SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
1 
 
จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
จินตวิศวองคกร : The New Corporate Garage
ดร.ดนัย เทียนพุฒ 
                                                             นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจ 
 
    “นวัตกรรม (Innovation)” เปนสิ่งสําคัญมากในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ทั้ง
ทางการตลาดและธุรกิจตางพยายามคนหาและพัฒนานวัตกรรมอยางตอเนื่องสําหรับการนําเสนอ
ผลิตภัณฑและบริการใหม พรอมกับการพัฒนาธุรกิจในรูปแบบใหมๆ คูขนานกันไป
ผูเขียนเห็นวา “โครงการคูปองวัฒนธรรมในระยะที่ 2 (พ.ศ.2555-2559) ซึ่งรัฐบาล
รวมกับ กรอ. สน.นวัตกรรม สภาอุตสาหกรรมและสภาหอการคารวมกันโดยรัฐใหงบประมาณ 500 ลาน
บาท เปนเงินเปลาแก SMEs ใหสูงสุดโครงการละ 1.5 ลานบาท คาดหวังวาใหเกิดการใชประโยชนจาก
การวิจัยและพัฒนา (R&D) สําหรับ SMEs ที่เขารวมโครงการ ทั้งนี้ผูประกอบการ SMEs 1 รายจะขอรับ
เงินสนับสนุนไดไมเกิน 2 โครงการ และแตละโครงการตองใชงบดานพัฒนานวัตกรรม 25% ของมูลคา
โครงการ ซึ่งตองดําเนินการใหเสร็จภายใน 2 ป” (อางจาก นสพ. M2F หนาNews Update ฉบับวันที่ 15
ต.ค.2558: 9)
การสนับสนุนดานวิจัยและพัฒนาเพื่อใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ เปนสิ่งนาสนับสนุนใหกับ
ผูประกอบการ SMEs และในระยะยาวจะชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไดไมมากก็
นอย
ขณะเดียวกันทําใหผูเขียนนึกถึงวาองคกรหรือธุรกิจตางๆ จะมีวิธีการพัฒนานวัตกรรมให
เกิดขึ้นอยางรวดเร็วภายในองคกรไดอยางไร และทําอยางไรจึงจะใหมีนวัตกรรมเปนดีเอ็นเอขององคกรซึ่ง
หากทําไดก็หมายถึง การเกิดนวัตกรรมขึ้นในองคกรไดอยางยั่งยืน
 การดําเนินธุรกิจในระยะแรกๆ ของผูประกอบการ SMEs หรือเจาของกิจการอาจมี
แนวคิดในการสรางผลิตภัณฑและบริการใหมๆ แตพอถึงจุดหนึ่งเมื่อธุรกิจเริ่มตนสามารถผลักดันและสราง
ตลาดใหเติบโตขึ้นมาได ก็เริ่มจะมีนักธุรกิจหนาใหม สนใจสรางธุรกิจใหมในลักษณะเหมือนหรือคลายๆ
กันเขามาแขงขันดวย ทําใหผูประกอบการธุรกิจ SMEs เดิมหรือผูคิดริเริ่มตองมีการปรับตัว และจะพบวา
การดําเนินธุรกิจในชวงระยะเวลานี้เปนสิ่งที่ยากขึ้นกวาเดิม
2 
 
จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
 เมื่อผูประกอบการ SMEs ตองการขยับธุรกิจใหกาวขึ้นไปเปนธุรกิจขนาดกลาง ขนาด
ใหญและกาวไกลไปจนถึงกับเปนบริษัทขามชาติ พบวาไมใชเรื่องที่จะทําไดในชั่วขามคืนแตเปนสิ่งตองใช
เวลาในการพัฒนา ใชคนเกงเชี่ยวชาญสูง พรอมกับเงินลงทุน โดยเฉพาะดานการวิจัยและพัฒนา
คําถามจึงเกิดขึ้นมาวา ธุรกิจมีทางเรงที่รวดเร็วในการสรางนวัตกรรมไดไหม
องคกรแหงจินตวิศวกรรม (Imagineering Corporation)
ผูเขียนสนใจและชอบเรื่องราวของ “จินตนาการ (Imagination)” เพราะเปนการขยาย
ขอบเขตความสามารถในการคิด การเกิดไอเดียไดอยางไมสิ้นสุด และโดยเฉพาะคําพูดของไอนสไตน ไดพูด
ไววา “จินตนาการสําคัญกวาความรู (The Imagination is more important than Knowledge)” และมักมี
การกลาวถึงกันอยูบอยๆ
ชาติตะวันตกมีคําอยูคําหนึ่งวา “Blue Sky Cellar” อาจแปลงายๆ วา “หองใตหลังคา
มองดูฟาสีน้ําเงิน” เพราะการอยูในที่สูงจะทําใหสามารถมองเห็นสิ่งตางๆ ไดรอบตัว เมื่อเห็นดังนั้นจะทําให
คิดอะไรใหมๆ ได หลังจากนั้นจะเดินลงไปยังโรงรถหรือหองเก็บของ ซึ่งมีอุปกรณตางๆ อยูอยางครบถวน
ชวยในการประดิษฐคิดคนพัฒนาตามความคิดซึ่งเกิดมาจากหองใตหลังคาบาน อยางเชน Arthur
Davidson สรางจักรยานที่ติดเครื่องยนตสําเร็จจากโรงไมเล็กๆ หลังจากนั้น และในป 1903 ไดกอตั้งบริษัท
Harley-Davidson ขึ้นมา
จินตวิศวกรรม
จําไดวา ผูเขียนบุกเบิกคําวา จินตวิศวกร (Imagineer) และ จินตวิศวกรรม (Imagineering)
หลังจากกลับมาจากการดูงานที่ ดีสนียแลนด แคลอฟอรเนีย (ป 2548) เปนความประทับใจมาก ตอนที่ได
เลนเครื่องเลนตาง ๆ ในสวนสนุกระดับแหงนี้ พรอมกับไดรูวา บรรดาทีมงานที่คิดเครื่องเลนทั้งหมด เปน
บุคคลที่มีชื่อตําแหนงวา จินตวิศวกร
ในตอนนั้นคิดอยูนานจะใชคําภาษาไทยวาอะไรดีเพราะยังไมรูจักกันในเมืองไทย “จินตวิศวกร
(Imagination + Engineering)” นาจะเปนคําภาษาไทยที่จะสื่อถึงคํานี้ไดตรงกับความหมายกับคํา
ภาษาอังกฤษ
3 
 
จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
    ฝรั่งจึงบอกวา ... สถานที่แหงแรกในการสรางสิ่งตางๆ หรือเปนที่แกไขของซึ่งเสียหาย
แตกหัก
.....หองเก็บของเปนที่เกิด “ไอเดียอุนๆ” กับ “ธุรกิจเล็กๆ “ เริ่มมาจากหองเหลานี่เอง
(www.the-innovation-garage.com)
Anthony (2012, The New Corporate Garage; http://www.hbr.org ฉบับ HBR
September) สรุปวาธุรกิจที่ประสบความสําเร็จอันยิ่งใหญ มีผลิตภัณฑที่ปรับเปลี่ยนโลกเกิดมาจาก
“ผูประกอบการผูหิวกระหาย“ ไดมองดูบุคคลเหลานี้แทน เชน Gateses Zuckerbergs Pages และ Brins
การบุกเบิกจินตวิศวกร
หลังจากผูเขียนพูดถึง จินตวิศวกร และเริ่มัฒนาเรื่องนวัตกรรมในองคกร จนกระทั่ง 5 ป
(ป 2552-2556) ที่ผานมา ธุรกิจเริ่มคึกคักสนใจและสอบถามมายังผูเขียน และขอความเห็นเกี่ยวกับ
“จินตวิศวกร (Imagineer)” วาเปนอยางไร เมื่อผูเขียนพัฒนาหลักสูตร คิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม
(InnoCreativity) เพื่อสอนและบรรยายใหกังองคกรตางๆ ในการพัฒนานวัตกรรม จัดการนวัตกรรม
(Innovation Management) ปจจุบันไดพัฒนาโมเดลนวัตกรรมในองคืกรขึ้นเพื่อใหสามารถนําไปใชได
อยางกวางขวาง พรอมกับการเขียนบล็อกเกี่ยวกับ “The Imagineering Corporate”
 
จินตวิศวกรรม = จินตนาการ + วิศวกรรม 
(Imagineering) = (Imagination) + (Engineering) 
“เราเรียกสิ่งนี้วา จินตวิศวกรรม (Imagineering) –การรวมเขามา 
ของความคิดสรางสรรค จินตนาการและโนวฮาวทางเทคนิค” 
 
Walt Disney
4 
 
จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
(http://www.thaiimagineer.blogspot.com) ทานที่สนใจสามารถเขาไปศึกษาและคนหาที่ไปที่มาได
ครับ
กลับมาที่ จินตวิศวกรรมของวอลท ดีสนีย ไดพูดถึง “โนวฮาวดานเทคนิค” ที่ใชในการ
สรางธีมปารค ซึ่งดึงดูดใหคนมาเที่ยวสวยสนุกดีสนีย มีหลักการและการปฏิบัติของจินตวิศวกรรม
สามารถประยุกตใชดานอื่นๆ ในการคิดสรางสรรคไดดังนี้ 
 การตลาด/การโฆษณา
 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ
 การออกแบบเกมส
 การพัฒนาสารสนเทศ
 การเขียนดานเทคนิค
 สถาปตยและการออกแบบสารสนเทศ
 การออกแบบการเรียนการสอน
บริษัทยักษใหญไดสราง นวัตกรรมในองคกรใหเปนความไดเปรียบในการแขงขัน เชน
เมดโทรนิค(Medtronic) ยูนิลีเวอร (Unilever) ซินเจนทา (Syngenta) และ IBM มีขอไดเปรียบซึ่งบริษัทเริ่ม
กิจการใหม หรือ สตารอัพยากที่จะทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบไดในสิ่งตอไปนี้ 
1) โครงสรางพื้นฐานระดับโลก 
ในขณะที่การใหบริการอินเทอรเน็ตเปนการงายตอการจัดจําหนายสินคาทั่วไปและ บริการแบบตัว
ตอตัว ( เผชิญหนาพูดคุย) จําเปนตองมีโครงสรางพื้นฐาน (โดยเฉพาะอยางยิ่ง " การสงสินคาถึงหนาบาน" ดวยชอง
ทางการจัดจําหนาย) บริษัทขนาดใหญลงหลักปกฐานะที่มั่นเหลานี้ และขยายการจัดจําหนายไดอยางรวดเร็ว  
2) ความมีชื่อเสียงของแบรนดที่แข็งแกรง
คนเฝาดูประตู (ชองทาง) ระหวางความคิดและผูใชบริการ เชนกรณีเมดโทรนิค ตัวแทนจัดซื้อของ
โรงพยาบาลรัฐบาล และหนวยงานกํากับดูแล อิทธิพลของแพทย มักจะมีรูสึกลังเลที่เกี่ยวกับเสนอผลิตภัณฑและบริการ
จาก บริษัท ใหมๆ ดังนั้นแบรนดที่แข็งแกรงจะชวยให บริษัทขนาดใหญแลนผานเขาสูประตู (ชองทาง) นี้ได  
 
 
5 
 
จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
3) ความสัมพันธของหุนสวน
บริษัทขนาดใหญ สามารถไดรับการสนับสนุนจากหุนสวนที่ดีที่สุดในผลิตภัณฑนั้น ๆ เพื่อ
การสนับสนุนไอเดียของบริษัท
4) ความรูทางดานวิทยาศาสตร
การทุมเทของทีมงานผูเชี่ยวชาญภายในบริษัทได สรางความรูยากที่จะทําซ้ําขึ้นมาได
และมักจะไดรับการคุมครองโดยการจดสิทธิบัตร
5) ประสบการณผานผูควบคุมกฎกติกา
การแทรกแซงที่เพิ่มขึ้นของรัฐบาล ในตลาดปจจุบันทําใหธุรกิจหนาใหมมีอุปสรรคในการ
สตารอัพ และการติดตอกับเจาหนาของทางการที่ในหลายพื้นที่
6) กระบวนการที่เปนเลิศ
ขณะที่การดําเนินงานของบริษัทหนาใหมเติบโตมากขึ้น พวกสตารอัพเหลานี้ ทํานายถึง
ความรุนแรงของความรวดเร็วในการแขงขันธุรกิจไมไดจึงก็ถูกการโถมกระหน่ําเขาหา แตบริษัท ขนาดใหญ
สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งเหลานี้ได
ตัวเรงปฏิกิริยาในองคกร(Corporate Catalysts)
IBM เปนองคกรที่ผาน ยุคตาง ๆ ของนวัตกรรมมา โดยยุคที่ หนึ่ง เปนยุคของ นวัตกรผู
โดเดี่ยว (คิดคนอยูคนเดียว) ยุคที่สอง หองแลบในองคกร (การจัดตั้งหองแลบในบริษัทเพื่อคิดคนสิ่งใหมๆ)
ยุคที่สาม เวนเจอรแค็ปปตอล (VC) (ผูรวมลงทุนเขามาสนับสนุนพวกสตารอัพ) ยุคที่สี่ ตัวเรงปฏิกิริยาใน
องคกร เปนนักนวัตกรรม ที่มีอยูแลวแตขยับบทบาทมาเปนผูดําเนินการดานนวัตกรรม มีการจัดทําแบบ
ดั้งเดิมและสรางแนวทางใหม ( Anthony, 2012 : 53 ) ดังตอไปนี้
1) รวมทุนในกิจการที่เปนผูสงเสริมสนับสนุน ของยุคที่สาม ซึ่งจะตองพิจารณาวาโมเดล
อาจมีการเปลี่ยนแปลง ถาพวกเขาจะเขาไปเกี่ยวของ
2) นักนวัตกรรมหนุม ตั้งในปรับปรุงผลิตภัณฑใหโลกไดยอมรับในงานของเขาเพื่อ
ปองกันไมให บริษัทขนาดใหญ"ขายของไมไดออก" – สามารถเพิ่มผลกระทบใหบริษัทของพวกเขา
6 
 
จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
3) ผูนําองคกร ตองตรวจสอบเชิงวิพากษ เกี่ยวกับระดับสภาพแวดลอมของบริษัท อัน
จะทําให 'มีลักษณะแบบบริการในการทํางานของตัวเรงปฏิกิริยา”
4) พนักงานที่ไดพบกับสภาพแวดลอมซึ่งที่ไมเอื้ออํานวยใหมีนวัตกรรมควรพิจารณาวา
บริษัทอื่นทําอยางไรในการเติ่มพลังหรือ เชื้อไฟใหเกิดขึ้นในตัวเรงปฏิกิริยา
5) ตัวเรงปฏิกิริยาที่ไดเริ่มตนขึ้นเปนเพียงความพยายามของพวกเขา และงานของพวกเขา
ไมใชสิ่งที่จะทําไดงายๆ ถามพวกเขาวาตองการคําแนะนํา ยูริเชนแหงยูนิลีเวอรใหคําแนะนําวา ตองมี
จุดประสงคและความมุงมั่น "มันเปนเรื่องการตอสูในชีวิตประจําวัน" และ "ถาทานคุณไมเชื่อในโครงการ
อุปสรรคก็จะมีเกิดขึ้นเปนอยางมาก."
นวัตกรรมจากหองเก็บของหรือโรงรถ เปนรูปแบบหนึ่งของลักษณะ “จินตวิศวองคกร” ครับ

Mais conteúdo relacionado

Mais de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

จินตวิศวองค์กร : The New Corporate Garage

  • 1. 1    จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  จินตวิศวองคกร : The New Corporate Garage ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                               นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจ        “นวัตกรรม (Innovation)” เปนสิ่งสําคัญมากในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ทั้ง ทางการตลาดและธุรกิจตางพยายามคนหาและพัฒนานวัตกรรมอยางตอเนื่องสําหรับการนําเสนอ ผลิตภัณฑและบริการใหม พรอมกับการพัฒนาธุรกิจในรูปแบบใหมๆ คูขนานกันไป ผูเขียนเห็นวา “โครงการคูปองวัฒนธรรมในระยะที่ 2 (พ.ศ.2555-2559) ซึ่งรัฐบาล รวมกับ กรอ. สน.นวัตกรรม สภาอุตสาหกรรมและสภาหอการคารวมกันโดยรัฐใหงบประมาณ 500 ลาน บาท เปนเงินเปลาแก SMEs ใหสูงสุดโครงการละ 1.5 ลานบาท คาดหวังวาใหเกิดการใชประโยชนจาก การวิจัยและพัฒนา (R&D) สําหรับ SMEs ที่เขารวมโครงการ ทั้งนี้ผูประกอบการ SMEs 1 รายจะขอรับ เงินสนับสนุนไดไมเกิน 2 โครงการ และแตละโครงการตองใชงบดานพัฒนานวัตกรรม 25% ของมูลคา โครงการ ซึ่งตองดําเนินการใหเสร็จภายใน 2 ป” (อางจาก นสพ. M2F หนาNews Update ฉบับวันที่ 15 ต.ค.2558: 9) การสนับสนุนดานวิจัยและพัฒนาเพื่อใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ เปนสิ่งนาสนับสนุนใหกับ ผูประกอบการ SMEs และในระยะยาวจะชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไดไมมากก็ นอย ขณะเดียวกันทําใหผูเขียนนึกถึงวาองคกรหรือธุรกิจตางๆ จะมีวิธีการพัฒนานวัตกรรมให เกิดขึ้นอยางรวดเร็วภายในองคกรไดอยางไร และทําอยางไรจึงจะใหมีนวัตกรรมเปนดีเอ็นเอขององคกรซึ่ง หากทําไดก็หมายถึง การเกิดนวัตกรรมขึ้นในองคกรไดอยางยั่งยืน  การดําเนินธุรกิจในระยะแรกๆ ของผูประกอบการ SMEs หรือเจาของกิจการอาจมี แนวคิดในการสรางผลิตภัณฑและบริการใหมๆ แตพอถึงจุดหนึ่งเมื่อธุรกิจเริ่มตนสามารถผลักดันและสราง ตลาดใหเติบโตขึ้นมาได ก็เริ่มจะมีนักธุรกิจหนาใหม สนใจสรางธุรกิจใหมในลักษณะเหมือนหรือคลายๆ กันเขามาแขงขันดวย ทําใหผูประกอบการธุรกิจ SMEs เดิมหรือผูคิดริเริ่มตองมีการปรับตัว และจะพบวา การดําเนินธุรกิจในชวงระยะเวลานี้เปนสิ่งที่ยากขึ้นกวาเดิม
  • 2. 2    จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558   เมื่อผูประกอบการ SMEs ตองการขยับธุรกิจใหกาวขึ้นไปเปนธุรกิจขนาดกลาง ขนาด ใหญและกาวไกลไปจนถึงกับเปนบริษัทขามชาติ พบวาไมใชเรื่องที่จะทําไดในชั่วขามคืนแตเปนสิ่งตองใช เวลาในการพัฒนา ใชคนเกงเชี่ยวชาญสูง พรอมกับเงินลงทุน โดยเฉพาะดานการวิจัยและพัฒนา คําถามจึงเกิดขึ้นมาวา ธุรกิจมีทางเรงที่รวดเร็วในการสรางนวัตกรรมไดไหม องคกรแหงจินตวิศวกรรม (Imagineering Corporation) ผูเขียนสนใจและชอบเรื่องราวของ “จินตนาการ (Imagination)” เพราะเปนการขยาย ขอบเขตความสามารถในการคิด การเกิดไอเดียไดอยางไมสิ้นสุด และโดยเฉพาะคําพูดของไอนสไตน ไดพูด ไววา “จินตนาการสําคัญกวาความรู (The Imagination is more important than Knowledge)” และมักมี การกลาวถึงกันอยูบอยๆ ชาติตะวันตกมีคําอยูคําหนึ่งวา “Blue Sky Cellar” อาจแปลงายๆ วา “หองใตหลังคา มองดูฟาสีน้ําเงิน” เพราะการอยูในที่สูงจะทําใหสามารถมองเห็นสิ่งตางๆ ไดรอบตัว เมื่อเห็นดังนั้นจะทําให คิดอะไรใหมๆ ได หลังจากนั้นจะเดินลงไปยังโรงรถหรือหองเก็บของ ซึ่งมีอุปกรณตางๆ อยูอยางครบถวน ชวยในการประดิษฐคิดคนพัฒนาตามความคิดซึ่งเกิดมาจากหองใตหลังคาบาน อยางเชน Arthur Davidson สรางจักรยานที่ติดเครื่องยนตสําเร็จจากโรงไมเล็กๆ หลังจากนั้น และในป 1903 ไดกอตั้งบริษัท Harley-Davidson ขึ้นมา จินตวิศวกรรม จําไดวา ผูเขียนบุกเบิกคําวา จินตวิศวกร (Imagineer) และ จินตวิศวกรรม (Imagineering) หลังจากกลับมาจากการดูงานที่ ดีสนียแลนด แคลอฟอรเนีย (ป 2548) เปนความประทับใจมาก ตอนที่ได เลนเครื่องเลนตาง ๆ ในสวนสนุกระดับแหงนี้ พรอมกับไดรูวา บรรดาทีมงานที่คิดเครื่องเลนทั้งหมด เปน บุคคลที่มีชื่อตําแหนงวา จินตวิศวกร ในตอนนั้นคิดอยูนานจะใชคําภาษาไทยวาอะไรดีเพราะยังไมรูจักกันในเมืองไทย “จินตวิศวกร (Imagination + Engineering)” นาจะเปนคําภาษาไทยที่จะสื่อถึงคํานี้ไดตรงกับความหมายกับคํา ภาษาอังกฤษ
  • 3. 3    จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558      ฝรั่งจึงบอกวา ... สถานที่แหงแรกในการสรางสิ่งตางๆ หรือเปนที่แกไขของซึ่งเสียหาย แตกหัก .....หองเก็บของเปนที่เกิด “ไอเดียอุนๆ” กับ “ธุรกิจเล็กๆ “ เริ่มมาจากหองเหลานี่เอง (www.the-innovation-garage.com) Anthony (2012, The New Corporate Garage; http://www.hbr.org ฉบับ HBR September) สรุปวาธุรกิจที่ประสบความสําเร็จอันยิ่งใหญ มีผลิตภัณฑที่ปรับเปลี่ยนโลกเกิดมาจาก “ผูประกอบการผูหิวกระหาย“ ไดมองดูบุคคลเหลานี้แทน เชน Gateses Zuckerbergs Pages และ Brins การบุกเบิกจินตวิศวกร หลังจากผูเขียนพูดถึง จินตวิศวกร และเริ่มัฒนาเรื่องนวัตกรรมในองคกร จนกระทั่ง 5 ป (ป 2552-2556) ที่ผานมา ธุรกิจเริ่มคึกคักสนใจและสอบถามมายังผูเขียน และขอความเห็นเกี่ยวกับ “จินตวิศวกร (Imagineer)” วาเปนอยางไร เมื่อผูเขียนพัฒนาหลักสูตร คิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรม (InnoCreativity) เพื่อสอนและบรรยายใหกังองคกรตางๆ ในการพัฒนานวัตกรรม จัดการนวัตกรรม (Innovation Management) ปจจุบันไดพัฒนาโมเดลนวัตกรรมในองคืกรขึ้นเพื่อใหสามารถนําไปใชได อยางกวางขวาง พรอมกับการเขียนบล็อกเกี่ยวกับ “The Imagineering Corporate”   จินตวิศวกรรม = จินตนาการ + วิศวกรรม  (Imagineering) = (Imagination) + (Engineering)  “เราเรียกสิ่งนี้วา จินตวิศวกรรม (Imagineering) –การรวมเขามา  ของความคิดสรางสรรค จินตนาการและโนวฮาวทางเทคนิค”    Walt Disney
  • 4. 4    จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  (http://www.thaiimagineer.blogspot.com) ทานที่สนใจสามารถเขาไปศึกษาและคนหาที่ไปที่มาได ครับ กลับมาที่ จินตวิศวกรรมของวอลท ดีสนีย ไดพูดถึง “โนวฮาวดานเทคนิค” ที่ใชในการ สรางธีมปารค ซึ่งดึงดูดใหคนมาเที่ยวสวยสนุกดีสนีย มีหลักการและการปฏิบัติของจินตวิศวกรรม สามารถประยุกตใชดานอื่นๆ ในการคิดสรางสรรคไดดังนี้   การตลาด/การโฆษณา  การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ  การออกแบบเกมส  การพัฒนาสารสนเทศ  การเขียนดานเทคนิค  สถาปตยและการออกแบบสารสนเทศ  การออกแบบการเรียนการสอน บริษัทยักษใหญไดสราง นวัตกรรมในองคกรใหเปนความไดเปรียบในการแขงขัน เชน เมดโทรนิค(Medtronic) ยูนิลีเวอร (Unilever) ซินเจนทา (Syngenta) และ IBM มีขอไดเปรียบซึ่งบริษัทเริ่ม กิจการใหม หรือ สตารอัพยากที่จะทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบไดในสิ่งตอไปนี้  1) โครงสรางพื้นฐานระดับโลก  ในขณะที่การใหบริการอินเทอรเน็ตเปนการงายตอการจัดจําหนายสินคาทั่วไปและ บริการแบบตัว ตอตัว ( เผชิญหนาพูดคุย) จําเปนตองมีโครงสรางพื้นฐาน (โดยเฉพาะอยางยิ่ง " การสงสินคาถึงหนาบาน" ดวยชอง ทางการจัดจําหนาย) บริษัทขนาดใหญลงหลักปกฐานะที่มั่นเหลานี้ และขยายการจัดจําหนายไดอยางรวดเร็ว   2) ความมีชื่อเสียงของแบรนดที่แข็งแกรง คนเฝาดูประตู (ชองทาง) ระหวางความคิดและผูใชบริการ เชนกรณีเมดโทรนิค ตัวแทนจัดซื้อของ โรงพยาบาลรัฐบาล และหนวยงานกํากับดูแล อิทธิพลของแพทย มักจะมีรูสึกลังเลที่เกี่ยวกับเสนอผลิตภัณฑและบริการ จาก บริษัท ใหมๆ ดังนั้นแบรนดที่แข็งแกรงจะชวยให บริษัทขนาดใหญแลนผานเขาสูประตู (ชองทาง) นี้ได      
  • 5. 5    จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  3) ความสัมพันธของหุนสวน บริษัทขนาดใหญ สามารถไดรับการสนับสนุนจากหุนสวนที่ดีที่สุดในผลิตภัณฑนั้น ๆ เพื่อ การสนับสนุนไอเดียของบริษัท 4) ความรูทางดานวิทยาศาสตร การทุมเทของทีมงานผูเชี่ยวชาญภายในบริษัทได สรางความรูยากที่จะทําซ้ําขึ้นมาได และมักจะไดรับการคุมครองโดยการจดสิทธิบัตร 5) ประสบการณผานผูควบคุมกฎกติกา การแทรกแซงที่เพิ่มขึ้นของรัฐบาล ในตลาดปจจุบันทําใหธุรกิจหนาใหมมีอุปสรรคในการ สตารอัพ และการติดตอกับเจาหนาของทางการที่ในหลายพื้นที่ 6) กระบวนการที่เปนเลิศ ขณะที่การดําเนินงานของบริษัทหนาใหมเติบโตมากขึ้น พวกสตารอัพเหลานี้ ทํานายถึง ความรุนแรงของความรวดเร็วในการแขงขันธุรกิจไมไดจึงก็ถูกการโถมกระหน่ําเขาหา แตบริษัท ขนาดใหญ สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งเหลานี้ได ตัวเรงปฏิกิริยาในองคกร(Corporate Catalysts) IBM เปนองคกรที่ผาน ยุคตาง ๆ ของนวัตกรรมมา โดยยุคที่ หนึ่ง เปนยุคของ นวัตกรผู โดเดี่ยว (คิดคนอยูคนเดียว) ยุคที่สอง หองแลบในองคกร (การจัดตั้งหองแลบในบริษัทเพื่อคิดคนสิ่งใหมๆ) ยุคที่สาม เวนเจอรแค็ปปตอล (VC) (ผูรวมลงทุนเขามาสนับสนุนพวกสตารอัพ) ยุคที่สี่ ตัวเรงปฏิกิริยาใน องคกร เปนนักนวัตกรรม ที่มีอยูแลวแตขยับบทบาทมาเปนผูดําเนินการดานนวัตกรรม มีการจัดทําแบบ ดั้งเดิมและสรางแนวทางใหม ( Anthony, 2012 : 53 ) ดังตอไปนี้ 1) รวมทุนในกิจการที่เปนผูสงเสริมสนับสนุน ของยุคที่สาม ซึ่งจะตองพิจารณาวาโมเดล อาจมีการเปลี่ยนแปลง ถาพวกเขาจะเขาไปเกี่ยวของ 2) นักนวัตกรรมหนุม ตั้งในปรับปรุงผลิตภัณฑใหโลกไดยอมรับในงานของเขาเพื่อ ปองกันไมให บริษัทขนาดใหญ"ขายของไมไดออก" – สามารถเพิ่มผลกระทบใหบริษัทของพวกเขา
  • 6. 6    จินตวิศวองคกร :The New Corporate Garage                                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2558  3) ผูนําองคกร ตองตรวจสอบเชิงวิพากษ เกี่ยวกับระดับสภาพแวดลอมของบริษัท อัน จะทําให 'มีลักษณะแบบบริการในการทํางานของตัวเรงปฏิกิริยา” 4) พนักงานที่ไดพบกับสภาพแวดลอมซึ่งที่ไมเอื้ออํานวยใหมีนวัตกรรมควรพิจารณาวา บริษัทอื่นทําอยางไรในการเติ่มพลังหรือ เชื้อไฟใหเกิดขึ้นในตัวเรงปฏิกิริยา 5) ตัวเรงปฏิกิริยาที่ไดเริ่มตนขึ้นเปนเพียงความพยายามของพวกเขา และงานของพวกเขา ไมใชสิ่งที่จะทําไดงายๆ ถามพวกเขาวาตองการคําแนะนํา ยูริเชนแหงยูนิลีเวอรใหคําแนะนําวา ตองมี จุดประสงคและความมุงมั่น "มันเปนเรื่องการตอสูในชีวิตประจําวัน" และ "ถาทานคุณไมเชื่อในโครงการ อุปสรรคก็จะมีเกิดขึ้นเปนอยางมาก." นวัตกรรมจากหองเก็บของหรือโรงรถ เปนรูปแบบหนึ่งของลักษณะ “จินตวิศวองคกร” ครับ