SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ 
          ดร.ดนัย เทียนพุฒ 
นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจอิสระ  
        
พอดีชวง 1-2 เดือนที่ผานมาไดมีโอกาสมาทบทวนกระบวนการจัดทํากลยุทธ (Strategy 
Formulation Process) ใหกับธุรกิจตาง ๆ ดวยเหตุผลดังนี้ 
 ปจจุบันนักธุรกิจและนักกลยุทธกําลังมองกลยุทธในความหมายของ “กลยุทธเปนการ
เลือก” คือการเลือกสนามการแขงขันใดจึงชนะ 
 ตลอด 9 เดือน ในปนี้ถือวาผูเขียนไปบรรยายเกี่ยวกับ การวางแผนกลยุทธ (Strategic 
Planning) ใหกับธุรกิจและองคกรหลายๆ หนวยงาน ซึ่งไดเสนอใหนําวิธีการใหมๆ เขามาใช (แมวา
ตางประเทศจะมีใชกันมานานแลว) เชน 2x2 เมทริกซทัศนภาพ (Scenario 2x2 Matrix) การใชโมเดล
ธุรกิจ (Business Model) และกลยุทธนวัตกรรมฝาทะลวง (Disruptive Innovation Strategy: DI 
Strategy) 
 ในยามที่เศรษฐกิจตกต่ํา ชะลอตัวหรือกําลังฟนตัว การเลือกและหยิบใชกลยุทธจะ
เหมือนกับยามเศรษฐกิจปกติไหม 
มาจัดทํากลยุทธกันเถอะ 
จําไดวาตอนเริ่มทํากลยุทธใหม ๆ ไดถูกแนะนําให “คิดเชิงกลยุทธ (Strategic 
Thinking)” โดยเฉพาะเรื่องวิสัยทัศน ภารกิจและกลยุทธ เปนเรื่องหลักสําหรับการจัดการเชิงกลยุทธ
(Strategic Management) 
พอปจจุบันผูเขียนเนนหลักในการบรรยายใหกับธุรกิจเรื่อง การวิเคราะหทัศนภาพ
(Scenario Analysis) การใชโมเดลธุรกิจ และกลยุทธนวัตกรรมฝาทะลวง จนเมื่อผูเขียนไดทําการ
สังเคราะหกระบวนการจัดทํากลยุทธขึ้นใหมพรอมกับนําบทเรียนจากธุรกิจมาปรับกระบวนการใหมีความ
เหมาะสมมากขึ้น เกิดเปน “4 ขั้นตอนในกระบวนการจัดทํากลยุทธ” ดังรูปที่ 1 โดยสัมพันธกับการตอบ
คําถามและการเรียนรูดังตอไปนี้ 
 
 
 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
 
รูปที่ 1: 4 ขั้นตอนในกระบวนการจัดทํากลยุทธ (Strategy Formulation Process)
 
    คําถามแรก เราอยูที่ตรงไหน? เปนการวิเคราะหบอกถึงตําแหนง (Position) และสิ่ง
บันดาลใจ (Aspiration) ในการแขงขันและทําไมเราจึงอยูในอุตสาหกรรม (หรือจุดประสงคของกิจการ) 
คําถามที่สอง ที่ไหน/สนามไหนที่จะชนะ? การตอบคําถามนี้ทําใหเรารูวา ธุรกิจหรือ
องคกรเลือกพื้นที่กลยุทธ (Strategic Areas) ใดในการเขาไปแขงขัน และอะไรคือ หัวใจของกลยุทธ
(Strategic Heartbeat) นี่คือ เรื่องที่ผูบริหารระดับสูงตองเขาใจถึงแรงขับทางกลยุทธธุรกิจ 
คําถามที่สาม เราจะชนะไดอยางไร? เมื่อธุรกิจเลือกสนามการแขงขัน จัดวางกลยุทธได
อยางสอดคลองกับสภาพภูมิทัศนของธุรกิจ จึงแปลกลยุทธองคกร (Corporate Strategy) ไปสูกลยุทธ
ธุรกิจ กลยุทธฝายงานตลอดจนแผนปฏิบัติการ/แผนงาน/โครงการ พรอมดัชนีวัดความสําเร็จ (KPIs) 
    คําถามสุดทาย อาจไมเปนคําถามแตคือ “ความจริงและบทเรียน” เปนการทบทวนผล
การดําเนินการตามกลยุทธและธุรกิจเกิดการเรียนรูอะไรอันเปนบทเรียนสําคัญ (Lessons Learned) 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
การตอบคําถามทั้งหมดนี้อยางดีพอก็สามารถดําเนินการตาม 4 ขั้นตอนกระบวนการ
จัดทํากลยุทธไดดังนี้ 
ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนกลยุทธ (Strategy Review) 
การเริ่มตนกลยุทธในลักษณะนี้เปนการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก (External 
Environment Analysis) โดยการวิเคราะห VUCA World (VUCA World Analysis) หรือ VUCA 
Analysis (V‐Volatility ความรุนแรงของสภาพแวดลอมภายนอกธุรกิจ U‐Uncertainty ความไมแนนอน
เชน เทคโนโลยี สังคมออนไลน พฤติกรรมผูบริโภค C‐Complexity ความสลับซับซอนทั้งสังคม-การเมือง-
วัฒนธรรมและ A‐Ambiguity ความกํากวมภายในองคกร เชน ระบบและความสลับซับซอนของงาน
คนทํางานซึ่งมีหลายรูปแบบในธุรกิจเดียวกัน) 
    การวิเคราะหทัศนภาพ (Scenario Analysis) โดยนําผลไดจากการวิเคราะห VUCA หรือ
อาจวิเคราะห PESTN (P‐การเมือง E‐เศรษฐกิจ S‐สังคม  T‐เทคโนโลยี N‐ทรัพยากรธรรมชาติ) มาจัด
อันดับแนวโนมของสิ่งที่เกิดขึ้นแนนอนและไมแนนอน ซึ่งมีผลกระทบตอธุรกิจเพื่อจัดทํา 2x2 เมทริกซ
ทัศนภาพ (Scenario 2x2 Matrix) 
 
รูปที่ 2 2x2 เมทริกซทัศนภาพ
 
 
 
*ปรับจาก ดนัย เทียนพุฒ (2550). คัมภีรการจัดการกลยุทธแนวใหม หนา 15 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
 
การสังเคราะหปจจัยอุตสาหกรรมและการแขงขัน เปนการวิเคราะหตามโมเดลแรงขับ 5
ประการ (Five Forces Model) ของพอรเตอร 
และสุดทายการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน (Internal Environment Analysis) ซึ่ง
เปนการวิเคราะหบริษัท (Company Analysis) นั้นเอง ปกตินิยมใช 7’s McKinsey ประกอบดวยกลยุทธ
(Strategy) โครงสราง (Structure) ระบบ (Systems) คุณคารวม (Shared Values) สไตล (Style)
พนักงาน (Staff) และทักษะ (Skills) 
    ทั้งหมดนี้จึงสรุปภาพรวมเปนจุดแข็ง-จุดออน-โอกาสและอุปสรรค 
ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนากลยุทธ (Strategy Development) 
    สําหรับการพัฒากลยุทธเมื่อผานขั้นตอนที่ 1 มาอาจตองปรับหรือพัฒนาวิสัยทัศน ภารกิจ
คุณคาและเปาหมาย ซึ่งในการพัฒนากลยุทธ สามารถ “กลยุทธทั่วไปของพอรเตอร” เชน กลยุทธตนทุนต่ํา
ความแตกตางหรือจุดมุง (Focus) 
แตไมวาจะเปนการพัฒนากลยุทธแบบใด ควรวิเคราะหกลยุทธดวยโมเดลธุรกิจ
(Business Model) ใน 9 ดานคือ (1) การเสนอคุณคาใหลูกคา (2) กลุมลูกคาเปาหมาย (3) ชองทาง
จําหนาย (4) ความสัมพันธกับลูกคา (5) กิจกรรมหลัก (6) ทรัพยากรหลัก (7) พันธมิตรหลัก (8) สาย
ธารรายได และ (9) โครงสรางตนทุน ดังรูปที่ 3 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
รูปที่ 3 โมเดลธุรกิจ
 
ลุดทายการจัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) ซึ่งประกอบดวยกลยุทธดานการเงิน (F) 
กลยุทธดานลูกคา (C) กลยุทธดานกระบวนการภายใน (I) กับกลยุทธดานพัฒนาและนวัตกรรม (L) และ
ดัชนีวัดความสําเร็จ (KPIs) ดังรูปที่ 4 
 
 
 
 
 
 
 
 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
รูปที่ 4 Strategy Maps & KPIs 
 
 
                                                    
 
    ขั้นตอนที่ 3 การนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ (Strategy Implementation) 
ในขั้นตอนนี้เปนการใช BSC (Balanced Scorecard) ในการกระจายกลยุทธองคกร
(Corporate Strategy) จากแผนที่กลยุทธไปสกลยุทธธุรกิจ (Business Strategy) กลยุทธฝายงาน
(Functional Strategy) จนไดแผนงาน/โครงการ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559 
รูปที่ 5 การแผนกลยุทธดวย BSC & KPIs 
 
กลยุทธ_________การเงิน (F)______________ โครงการ ___________1____________ 
ผูรับผิดชอบ_______นาย ก.____________________________________________________ 
 
ขั้นตอนที่ 4 ผลลัพธเชิงกลยุทธ (Strategy Results) 
    เปนการประเมินผลหรือการวัดความสําเร็จของกลยุทธตามดัชนีวัดความสําเร็จและ
บทเรียนที่ไดเรียนรู (Lessons Learned) ที่ไดดําเนินกลยุทธมา มีอะไรที่ไมเปนไปตามแผนกลยุทธ ตอง
แกไขอยางไร หรือ คูแขงมีการตอบโตจากกลยุทธที่ธุรกิจใช ธุรกิจแกเกมและกลับมามีชัยชนะหรือไม
ผูเขียนเรียกสิ่งเหลานี้วา “ความจริงและบทเรียน” 
ทั้งหมดนี้คือ 4 ขั้นตอนในกระบวนการจัดทํากลยุทธ ซึ่งลงตัวมากที่สุดครับ 
 

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
purithem
 

Destaque (14)

1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
BDC412 diamondgrains
BDC412 diamondgrainsBDC412 diamondgrains
BDC412 diamondgrains
 
Human Project Uniqlo
Human Project UniqloHuman Project Uniqlo
Human Project Uniqlo
 
Picto แกะรอยโมเดลธุรกิจ
Picto   แกะรอยโมเดลธุรกิจPicto   แกะรอยโมเดลธุรกิจ
Picto แกะรอยโมเดลธุรกิจ
 
บทที่ 6 ข้อเสนอคุณค่าคืออะไร/ Chapter 6 What is value proposition?
บทที่ 6 ข้อเสนอคุณค่าคืออะไร/ Chapter 6 What is value proposition?บทที่ 6 ข้อเสนอคุณค่าคืออะไร/ Chapter 6 What is value proposition?
บทที่ 6 ข้อเสนอคุณค่าคืออะไร/ Chapter 6 What is value proposition?
 
Overview of business model canvas tools
Overview of business model canvas toolsOverview of business model canvas tools
Overview of business model canvas tools
 
Introduction to E-Commerce - Business Model Canvas
Introduction to E-Commerce - Business Model CanvasIntroduction to E-Commerce - Business Model Canvas
Introduction to E-Commerce - Business Model Canvas
 
Oishi
OishiOishi
Oishi
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
 
Canvas examples
Canvas examplesCanvas examples
Canvas examples
 
Business Model Canvas Poster V.1.0
Business Model Canvas Poster V.1.0Business Model Canvas Poster V.1.0
Business Model Canvas Poster V.1.0
 
Business model canvas sw lisbon14
Business model canvas   sw lisbon14 Business model canvas   sw lisbon14
Business model canvas sw lisbon14
 
Business Model Canvas 101
Business Model Canvas 101Business Model Canvas 101
Business Model Canvas 101
 

Semelhante a บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
Punyapon Tepprasit
 
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
maruay songtanin
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
DrDanai Thienphut
 

Semelhante a บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ (20)

Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
ยกเครื่ององค์กรปรับทิศทางธุรกิจใหม่
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdfchapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
chapter 2 กระบวนการในการจัดการกลยุทธ์.pdf
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
Unicharm (Thailand)
Unicharm (Thailand) Unicharm (Thailand)
Unicharm (Thailand)
 
Uni-Charm
Uni-CharmUni-Charm
Uni-Charm
 
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
รูปแบบการจัดการกลยุทธแนวใหม่
 
Scenario Thinking
Scenario ThinkingScenario Thinking
Scenario Thinking
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร Peter Drucker
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 

Mais de DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 

บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ

  • 1. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559  ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ            ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาธุรกิจอิสระ            พอดีชวง 1-2 เดือนที่ผานมาไดมีโอกาสมาทบทวนกระบวนการจัดทํากลยุทธ (Strategy  Formulation Process) ใหกับธุรกิจตาง ๆ ดวยเหตุผลดังนี้   ปจจุบันนักธุรกิจและนักกลยุทธกําลังมองกลยุทธในความหมายของ “กลยุทธเปนการ เลือก” คือการเลือกสนามการแขงขันใดจึงชนะ   ตลอด 9 เดือน ในปนี้ถือวาผูเขียนไปบรรยายเกี่ยวกับ การวางแผนกลยุทธ (Strategic  Planning) ใหกับธุรกิจและองคกรหลายๆ หนวยงาน ซึ่งไดเสนอใหนําวิธีการใหมๆ เขามาใช (แมวา ตางประเทศจะมีใชกันมานานแลว) เชน 2x2 เมทริกซทัศนภาพ (Scenario 2x2 Matrix) การใชโมเดล ธุรกิจ (Business Model) และกลยุทธนวัตกรรมฝาทะลวง (Disruptive Innovation Strategy: DI  Strategy)   ในยามที่เศรษฐกิจตกต่ํา ชะลอตัวหรือกําลังฟนตัว การเลือกและหยิบใชกลยุทธจะ เหมือนกับยามเศรษฐกิจปกติไหม  มาจัดทํากลยุทธกันเถอะ  จําไดวาตอนเริ่มทํากลยุทธใหม ๆ ไดถูกแนะนําให “คิดเชิงกลยุทธ (Strategic  Thinking)” โดยเฉพาะเรื่องวิสัยทัศน ภารกิจและกลยุทธ เปนเรื่องหลักสําหรับการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management)  พอปจจุบันผูเขียนเนนหลักในการบรรยายใหกับธุรกิจเรื่อง การวิเคราะหทัศนภาพ (Scenario Analysis) การใชโมเดลธุรกิจ และกลยุทธนวัตกรรมฝาทะลวง จนเมื่อผูเขียนไดทําการ สังเคราะหกระบวนการจัดทํากลยุทธขึ้นใหมพรอมกับนําบทเรียนจากธุรกิจมาปรับกระบวนการใหมีความ เหมาะสมมากขึ้น เกิดเปน “4 ขั้นตอนในกระบวนการจัดทํากลยุทธ” ดังรูปที่ 1 โดยสัมพันธกับการตอบ คําถามและการเรียนรูดังตอไปนี้       
  • 2. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559    รูปที่ 1: 4 ขั้นตอนในกระบวนการจัดทํากลยุทธ (Strategy Formulation Process)       คําถามแรก เราอยูที่ตรงไหน? เปนการวิเคราะหบอกถึงตําแหนง (Position) และสิ่ง บันดาลใจ (Aspiration) ในการแขงขันและทําไมเราจึงอยูในอุตสาหกรรม (หรือจุดประสงคของกิจการ)  คําถามที่สอง ที่ไหน/สนามไหนที่จะชนะ? การตอบคําถามนี้ทําใหเรารูวา ธุรกิจหรือ องคกรเลือกพื้นที่กลยุทธ (Strategic Areas) ใดในการเขาไปแขงขัน และอะไรคือ หัวใจของกลยุทธ (Strategic Heartbeat) นี่คือ เรื่องที่ผูบริหารระดับสูงตองเขาใจถึงแรงขับทางกลยุทธธุรกิจ  คําถามที่สาม เราจะชนะไดอยางไร? เมื่อธุรกิจเลือกสนามการแขงขัน จัดวางกลยุทธได อยางสอดคลองกับสภาพภูมิทัศนของธุรกิจ จึงแปลกลยุทธองคกร (Corporate Strategy) ไปสูกลยุทธ ธุรกิจ กลยุทธฝายงานตลอดจนแผนปฏิบัติการ/แผนงาน/โครงการ พรอมดัชนีวัดความสําเร็จ (KPIs)      คําถามสุดทาย อาจไมเปนคําถามแตคือ “ความจริงและบทเรียน” เปนการทบทวนผล การดําเนินการตามกลยุทธและธุรกิจเกิดการเรียนรูอะไรอันเปนบทเรียนสําคัญ (Lessons Learned) 
  • 3. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559  การตอบคําถามทั้งหมดนี้อยางดีพอก็สามารถดําเนินการตาม 4 ขั้นตอนกระบวนการ จัดทํากลยุทธไดดังนี้  ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนกลยุทธ (Strategy Review)  การเริ่มตนกลยุทธในลักษณะนี้เปนการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก (External  Environment Analysis) โดยการวิเคราะห VUCA World (VUCA World Analysis) หรือ VUCA  Analysis (V‐Volatility ความรุนแรงของสภาพแวดลอมภายนอกธุรกิจ U‐Uncertainty ความไมแนนอน เชน เทคโนโลยี สังคมออนไลน พฤติกรรมผูบริโภค C‐Complexity ความสลับซับซอนทั้งสังคม-การเมือง- วัฒนธรรมและ A‐Ambiguity ความกํากวมภายในองคกร เชน ระบบและความสลับซับซอนของงาน คนทํางานซึ่งมีหลายรูปแบบในธุรกิจเดียวกัน)      การวิเคราะหทัศนภาพ (Scenario Analysis) โดยนําผลไดจากการวิเคราะห VUCA หรือ อาจวิเคราะห PESTN (P‐การเมือง E‐เศรษฐกิจ S‐สังคม  T‐เทคโนโลยี N‐ทรัพยากรธรรมชาติ) มาจัด อันดับแนวโนมของสิ่งที่เกิดขึ้นแนนอนและไมแนนอน ซึ่งมีผลกระทบตอธุรกิจเพื่อจัดทํา 2x2 เมทริกซ ทัศนภาพ (Scenario 2x2 Matrix)    รูปที่ 2 2x2 เมทริกซทัศนภาพ       *ปรับจาก ดนัย เทียนพุฒ (2550). คัมภีรการจัดการกลยุทธแนวใหม หนา 15 
  • 4. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559    การสังเคราะหปจจัยอุตสาหกรรมและการแขงขัน เปนการวิเคราะหตามโมเดลแรงขับ 5 ประการ (Five Forces Model) ของพอรเตอร  และสุดทายการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน (Internal Environment Analysis) ซึ่ง เปนการวิเคราะหบริษัท (Company Analysis) นั้นเอง ปกตินิยมใช 7’s McKinsey ประกอบดวยกลยุทธ (Strategy) โครงสราง (Structure) ระบบ (Systems) คุณคารวม (Shared Values) สไตล (Style) พนักงาน (Staff) และทักษะ (Skills)      ทั้งหมดนี้จึงสรุปภาพรวมเปนจุดแข็ง-จุดออน-โอกาสและอุปสรรค  ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนากลยุทธ (Strategy Development)      สําหรับการพัฒากลยุทธเมื่อผานขั้นตอนที่ 1 มาอาจตองปรับหรือพัฒนาวิสัยทัศน ภารกิจ คุณคาและเปาหมาย ซึ่งในการพัฒนากลยุทธ สามารถ “กลยุทธทั่วไปของพอรเตอร” เชน กลยุทธตนทุนต่ํา ความแตกตางหรือจุดมุง (Focus)  แตไมวาจะเปนการพัฒนากลยุทธแบบใด ควรวิเคราะหกลยุทธดวยโมเดลธุรกิจ (Business Model) ใน 9 ดานคือ (1) การเสนอคุณคาใหลูกคา (2) กลุมลูกคาเปาหมาย (3) ชองทาง จําหนาย (4) ความสัมพันธกับลูกคา (5) กิจกรรมหลัก (6) ทรัพยากรหลัก (7) พันธมิตรหลัก (8) สาย ธารรายได และ (9) โครงสรางตนทุน ดังรูปที่ 3                                 
  • 5. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559  รูปที่ 3 โมเดลธุรกิจ   ลุดทายการจัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) ซึ่งประกอบดวยกลยุทธดานการเงิน (F)  กลยุทธดานลูกคา (C) กลยุทธดานกระบวนการภายใน (I) กับกลยุทธดานพัฒนาและนวัตกรรม (L) และ ดัชนีวัดความสําเร็จ (KPIs) ดังรูปที่ 4                 
  • 6. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559  รูปที่ 4 Strategy Maps & KPIs                                                                 ขั้นตอนที่ 3 การนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ (Strategy Implementation)  ในขั้นตอนนี้เปนการใช BSC (Balanced Scorecard) ในการกระจายกลยุทธองคกร (Corporate Strategy) จากแผนที่กลยุทธไปสกลยุทธธุรกิจ (Business Strategy) กลยุทธฝายงาน (Functional Strategy) จนไดแผนงาน/โครงการ                   
  • 7. ความทาทายใหมในการจัดทํากลยุทธ ดร.ดนัย เทียนพุฒ: สงวนลิขสิทธิ์ 2559  รูปที่ 5 การแผนกลยุทธดวย BSC & KPIs    กลยุทธ_________การเงิน (F)______________ โครงการ ___________1____________  ผูรับผิดชอบ_______นาย ก.____________________________________________________    ขั้นตอนที่ 4 ผลลัพธเชิงกลยุทธ (Strategy Results)      เปนการประเมินผลหรือการวัดความสําเร็จของกลยุทธตามดัชนีวัดความสําเร็จและ บทเรียนที่ไดเรียนรู (Lessons Learned) ที่ไดดําเนินกลยุทธมา มีอะไรที่ไมเปนไปตามแผนกลยุทธ ตอง แกไขอยางไร หรือ คูแขงมีการตอบโตจากกลยุทธที่ธุรกิจใช ธุรกิจแกเกมและกลับมามีชัยชนะหรือไม ผูเขียนเรียกสิ่งเหลานี้วา “ความจริงและบทเรียน”  ทั้งหมดนี้คือ 4 ขั้นตอนในกระบวนการจัดทํากลยุทธ ซึ่งลงตัวมากที่สุดครับ