกันปรับปรุง เอกสาร แผนงาน คู่มือ โดยมีผู้ร่างเริ่มต้นขึ้น และเวียนส่งไปให้ผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ต่างสถานที่กัน ให้ปรับแก้ แนะนำ ส่งกลับมาให้คณะผู้จัดทำ รวบรวมนำข้อที่เห็นแตกต่างกัน ส่งกลับไปให้พิจารณากันใหม่   2-3   รอบ และอาจนัดมาประชุมเพียง 1-2   ครั้ง Delphi Technique
ประโยชน์   (Advantage) เพื่อแก้ปัญหาที่ไม่สามารถนำผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มาพบกันได้นานหรือบ่อยครั้ง และยังวิวัฒนาการไปเป็นการใช้สื่อทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ได้ทุกชนิด เหมาะกับยุคใหม่ที่ต้องการความรวดเร็ว และสะดวก การนำไปใช้   (Usage) มีการใช้อยู่ทั่วไป แต่วิธีการอาจจะไม่รัดกุมจึงควรจะให้ความสนใจวิธีการให้มาก Delphi Technique
วัตถุประสงค์   (Objective) เพื่อระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญโดยวิธีการเขียนและปรับแก้โดยไม่มีการถกเถียง   (No debate) กลวิธี   (Tactic) สำรวจ สัมภาษณ์ ส่งเอกสารไปให้แสดงความคิดเห็น หรือปรับแก้เสนอแนะ   (Comments) Delphi Technique
วิธีการ   (Method) กำหนดกรอบเรื่องเพื่อควบคุมข้อคิดเห็น ให้ข้อมูลเรื่องที่จะขอความคิดเห็น ติดตามการสนองตอบจากทุกคน เลือกผู้เชี่ยวชาญในสาขาของเรื่องนั้น ยอมรับข้อเขียนของกันและกัน อย่างเอกฉันท์ โดยไม่ต้องมาประชุม Delphi Technique
ขั้นตอน   (Step) 1.   กำหนดเรื่องและทำแบบสอบถามหรือทำร่าง 2.   ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญกรอก ปรับแก้ส่งกลับมา   ( ผู้ประสานงาน   3   คน ทีมไม่เกิน   18   คน ) 3.   ผลที่รับกลับมาส่งเวียนไปให้ผู้อื่นอีกรอบ 4.   ข้อเสนอแนะ การปรับแก้จากคนอื่นๆได้มีการรับรู้ทั่วกัน โดยไม่ต้องระบุว่าเป็นของใคร 5.   ผู้รับเรื่องต้องอ่านทบทวนความคิดเห็นที่อาจต่างจากของตน 6.   ตัดสินใจปรับแก้หรือยอมรับความคิดเห็นที่อาจต่างจากของตน 7.   ผู้ประสานงานส่งกลับไปเป็นรอบที่   3   หรือหลายรอบจนกว่าจะมีข้อตกลง   ( ไม่มีผู้ใดแก้อีก )  เป็นรอบสุดท้าย และอาจเชิญมาลงมติร่วมกัน   1   ครั้ง Delphi Technique
ข้อสังวรของผู้ประสาน 1.   ประเด็นต้องชัดว่าให้แสดงความคิดเห็นอิสระหรือพิจารณาเฉพาะประโยค คำใด หน้าใด 2.   วิธีการอาจดัดแปลงได้ เช่น ให้ผู้เชี่ยวชาญมาพบกันครั้งแรกเพื่อชี้แจง Delphi Technique  นั้น สมาชิกของกลุ่มที่จะทำการตัดสินใจ ไม่จำเป็นต้องมาพบหน้ากันหรือไม่เคยรู้จักกันมาเลย แต่ละคนได้รับปัญหาและหาแนวทางแก้ไข โดยจะมีศูนย์รวมข้อมูลซึ่งอาจจะมีการส่งปัญหาและแนวทางแก้ไขไปให้   2-3  รอบจึงจะหาข้อมูล ส่วนใหญ่วิธีนี้ใช้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตัดสินในปัญหานั้นๆ   Delphi Technique
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เชี่ยวชาญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีการสัมภาษณ์
เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เป็นวิธีการสื่อสารสองทาง  ( Two-way communication)  มีการสนทนาระหว่างผู้มีข้อมูลกับผู้ต้องการทราบข้อมูล เป็นการถามตอบกันโดยตรง หากมีข้อสงสัย หรือเข้าใจไม่ชัดเจนก็ทำความเข้าใจจนชัดเจนในทันที เป็นการสร้างความมั่นใจให้ทั้งผู้ตอบและผู้ศึกษา   การสัมภาษณ์   (Interview)
การสัมภาษณ์   (Interview) การสนทนาที่มีจุดมุ่งหมาย โดยที่ผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์ต่างให้และรับข้อมูลที่ต้องการ
เป็นกระบวนการติดต่อสื่อความหมายกันระหว่างบุคคลสองฝ่าย โดยใช้ภาษาเป็นสื่อ การสัมภาษณ์   (Interview)
วิธีการสัมภาษณ์แบ่งเป็น  2   ประเภท ,[object Object],[object Object]
การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้างหรือแบบมาตรฐาน   (Standardized interview )  เป็นแบบที่มีการเตรียมการ มีแผนการสัมภาษณ์และการบริหารการสัมภาษณ์จัดเตรียมไว้อย่างค่อนข้างแน่นอนเป็นการล่วงหน้า การสัมภาษณ์เป็นมาตรฐานและเป็นทางการมาก ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคำถามเดียวกัน และถามคำถามก่อนหลังเรียงตามลำดับเหมือนกัน
การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้าง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง  การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบมาตรฐานน้อย  ( Less Standardized interview )  นั้น การสัมภาษณ์จะยืดหยุ่น เปิดกว้างไม่เป็นทางการมากนัก จะถามอะไรก่อนหลังก็ได้ รวมทั้งไม่จำเป็นต้องถามคำถามเหมือนกันทุกคนก็ได้ ผู้สัมภาษณ์มีอิสระในการถามและสามารถปรับเปลี่ยนการซักถามให้เหมาะสมกับผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละคนได้
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก  ( Depth Interview) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เป็นการซักถามพูดคุยกันระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นการถามเจาะลึกล้วงคำตอบอย่างละเอียดถี่ถ้วน การถามนอกจากจะให้อธิบายแล้ว จะต้องถามถึงเหตุผลด้วย การสัมภาษณ์แบบนี้ จะใช้ได้ดีกับการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล เจตคติ ความต้องการ ความเชื่อ ค่านิยม บุคลิกภาพในลักษณะต่างๆ   การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล
เป็นการสัมภาษณ์และสนทนาแบบเจาะประเด็นด้วยการเชิญผู้ร่วมสนทนามารวมเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ  5-7  คน แล้วเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนทัศนะกันอย่างกว้างขวางในประเด็นต่างๆที่เราต้องการแล้วพยายามหาข้อสรุป การสนทนากลุ่มนี้เหมาะกับการวิจัยที่ต้องการหารูปแบบโครงสร้าง แนวคิดใหม่ ๆ รวมทั้งค้นหาตัวกำหนดพฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์ การสนทนากลุ่ม
  1.  มีมนุษยสัมพันธ์ 2.  มีปฏิภาณไหวพริบ ไวต่อความรู้สึก 3.  เป็นผู้ฟังที่ดี 4.  ละเอียดรอบคอบ 5.  ไม่ลำเอียง หรือมีอคติ 6.  มีพื้นฐานความรู้ในเรื่องที่สัมภาษณ์   คุณสมบัติของผู้ทำการสัมภาษณ์ที่ดี
1.  กำหนดจุดมุ่งหมายและกรอบการสัมภาษณ์ 2.  ศึกษาเรื่องที่จะสัมภาษณ์ให้พร้อม 3.  เตรียมคำถามไว้ล่วงหน้าหลายๆ รูปแบบ 4.  สร้างบรรยากาศความคุ้นเคย ไว้วางใจ 5.  รักษาบรรยากาศให้เป็นไปตามธรรมชาติ 6.  ใช้เวลาสัมภาษณ์พอเหมาะ 7.  ไม่ชี้แนะคำตอบ 8.  ไม่ลำเอียงในเรื่องที่สัมภาษณ์ 9.  ฝึกทดลองสัมภาษณ์ให้คล่อง ลักษณะของการสัมภาษณ์ที่ดี  
  1.  เหมาะสำหรับผู้ที่อ่าน / เขียนไม่คล่อง 2.  ได้ข้อมูลโดยตรงจากแหล่งข้อมูล 3.  ได้ข้อมูลที่ไม่สามารถเขียนตอบโดยตรง 4.  สังเกตความจริงใจในการตอบได้ 5.  ตรวจสอบคำตอบได้   ข้อดีของการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
  1.  ลุงทุนมากทั้งเงิน   คน   และเวลา 2.  ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ข้อมูลจะเชื่อถือได้น้อย 3.  ขึ้นอยู่กับคุณภาพของผู้สัมภาษณ์   ข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
การตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์    ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การสนทนากลุ่ม แนวคิดและความเป็นมาของการสนทนากลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความนึกคิด    จิตใจ    และพฤติกรรมของมนุษย์    ปัจจัยที่มีอิทธิพล    ต่อพฤติกรรมปฏิกิริยาของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า    คำถาม    ถามถึงความรู้สึก    การตัดสินใจ    การให้เหตุผล    แรงจูงใจ    ความประทับใจ    หรือสถานการณ์ต่างๆที่มีความเป็นอิสระในการแสดงความเห็นการกำหนดเวลาของการสนทนาสถานที่และบรรยากาศของการสนทนาก็สร้างขึ้นมาให้เป็นกันเองที่สุด  
ความหมายของการจัดสนทนากลุ่ม   กลุ่มคนที่เป็นผู้รู้มีลักษณะทางศรษฐกิจ  สังคม    อาชีพ    หรือ คุณลักษณะภูมิหลังต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกันที่สุด และ คาดว่าเป็นกลุ่มที่สามารถตอบประเด็นคำถามที่นักวิจัยสนใจได้ดีที่สุด    สมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่ม  (  Homogeneous)   กลุ่มคนที่มีขนาดระหว่าง  7-8  คนนี้   เป็นกลุ่มที่มีลักษณะโต้ตอบและโต้แย้งกันดีที่สุด   ก่อให้เกิดการสนทนา   ที่เปิดกว้างที่จะให้ทุกคนไม่อายคนวิพากษ์วิจารณ์ได้ดีที่สุด  9-12  คน   มีลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่   วงสนทนาอาจจะมีการแบ่งกลุ่มย่อย     หันหน้าเข้าสนทนากันเอง   จะลำบากในการนั่งสนทนาเป็นกลุ่ม   และยากต่อการสรุปประเด็นปัญหาหรือวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะการเรียงคำถาม การที่ผู้ร่วมสนทนามีปฏิกิริยาโต้ตอบกันระดับสูงในระหว่างการสนทนา    จะเป็นสิ่งเร้าให้เกิดการสนทนาในระดับลึกยิ่งขึ้น    วงสนทนากลุ่มนักวิจัยจะต้องวิเคราะห์สถานการณ์    และข้อมูลในกลุ่มบุคคลที่ถูกกระตุ้น    แล้วสร้างประเด็นถามใหม่ ๆ ย้อนกลับไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้คำตอบที่ดีมีเหตุผลชัดเจนและละเอียดมากที่สุด
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม 1.  สิ่งแรกที่ต้องทำในเรื่องของการสนทนากลุ่ม   คือการกำหนดเรื่องที่จะทำการศึกษา    การกำหนดหัวข้อเรื่องนี้    อาจจะเกิดมาจากสภาพปัญหาต่าง ๆ ของสังคมในขณะนั้น    หรือเรื่องที่ผู้วิจัยสนใจตลอดจนแนวคิดและทฤษฏีต่าง ๆ นั่นเอง 2.  กำหนดประเด็นหรือตัวแปร   หรือตัวบ่งชี้ที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำการศึกษา   เพื่อมาสร้างเป็นแนวทางในการดำเนินการสนทนา 3.  แนวคำถามหรือกรอบคำถาม   คือแนวทางในการสนทนากลุ่ม   ซึ่งได้จากการนำคำถามที่ร่างไว้มาเรียบเรียงเป็นข้อย่อยจัดเป็นลำดับ   หรือผูกเป็นเรื่องราวเพื่อนำการสนทนาเป็นขั้นตอนและจัดตามลำดับความคิดเป็นหมวดหรือหัวข้อใหญ่ 4.  แบบคัดเลือกผู้เข้าร่วมกลุ่มสนทนา   เป็นแนวทางในการคัดเลือกสมาชิกเพื่อเข้าร่วมในกลุ่มสนทนาที่ถือว่าเป็นบุคคลที่สามารถให้คำตอบในการศึกษาครั้งนี้   ได้ตรงวัตถุประสงค์ของการศึกษามากที่สุด
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การดำเนินการสนทนากลุ่ม 1.  แนะนำตนเองและทีมงาน   ประกอบด้วย   พิธีกร   ผู้จดบันทึก   และผู้บริการทั่วไป   โดยปกติไม่ควรให้มีผู้สังเกตการณ์   อาจมีผลต่อการแสดงออก 2.  อธิบายถึงจุดมุ่งหมายในการมาทำสนทนากลุ่ม   วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.  เริ่มเกริ่นนำด้วยคำถามอุ่นเครื่องสร้างบรรยากาศเป็นกันเอง 4.  เมื่อเริ่มคุ้นเคย   เริ่มคำถามในแนวการสนทนาที่จัดเตรียมไว้ทิ้งช่วงให้มีการถกประเด็นและโต้แย้งกันให้พอสมควร  
ประเภทของวัตถุประสงค์ของการจัดสนทนากลุ่ม 1.  ใช้เพื่อสร้างให้เกิดสมมติฐานใหม่ 2.  ใช้เพื่อสำรวจความคิดเห็น   ทัศนคติของกลุ่มประชากรต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่ สนใจจะศึกษา 3.  ใช้ในการทดสอบแนวความคิดในเรื่องที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมาใหม่ 4.  ใช้ในการประเมินผลการวิจัยต่างๆ หรือโครงการพัฒนา 5.  ใช้ในการทดสอบแบบสอบถาม   และเพื่อสร้างความเข้า ใจ ที่ตรงกัน 6.  ใช้เพื่อเป็นการค้นหาคำตอบที่ยังคลุมเรือหรือไม่แน่ชัดในการวิจัยเชิงปริมาณ   โดยนำคำตอบจากการสนทนากลุ่มไปอธิบายเสริม 7.  ใช้ประโยชน์ในการทำการศึกษานำร่อง  ( Pilot Study)  ศึกษาบางเรื่องเพื่อเป็นแนวทางในการทำกรณีศึกษา  ( Case Study)  ต่อไป  
ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม 1.  เป็นการนั่งสนทนาระหว่างนักวิจัยกับผู้รู้   2.  การสนทนากลุ่ม   เป็นการสร้างบรรยากาศเสวนาให้เป็นกันเอง 3.  ได้ข้อมูลละเอียดและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา 4.  มีลักษณะเป็นคำตอบเชิงเหตุผลคล้ายๆกับการรวบรวมข้อมูลแบบคุณภาพ 5.  ประหยัดเวลาและงบประมาณของนักวิจัยในการศึกษา 6.  ทำให้ได้รายละเอียดสามารถตอบคำถามประเภททำไมและอย่างไรได้อย่างแตกฉานลึกซึ้งและในประเด็นหรือเรื่องที่ไม่ได้คิดหรือเตรียมไว้ก่อนก็ได้ 7.  จะช่วยบ่งชี้อิทธิพลของวัฒนธรรมและคุณค่าต่างๆ ของสังคมนั้นได้เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มมาจากวัฒนธรรมเดียวกัน 8.  สภาพของการสนทนากลุ่ม   ช่วยให้เกิดและได้ข้อมูลที่เป็นจริง  
ข้อจำกัดของการสนทนากลุ่ม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Assignment  Team Project Development KM System CY 644  KM in Health Care System      Date: 20 Dec 2008  นำเสนอผลงาน PowerPoint Presentation  พร้อม บันทึก การประชุม   (Tacit Knowledge to Explicit Knowledge)
A little knowledge that acts is worth   more than much knowledge that is idle.   ความรู้เพียงเล็กน้อยเพื่อปฏิบัติมีค่ามากกว่าความรู้มหาศาลที่อยู่เฉย   ๆ Kahlil Gibran
ดร . น . พ .   เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ   การศึกษา Diploma, Associate Life Management Institute ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต  ( บริหารธุรกิจ )  ภาคภาษาอังกฤษ   บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต อนุมัติบัตรสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว   ประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหารงานโรงพยาบาล   วุฒิบัตรสาขาสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยา   ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก   ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต   ประสบการณ์การทำงานและกิจกรรมทางสังคม รองประธานบริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนลแอสชัวรันส์ จำกัด  รองประธานคณะแพทย์ที่ปรึกษาสมาคมประกันชีวิตไทย อาจารย์ปริญญาโทสาขาวิชาสารสนเทศทางสุขภาพ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สูติ - นรีแพทย์ ศูนย์แพทย์พัฒนา อนุกรรมการแพทยสภา พิจารณากำหนดแบบฟอร์มกลางเพื่อใช้ในการประกันต่างๆ  ที่ปรึกษาและผู้เยี่ยมสำรวจ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Capturing Tacit

ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือRut' Np
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งtanongsak
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซJirawat Fishingclub
 
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdfการจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdfssusercbaf891
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring
การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring
การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring maruay songtanin
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961CUPress
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 

Semelhante a Capturing Tacit (20)

ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
 
Uu
UuUu
Uu
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซวิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
วิเคราะห็การออกแบบเว็บไซ
 
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdfการจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
 
แนะแนว
แนะแนวแนะแนว
แนะแนว
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring
การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring
การให้คะแนนในการให้รางวัล Award scoring
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961
 
1
11
1
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 

Mais de Asst.Prof.Dr.Terdsak Rojsurakitti (20)

CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
DUB
DUBDUB
DUB
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Nephrotic Syndrome
Nephrotic SyndromeNephrotic Syndrome
Nephrotic Syndrome
 
Kidney & Urinary System
Kidney & Urinary SystemKidney & Urinary System
Kidney & Urinary System
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Bile Duct Tumor
Bile Duct TumorBile Duct Tumor
Bile Duct Tumor
 
Appendicitis
AppendicitisAppendicitis
Appendicitis
 
Organ Transplant
Organ TransplantOrgan Transplant
Organ Transplant
 
Thyroid Noudle
Thyroid NoudleThyroid Noudle
Thyroid Noudle
 
Deep Vein Thrombosis
Deep Vein ThrombosisDeep Vein Thrombosis
Deep Vein Thrombosis
 
Gastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal TumorsGastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal Tumors
 
Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 

Capturing Tacit

  • 1. ดร . น . พ . เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การจัดองค์ความรู้ในระบบการดูแลทางสุขภาพ Knowledge Management in Health Care Systems
  • 2. Review Chapter 2 ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้ (Understanding Knowledge)
  • 3.
  • 4. วงจรความรู้ ( Knowledge Spiral : SECI Model) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) S ocialization E xternalization C ombination I nternalization ( อ้างอิงจาก : Nonaka & Takeuchi )
  • 5. การจัดเก็บองค์ความรู้แฝง (Capturing Tacit Knowledge) Chapter 3 ดร . น . พ . เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • 6. องค์กรจะต้องมีวิธีเกาะกุม (Capture) ความรู้ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานตามปกติไว้เป็นความรู้ขององค์กร ทำให้ความรู้ขององค์กรมีการยกระดับ (Leverage) ขึ้น ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการทำงานในเบื้องต้นเป็นความรู้ของบุคคล (individual knowledge) จะต้องมีกระบวนการ " จารึก " (embed) ความรู้เหล่านี้ไว้ในองค์กร ให้เป็นความรู้ขององค์กร (organizational knowledge) การจัดเก็บองค์ความรู้ Capturing tacit knowledge
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 11. ผู้เชี่ยวชาญ (The Expert) ผู้เชี่ยวชาญอาจเป็นได้ทั้งรายบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีความรู้และความชำนาญในระดับเดียวกัน ถึงแม้จะมีอยู่น้อยแต่สามารถนำความรู้ความชำนาญในเรื่องที่ตนเชี่ยวชาญมาอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างเป็นเชิงเหตุและผล รวมถึงเรียนรู้และสร้างสิ่งใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ในการแก้ปัญหา
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. แนวคิด (Concept) เป็นกระบวนการร่วมกันปรับปรุง เอกสาร แผนงาน คู่มือ โดยมีผู้ร่างเริ่มต้นขึ้น และเวียนส่งไปให้ผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ต่างสถานที่กัน ให้ปรับแก้ แนะนำ ส่งกลับมาให้คณะผู้จัดทำ รวบรวมนำข้อที่เห็นแตกต่างกัน ส่งกลับไปให้พิจารณากันใหม่ 2-3 รอบ และอาจนัดมาประชุมเพียง 1-2 ครั้ง Delphi Technique
  • 20. ประโยชน์ (Advantage) เพื่อแก้ปัญหาที่ไม่สามารถนำผู้เชี่ยวชาญจริงๆ มาพบกันได้นานหรือบ่อยครั้ง และยังวิวัฒนาการไปเป็นการใช้สื่อทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ได้ทุกชนิด เหมาะกับยุคใหม่ที่ต้องการความรวดเร็ว และสะดวก การนำไปใช้ (Usage) มีการใช้อยู่ทั่วไป แต่วิธีการอาจจะไม่รัดกุมจึงควรจะให้ความสนใจวิธีการให้มาก Delphi Technique
  • 21. วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญโดยวิธีการเขียนและปรับแก้โดยไม่มีการถกเถียง (No debate) กลวิธี (Tactic) สำรวจ สัมภาษณ์ ส่งเอกสารไปให้แสดงความคิดเห็น หรือปรับแก้เสนอแนะ (Comments) Delphi Technique
  • 22. วิธีการ (Method) กำหนดกรอบเรื่องเพื่อควบคุมข้อคิดเห็น ให้ข้อมูลเรื่องที่จะขอความคิดเห็น ติดตามการสนองตอบจากทุกคน เลือกผู้เชี่ยวชาญในสาขาของเรื่องนั้น ยอมรับข้อเขียนของกันและกัน อย่างเอกฉันท์ โดยไม่ต้องมาประชุม Delphi Technique
  • 23. ขั้นตอน (Step) 1. กำหนดเรื่องและทำแบบสอบถามหรือทำร่าง 2. ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญกรอก ปรับแก้ส่งกลับมา ( ผู้ประสานงาน 3 คน ทีมไม่เกิน 18 คน ) 3. ผลที่รับกลับมาส่งเวียนไปให้ผู้อื่นอีกรอบ 4. ข้อเสนอแนะ การปรับแก้จากคนอื่นๆได้มีการรับรู้ทั่วกัน โดยไม่ต้องระบุว่าเป็นของใคร 5. ผู้รับเรื่องต้องอ่านทบทวนความคิดเห็นที่อาจต่างจากของตน 6. ตัดสินใจปรับแก้หรือยอมรับความคิดเห็นที่อาจต่างจากของตน 7. ผู้ประสานงานส่งกลับไปเป็นรอบที่ 3 หรือหลายรอบจนกว่าจะมีข้อตกลง ( ไม่มีผู้ใดแก้อีก ) เป็นรอบสุดท้าย และอาจเชิญมาลงมติร่วมกัน 1 ครั้ง Delphi Technique
  • 24. ข้อสังวรของผู้ประสาน 1. ประเด็นต้องชัดว่าให้แสดงความคิดเห็นอิสระหรือพิจารณาเฉพาะประโยค คำใด หน้าใด 2. วิธีการอาจดัดแปลงได้ เช่น ให้ผู้เชี่ยวชาญมาพบกันครั้งแรกเพื่อชี้แจง Delphi Technique นั้น สมาชิกของกลุ่มที่จะทำการตัดสินใจ ไม่จำเป็นต้องมาพบหน้ากันหรือไม่เคยรู้จักกันมาเลย แต่ละคนได้รับปัญหาและหาแนวทางแก้ไข โดยจะมีศูนย์รวมข้อมูลซึ่งอาจจะมีการส่งปัญหาและแนวทางแก้ไขไปให้ 2-3 รอบจึงจะหาข้อมูล ส่วนใหญ่วิธีนี้ใช้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตัดสินในปัญหานั้นๆ Delphi Technique
  • 25.
  • 27. เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เป็นวิธีการสื่อสารสองทาง ( Two-way communication) มีการสนทนาระหว่างผู้มีข้อมูลกับผู้ต้องการทราบข้อมูล เป็นการถามตอบกันโดยตรง หากมีข้อสงสัย หรือเข้าใจไม่ชัดเจนก็ทำความเข้าใจจนชัดเจนในทันที เป็นการสร้างความมั่นใจให้ทั้งผู้ตอบและผู้ศึกษา การสัมภาษณ์ (Interview)
  • 28. การสัมภาษณ์ (Interview) การสนทนาที่มีจุดมุ่งหมาย โดยที่ผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์ต่างให้และรับข้อมูลที่ต้องการ
  • 30.
  • 31. การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้างหรือแบบมาตรฐาน (Standardized interview ) เป็นแบบที่มีการเตรียมการ มีแผนการสัมภาษณ์และการบริหารการสัมภาษณ์จัดเตรียมไว้อย่างค่อนข้างแน่นอนเป็นการล่วงหน้า การสัมภาษณ์เป็นมาตรฐานและเป็นทางการมาก ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคำถามเดียวกัน และถามคำถามก่อนหลังเรียงตามลำดับเหมือนกัน
  • 32.
  • 33. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบมาตรฐานน้อย ( Less Standardized interview ) นั้น การสัมภาษณ์จะยืดหยุ่น เปิดกว้างไม่เป็นทางการมากนัก จะถามอะไรก่อนหลังก็ได้ รวมทั้งไม่จำเป็นต้องถามคำถามเหมือนกันทุกคนก็ได้ ผู้สัมภาษณ์มีอิสระในการถามและสามารถปรับเปลี่ยนการซักถามให้เหมาะสมกับผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละคนได้
  • 34.
  • 35. เป็นการซักถามพูดคุยกันระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นการถามเจาะลึกล้วงคำตอบอย่างละเอียดถี่ถ้วน การถามนอกจากจะให้อธิบายแล้ว จะต้องถามถึงเหตุผลด้วย การสัมภาษณ์แบบนี้ จะใช้ได้ดีกับการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล เจตคติ ความต้องการ ความเชื่อ ค่านิยม บุคลิกภาพในลักษณะต่างๆ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล
  • 36. เป็นการสัมภาษณ์และสนทนาแบบเจาะประเด็นด้วยการเชิญผู้ร่วมสนทนามารวมเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 5-7 คน แล้วเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนทัศนะกันอย่างกว้างขวางในประเด็นต่างๆที่เราต้องการแล้วพยายามหาข้อสรุป การสนทนากลุ่มนี้เหมาะกับการวิจัยที่ต้องการหารูปแบบโครงสร้าง แนวคิดใหม่ ๆ รวมทั้งค้นหาตัวกำหนดพฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์ การสนทนากลุ่ม
  • 37.   1.  มีมนุษยสัมพันธ์ 2.  มีปฏิภาณไหวพริบ ไวต่อความรู้สึก 3.  เป็นผู้ฟังที่ดี 4.  ละเอียดรอบคอบ 5.  ไม่ลำเอียง หรือมีอคติ 6.  มีพื้นฐานความรู้ในเรื่องที่สัมภาษณ์   คุณสมบัติของผู้ทำการสัมภาษณ์ที่ดี
  • 38. 1.  กำหนดจุดมุ่งหมายและกรอบการสัมภาษณ์ 2.  ศึกษาเรื่องที่จะสัมภาษณ์ให้พร้อม 3.  เตรียมคำถามไว้ล่วงหน้าหลายๆ รูปแบบ 4.  สร้างบรรยากาศความคุ้นเคย ไว้วางใจ 5.  รักษาบรรยากาศให้เป็นไปตามธรรมชาติ 6.  ใช้เวลาสัมภาษณ์พอเหมาะ 7.  ไม่ชี้แนะคำตอบ 8.  ไม่ลำเอียงในเรื่องที่สัมภาษณ์ 9.  ฝึกทดลองสัมภาษณ์ให้คล่อง ลักษณะของการสัมภาษณ์ที่ดี  
  • 39.   1.  เหมาะสำหรับผู้ที่อ่าน / เขียนไม่คล่อง 2.  ได้ข้อมูลโดยตรงจากแหล่งข้อมูล 3.  ได้ข้อมูลที่ไม่สามารถเขียนตอบโดยตรง 4.  สังเกตความจริงใจในการตอบได้ 5.  ตรวจสอบคำตอบได้   ข้อดีของการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
  • 40.   1.  ลุงทุนมากทั้งเงิน   คน   และเวลา 2.  ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ ข้อมูลจะเชื่อถือได้น้อย 3.  ขึ้นอยู่กับคุณภาพของผู้สัมภาษณ์   ข้อด้อยของการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
  • 41.
  • 42. การสนทนากลุ่ม แนวคิดและความเป็นมาของการสนทนากลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความนึกคิด   จิตใจ   และพฤติกรรมของมนุษย์   ปัจจัยที่มีอิทธิพล   ต่อพฤติกรรมปฏิกิริยาของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า   คำถาม   ถามถึงความรู้สึก   การตัดสินใจ   การให้เหตุผล   แรงจูงใจ   ความประทับใจ   หรือสถานการณ์ต่างๆที่มีความเป็นอิสระในการแสดงความเห็นการกำหนดเวลาของการสนทนาสถานที่และบรรยากาศของการสนทนาก็สร้างขึ้นมาให้เป็นกันเองที่สุด  
  • 43. ความหมายของการจัดสนทนากลุ่ม กลุ่มคนที่เป็นผู้รู้มีลักษณะทางศรษฐกิจ สังคม   อาชีพ   หรือ คุณลักษณะภูมิหลังต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกันที่สุด และ คาดว่าเป็นกลุ่มที่สามารถตอบประเด็นคำถามที่นักวิจัยสนใจได้ดีที่สุด   สมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่ม ( Homogeneous)  กลุ่มคนที่มีขนาดระหว่าง 7-8 คนนี้   เป็นกลุ่มที่มีลักษณะโต้ตอบและโต้แย้งกันดีที่สุด   ก่อให้เกิดการสนทนา   ที่เปิดกว้างที่จะให้ทุกคนไม่อายคนวิพากษ์วิจารณ์ได้ดีที่สุด 9-12 คน   มีลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่   วงสนทนาอาจจะมีการแบ่งกลุ่มย่อย    หันหน้าเข้าสนทนากันเอง   จะลำบากในการนั่งสนทนาเป็นกลุ่ม   และยากต่อการสรุปประเด็นปัญหาหรือวิเคราะห์ข้อมูล
  • 44. ลักษณะการเรียงคำถาม การที่ผู้ร่วมสนทนามีปฏิกิริยาโต้ตอบกันระดับสูงในระหว่างการสนทนา   จะเป็นสิ่งเร้าให้เกิดการสนทนาในระดับลึกยิ่งขึ้น   วงสนทนากลุ่มนักวิจัยจะต้องวิเคราะห์สถานการณ์   และข้อมูลในกลุ่มบุคคลที่ถูกกระตุ้น   แล้วสร้างประเด็นถามใหม่ ๆ ย้อนกลับไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้คำตอบที่ดีมีเหตุผลชัดเจนและละเอียดมากที่สุด
  • 45. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม 1.  สิ่งแรกที่ต้องทำในเรื่องของการสนทนากลุ่ม   คือการกำหนดเรื่องที่จะทำการศึกษา   การกำหนดหัวข้อเรื่องนี้   อาจจะเกิดมาจากสภาพปัญหาต่าง ๆ ของสังคมในขณะนั้น   หรือเรื่องที่ผู้วิจัยสนใจตลอดจนแนวคิดและทฤษฏีต่าง ๆ นั่นเอง 2.  กำหนดประเด็นหรือตัวแปร   หรือตัวบ่งชี้ที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำการศึกษา   เพื่อมาสร้างเป็นแนวทางในการดำเนินการสนทนา 3. แนวคำถามหรือกรอบคำถาม   คือแนวทางในการสนทนากลุ่ม   ซึ่งได้จากการนำคำถามที่ร่างไว้มาเรียบเรียงเป็นข้อย่อยจัดเป็นลำดับ   หรือผูกเป็นเรื่องราวเพื่อนำการสนทนาเป็นขั้นตอนและจัดตามลำดับความคิดเป็นหมวดหรือหัวข้อใหญ่ 4.  แบบคัดเลือกผู้เข้าร่วมกลุ่มสนทนา   เป็นแนวทางในการคัดเลือกสมาชิกเพื่อเข้าร่วมในกลุ่มสนทนาที่ถือว่าเป็นบุคคลที่สามารถให้คำตอบในการศึกษาครั้งนี้   ได้ตรงวัตถุประสงค์ของการศึกษามากที่สุด
  • 46.
  • 47. การดำเนินการสนทนากลุ่ม 1.  แนะนำตนเองและทีมงาน   ประกอบด้วย   พิธีกร   ผู้จดบันทึก   และผู้บริการทั่วไป   โดยปกติไม่ควรให้มีผู้สังเกตการณ์   อาจมีผลต่อการแสดงออก 2.  อธิบายถึงจุดมุ่งหมายในการมาทำสนทนากลุ่ม   วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.  เริ่มเกริ่นนำด้วยคำถามอุ่นเครื่องสร้างบรรยากาศเป็นกันเอง 4.  เมื่อเริ่มคุ้นเคย   เริ่มคำถามในแนวการสนทนาที่จัดเตรียมไว้ทิ้งช่วงให้มีการถกประเด็นและโต้แย้งกันให้พอสมควร  
  • 48. ประเภทของวัตถุประสงค์ของการจัดสนทนากลุ่ม 1.  ใช้เพื่อสร้างให้เกิดสมมติฐานใหม่ 2.  ใช้เพื่อสำรวจความคิดเห็น   ทัศนคติของกลุ่มประชากรต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่ สนใจจะศึกษา 3.  ใช้ในการทดสอบแนวความคิดในเรื่องที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมาใหม่ 4.  ใช้ในการประเมินผลการวิจัยต่างๆ หรือโครงการพัฒนา 5.  ใช้ในการทดสอบแบบสอบถาม   และเพื่อสร้างความเข้า ใจ ที่ตรงกัน 6.  ใช้เพื่อเป็นการค้นหาคำตอบที่ยังคลุมเรือหรือไม่แน่ชัดในการวิจัยเชิงปริมาณ   โดยนำคำตอบจากการสนทนากลุ่มไปอธิบายเสริม 7.  ใช้ประโยชน์ในการทำการศึกษานำร่อง ( Pilot Study) ศึกษาบางเรื่องเพื่อเป็นแนวทางในการทำกรณีศึกษา ( Case Study) ต่อไป  
  • 49. ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม 1.  เป็นการนั่งสนทนาระหว่างนักวิจัยกับผู้รู้   2.  การสนทนากลุ่ม   เป็นการสร้างบรรยากาศเสวนาให้เป็นกันเอง 3.  ได้ข้อมูลละเอียดและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา 4.  มีลักษณะเป็นคำตอบเชิงเหตุผลคล้ายๆกับการรวบรวมข้อมูลแบบคุณภาพ 5.  ประหยัดเวลาและงบประมาณของนักวิจัยในการศึกษา 6.  ทำให้ได้รายละเอียดสามารถตอบคำถามประเภททำไมและอย่างไรได้อย่างแตกฉานลึกซึ้งและในประเด็นหรือเรื่องที่ไม่ได้คิดหรือเตรียมไว้ก่อนก็ได้ 7.  จะช่วยบ่งชี้อิทธิพลของวัฒนธรรมและคุณค่าต่างๆ ของสังคมนั้นได้เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มมาจากวัฒนธรรมเดียวกัน 8.  สภาพของการสนทนากลุ่ม   ช่วยให้เกิดและได้ข้อมูลที่เป็นจริง  
  • 50.
  • 51.
  • 52. A little knowledge that acts is worth more than much knowledge that is idle. ความรู้เพียงเล็กน้อยเพื่อปฏิบัติมีค่ามากกว่าความรู้มหาศาลที่อยู่เฉย ๆ Kahlil Gibran
  • 53. ดร . น . พ . เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ การศึกษา Diploma, Associate Life Management Institute ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ( บริหารธุรกิจ ) ภาคภาษาอังกฤษ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต อนุมัติบัตรสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหารงานโรงพยาบาล วุฒิบัตรสาขาสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยา ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต ประสบการณ์การทำงานและกิจกรรมทางสังคม รองประธานบริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนลแอสชัวรันส์ จำกัด รองประธานคณะแพทย์ที่ปรึกษาสมาคมประกันชีวิตไทย อาจารย์ปริญญาโทสาขาวิชาสารสนเทศทางสุขภาพ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สูติ - นรีแพทย์ ศูนย์แพทย์พัฒนา อนุกรรมการแพทยสภา พิจารณากำหนดแบบฟอร์มกลางเพื่อใช้ในการประกันต่างๆ ที่ปรึกษาและผู้เยี่ยมสำรวจ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล