SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ 
นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ  
                                                                                         นักวิจัย ม.ราชภัฏสวนดุสิต
ยามที่เศรษฐกิจดี คงไมมีใครสนใจกันมากเทาไหรนักวา “กลยุทธการเติบโต (Growth 
Strategy)” นั้นจะมีการจัดทํามาไดอยางรอบคอบดีเพียงใด เพราะวา 
 ธุรกิจโดยรวมยังเติบโตไปพรอมกับเศรษฐกิจระดับประเทศ ภูมิภาคหรือระดับโลก
ที่เติบโต 
 ธุรกิจหรือนักกลยุทธโดยเฉพาะนักการตลาดสมัยใหม ดวยความที่เปนผูติดตาม
ความเคลื่อนไหวของธุรกิจและตลาดอยางตอเนื่อง นิยมเทคนิคหนึ่งในการวิเคราะหเราเรียก “Analogy 
Analysis” การวิเคราะหเปรียบเทียบแลวปรับมาเปนกลยุทธของบริษัทหรือธุรกิจจนประสบความสําเร็จ
กับอีกลักษณะหากธุรกิจดังกลาวไมใชผูนําตลาด ก็ใชวิธีการติดตามกลยุทธของผูนําตลาดแลวนํามาใช
เพราะไมมีความเสี่ยง (หากผูนําตลาดไมประสบความสําเร็จธุรกิจดังกลาวก็ไมนํามาใช) 
นักกลยุทธจึงเรียก กลยุทธลักษณะนี้วา “กลยุทธตามแห-กลยุทธเอาดวย (Me‐Too 
Strategy)”  
 กลยุทธในชวงเศรษฐกิจเติบโต 
ความจริง “กลยุทธ (Strategy)”เปนแนวคิดในการจัดเชิงการกลยุทธที่ชัดเจนขึ้นใน
ราวป 1965 เมื่อ Igor Ansoff พิมพหนังสือ “กลยุทธธุรกิจ (Corporate Strategy)” ทําใหโลก
กลยุทธมีการเปลี่ยนแปลงไดพูดถึง การคิดใหม (New Thinking) และการจัดทํากลยุทธ การนํากล
ยุทธไปปฏิบัติในการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management)  ทันใดนั้นเอง กลยุทธธูรกิจ
จึงกลายเปนสิ่งที่ตองการของทุกธุรกิจไมวาใหญหรือเล็ก 
Ansoff บอกไววา กลยุทธเปนกฎสําหรับการตัดสินใจ (A Strategy was a 
rule for making decisions) กระบวนการที่ Ansolf เสนอไวประกอบดวย 
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
 ขอความภารกิจและวัตถุประสงค (Mission Statement and 
Objectives) บรรยายถึง วิสัยทัศน ภารกิจและคุณคาของบริษัท รวมถึงการนิยามถึงการวัด
วัตถุประสงคเชิงกลยุทธและการเงิน 
 การสแกน(ตรวจ)สภาพแวดลอม (Environmental scanning) เปนการ
รวบรวมการวิเคราะหสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกของบริษัทในอุตสาหกรรมและสภาพแวดลอมที่
ครอบคลุม (ตย.ในปจจุบันเชน การแขงขันตาม 5 แรงขับของพอรเตอร SWOT และการวิเคราะห
PEST เปนตน) 
 การกําหนดกลยุทธ (Strategy formulation) การสรางความไดเปรียบใน
การแขงขัน ความสามารถหลักของธุรกิจ การคิดขององคกร ทั้งเปนการมองจากภายในและภายนอก 
 การนํากลยุทธไปปฏิบัติ (Strategy implementation) ในเรื่องการสื่อสาร
กลยุทธ การจัดทรัพยากรและการจูงใจทีมเพื่อดําเนินกลยุทธ 
 การประเมินและควบคุม (Evaluation and Control)ประกอบดวย การวัด
การเปรียบเทียบและการปรับ 
และ Ansoff Growth Matrix เสนอวาเปนความพยายามของธุรกิจในการเติบโต
โดยขึ้นอยูกับผลิตภัณฑที่มีอยูกับผลิตภัณฑใหมในตลาดใหมและตลาดที่มีอยู ผลไดจากเมทริกซ
Ansoff product/market เปนชุดแนะนํากลยุทธการเติบโตซึ่งใชเพื่อกําหนดทิศทางกลยุทธของ
ธุรกิจ เชน การเจาะตลาด (Market Penetration) ความหลากหลาย/การแตกขยาย
(Diversification) การพัฒนาตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ ดังรูปที่ 1 
 
 
 
 
 
 
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
รูปที่ 1 Ansoff Growth Matrix 
 
*พัฒนามาจาก H. Igor Ansolf “ใน Moore, J.I. (2001). Writers and Strategy and Strategic Management. p.17
     
แมวาธุรกิจมีการวางแผนกลยุทธดวยการเติบโตในภาวะที่เศรษฐกิจดี แตมีงานวิจัย
สนับสนุนวาไทประสบความสําเร็จ (Cowan, J. 2013: “Does your planning ECHO 
Winnie the Pooh? Available: http://www.cowanglobal.com/tag/h‐
igor‐ansolf) อาทิ
 84% ของตัวอยางจาก 3543 บริษัทสับสนระหวาง ภารกิจกับวิสัยทัศน โดย 64%
คิดวาภารกิจและวิสัยทัศนเปนสิ่งเดียวกัน และ 91% ขาดความเขาใจอยางชัดเจนถึงวิสัยทัศน
(Forbes, 2009) 
 61% ของ CEO เชื่อวาโครงสรางที่ไมยืดหยุน ทําใหการดําเนินกลยุทธชะงัก และ
มี 82% ของบริษัทที่ออกแบบโครงสรางตามกลยุทธ (Forbes, 2009) 
 47% ของ CEO กลาววา กลยุทธเปนสิ่งบรรยายไดดีวาเปนการปฏิบัติที่ดีของ
อุตสาหกรรมและกําหนดการสงมอบการปฏิบัติการหรืออีกนัยหนึ่งเปนแคการเลนตาม (Mckinsey, 
2011) 
 87% ของบริษัทวางแผนกลยุทธโดยการใชขาวกรองซึ่งแบงปนมาจากคูแขง
(Mckinsey, 2011) 
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
 79% ของผูบริหารบริษัทไมเขาใจภาษาทางกลยุทธในการนําไปใช (Business 
Review, 2007) 
 
 กลยุทธยามเศรษฐกิจตกต่ํา 
เศรษฐกิจของประเทศไทยเขาสูภาวะตกต่ําหรือเติบโตในอัตราต่ําเพียงแค 1‐2% มา
ตั้งแตวิกฤตทางการเมือง แมวาจะมีการยุบสภาเพื่อจัดใหมีการเลือกตั้งใหมแตความไมชอบธรรมและ
ปญหาการทุจริตคอรัปชั่น ฯลฯ การไมมีทางออกของประเทศทําใหธุรกิจนอยใหญเริ่มเขาสูภาวะถดถอย
ตองชะลอการผลิต ขายสินคาไมได ผูบริโภคชะลอการใชจาย การสงออกลดลงและอาจเดินไปสูความ
หายนะทางเศรษฐกิจในไมชานัก
ถาจะวิเคราะหใหเห็น “วงจรอุบาทของการเติบโตที่ตกต่ํา (A Negative Loop in 
Low Growth period)”  ซึ่งปรับมาจากจาก Kim Seung‐Pyo (2013) มีสวนประกอบ
สําคัญคือ 1)การถดถอยของผลประกอบการ เชน การถดถอยในการเติบโตและความชะงักงันดานการเงิน
2) การถดถอยในสมรรถภาพ เชน ทรัพยากรไมเพียงพอสําหรับการเติบโตและความหลากหลายของ
ผลิตภัณฑมีต่ํา 3) ความถดถอยในการอยูรอด เชน ความเปนผูประกอบการที่ออนแอและแรงจูงใจใน
ตนเองนอยมาก ดังรูปที่ 2 
ดังนั้น “กลยุทธในยามเศรษฐกิจตกต่ํา” สําหรับการฟนฟูเศรษฐกิจมีอยู 3 ลักษณะคือ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
 
รูปที่ 2 วงจรอุบาทของการเติบโตที่ตกต่ํา 
 
 
ผูเขียนไดจําลองวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจไทยในชวงเวลาตกต่ําที่เกิดขึ้นจากวิกฤตทาง
การเมืองตั้งแตปลายป’56 จนถึงปจจุบัน มีสวนแรกคือ “ภาวะกลืนไมเขาคายไมออกของการบริหาร” กับ
สวนที่สอง “3 วิธีในการขับเคลื่อนความแข็งแกรง” ดังรูปที่ 3 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 
สวนแรก ภาวะกลืนไมเขาคลายไมออกของการบริหาร 
1) ลูกคาเปลี่ยนไลฟสไตล : ไลฟสไตลกําหนดวิธีจับจายใชสอย เมื่อเศรษฐกิจตกต่ํา
ลูกคาชะลอการซื้อหรือหาทางเลือกอื่น เชน การเลือกผอนที่ยาวนานขึ้น 
 
 
 
 
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
รูปที่ 3 กลยุทธการตอบสนองสําหรับชวงเวลาตกต่ํา
 
 
2) ความไมแนนอน เปนชวงเวลาที่ยาวนานมากขึ้น (ผลมาจากความไมสงบทาง
การเมือง) : สงผลตอธุรกิจ ขายสินคาไมได เริ่มขาดแคลนทรัพยากรเพราะทุกคนชะลอตัวหมด 
3) พนักงานไมมีจิตใจทํางาน สนใจวิกฤตทางการเมืองและไมไดสนใจพัฒนางาน
เทาที่ควร : องคกรมีขอจํากัดในดานการจูงใจคนทํางาน 
สวนที่สอง 3 วิธีการในการขับเคลื่อนความแข็งแกรง 
 จับสัญญาณ : คนหาโอกาสใหมทางธุรกิจ 
 สังเกตตลาด/ลูกคาอยางใกลชิด 
 นิยามลูกคาใหม เชน Non‐Tradition Customers 
 ปรับใชศาสตรเพื่อวิเคราะหลูกคา เชน เปลี่ยนจากการวิเคราะหดานประชากรไปสู
พฤติกรรมลูกคา
กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557
 
 โฟกัส : ปรับโมเดลธุรกิจใหม 
-ปรับใหมใหพอเหมาะ  
-ใหเงินกับความสําเร็จเล็กๆ 
-ปองกันเหตุการณทางลบที่คิดไมถึง
 เพิ่มพลัง : คนหาโอกาสใหมทางธุรกิจ 
-มีการยอมรับกลยุทธอยางเอกฉันท 
-ประเมิน/ใหคาตอบแทนอยางยุติธรรม 
-ปลูกฝงความภูมิใจในงาน 
            CEO หรือผูนําองคกร มีบทบาทในการติดตามเหตุการณอยางตอเนื่อง และสงเสริมตอ 3
วิธีการ
ทั้งหมดนี้นาจะพอทําใหธุรกิจมีวิธีการทางกลยุทธสําหรับรับมือกับชวงเวลาตกต่ําเชนนี้

Mais conteúdo relacionado

Destaque

eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)
Navik Numsiang
 
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยันChapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Akarawat Thanachitnawarat
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
Natepanna Yavirach
 
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟChapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Akarawat Thanachitnawarat
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Akarawat Thanachitnawarat
 
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อนChapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Akarawat Thanachitnawarat
 
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิปการวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
Akarawat Thanachitnawarat
 

Destaque (17)

eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)eMarketing - BrainAsset (20101216)
eMarketing - BrainAsset (20101216)
 
Anshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid modelAnshoff's Product market expansion grid model
Anshoff's Product market expansion grid model
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยันChapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
Chapter 5 เครื่องมือช่วยยืนยัน
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
Set+technical+update+besic
Set+technical+update+besicSet+technical+update+besic
Set+technical+update+besic
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟChapter 4 วัฎจักรของกราฟ
Chapter 4 วัฎจักรของกราฟ
 
Nestle Strategic Model
Nestle Strategic ModelNestle Strategic Model
Nestle Strategic Model
 
Ansoff's Product Market Expansion Grid
Ansoff's Product Market Expansion GridAnsoff's Product Market Expansion Grid
Ansoff's Product Market Expansion Grid
 
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
Chapter 6 โจมตีด้วยกลยุทธ์ 1 2-3-4
 
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อนChapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
Chapter 1 มองแนวโน้มให้ออกก่อน
 
Strategic Management in Nestle
Strategic Management in NestleStrategic Management in Nestle
Strategic Management in Nestle
 
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิปการวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
การวิเคราะห์ทางเทคนิค อ.นราธิป
 
Marketing Strategy of Nestle ppt
Marketing Strategy of Nestle pptMarketing Strategy of Nestle ppt
Marketing Strategy of Nestle ppt
 

Semelhante a กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ

เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
Ultraman Sure
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
ssuser711f08
 

Semelhante a กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ (10)

เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPSStartup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
Startup Thailand Magazine ISSUE 23 : AUGUST 2019 : LOCAL STARTUPS
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

Mais de DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

กลยุทธรับมือจากช่วงเติบโตไปสู่ช่วงเวลาตกต่ำ

  • 1. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557   กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา  ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ                                                                                            นักวิจัย ม.ราชภัฏสวนดุสิต ยามที่เศรษฐกิจดี คงไมมีใครสนใจกันมากเทาไหรนักวา “กลยุทธการเติบโต (Growth  Strategy)” นั้นจะมีการจัดทํามาไดอยางรอบคอบดีเพียงใด เพราะวา   ธุรกิจโดยรวมยังเติบโตไปพรอมกับเศรษฐกิจระดับประเทศ ภูมิภาคหรือระดับโลก ที่เติบโต   ธุรกิจหรือนักกลยุทธโดยเฉพาะนักการตลาดสมัยใหม ดวยความที่เปนผูติดตาม ความเคลื่อนไหวของธุรกิจและตลาดอยางตอเนื่อง นิยมเทคนิคหนึ่งในการวิเคราะหเราเรียก “Analogy  Analysis” การวิเคราะหเปรียบเทียบแลวปรับมาเปนกลยุทธของบริษัทหรือธุรกิจจนประสบความสําเร็จ กับอีกลักษณะหากธุรกิจดังกลาวไมใชผูนําตลาด ก็ใชวิธีการติดตามกลยุทธของผูนําตลาดแลวนํามาใช เพราะไมมีความเสี่ยง (หากผูนําตลาดไมประสบความสําเร็จธุรกิจดังกลาวก็ไมนํามาใช)  นักกลยุทธจึงเรียก กลยุทธลักษณะนี้วา “กลยุทธตามแห-กลยุทธเอาดวย (Me‐Too  Strategy)”    กลยุทธในชวงเศรษฐกิจเติบโต  ความจริง “กลยุทธ (Strategy)”เปนแนวคิดในการจัดเชิงการกลยุทธที่ชัดเจนขึ้นใน ราวป 1965 เมื่อ Igor Ansoff พิมพหนังสือ “กลยุทธธุรกิจ (Corporate Strategy)” ทําใหโลก กลยุทธมีการเปลี่ยนแปลงไดพูดถึง การคิดใหม (New Thinking) และการจัดทํากลยุทธ การนํากล ยุทธไปปฏิบัติในการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management)  ทันใดนั้นเอง กลยุทธธูรกิจ จึงกลายเปนสิ่งที่ตองการของทุกธุรกิจไมวาใหญหรือเล็ก  Ansoff บอกไววา กลยุทธเปนกฎสําหรับการตัดสินใจ (A Strategy was a  rule for making decisions) กระบวนการที่ Ansolf เสนอไวประกอบดวย 
  • 2. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557    ขอความภารกิจและวัตถุประสงค (Mission Statement and  Objectives) บรรยายถึง วิสัยทัศน ภารกิจและคุณคาของบริษัท รวมถึงการนิยามถึงการวัด วัตถุประสงคเชิงกลยุทธและการเงิน   การสแกน(ตรวจ)สภาพแวดลอม (Environmental scanning) เปนการ รวบรวมการวิเคราะหสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกของบริษัทในอุตสาหกรรมและสภาพแวดลอมที่ ครอบคลุม (ตย.ในปจจุบันเชน การแขงขันตาม 5 แรงขับของพอรเตอร SWOT และการวิเคราะห PEST เปนตน)   การกําหนดกลยุทธ (Strategy formulation) การสรางความไดเปรียบใน การแขงขัน ความสามารถหลักของธุรกิจ การคิดขององคกร ทั้งเปนการมองจากภายในและภายนอก   การนํากลยุทธไปปฏิบัติ (Strategy implementation) ในเรื่องการสื่อสาร กลยุทธ การจัดทรัพยากรและการจูงใจทีมเพื่อดําเนินกลยุทธ   การประเมินและควบคุม (Evaluation and Control)ประกอบดวย การวัด การเปรียบเทียบและการปรับ  และ Ansoff Growth Matrix เสนอวาเปนความพยายามของธุรกิจในการเติบโต โดยขึ้นอยูกับผลิตภัณฑที่มีอยูกับผลิตภัณฑใหมในตลาดใหมและตลาดที่มีอยู ผลไดจากเมทริกซ Ansoff product/market เปนชุดแนะนํากลยุทธการเติบโตซึ่งใชเพื่อกําหนดทิศทางกลยุทธของ ธุรกิจ เชน การเจาะตลาด (Market Penetration) ความหลากหลาย/การแตกขยาย (Diversification) การพัฒนาตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑ ดังรูปที่ 1             
  • 3. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557   รูปที่ 1 Ansoff Growth Matrix    *พัฒนามาจาก H. Igor Ansolf “ใน Moore, J.I. (2001). Writers and Strategy and Strategic Management. p.17       แมวาธุรกิจมีการวางแผนกลยุทธดวยการเติบโตในภาวะที่เศรษฐกิจดี แตมีงานวิจัย สนับสนุนวาไทประสบความสําเร็จ (Cowan, J. 2013: “Does your planning ECHO  Winnie the Pooh? Available: http://www.cowanglobal.com/tag/h‐ igor‐ansolf) อาทิ  84% ของตัวอยางจาก 3543 บริษัทสับสนระหวาง ภารกิจกับวิสัยทัศน โดย 64% คิดวาภารกิจและวิสัยทัศนเปนสิ่งเดียวกัน และ 91% ขาดความเขาใจอยางชัดเจนถึงวิสัยทัศน (Forbes, 2009)   61% ของ CEO เชื่อวาโครงสรางที่ไมยืดหยุน ทําใหการดําเนินกลยุทธชะงัก และ มี 82% ของบริษัทที่ออกแบบโครงสรางตามกลยุทธ (Forbes, 2009)   47% ของ CEO กลาววา กลยุทธเปนสิ่งบรรยายไดดีวาเปนการปฏิบัติที่ดีของ อุตสาหกรรมและกําหนดการสงมอบการปฏิบัติการหรืออีกนัยหนึ่งเปนแคการเลนตาม (Mckinsey,  2011)   87% ของบริษัทวางแผนกลยุทธโดยการใชขาวกรองซึ่งแบงปนมาจากคูแขง (Mckinsey, 2011) 
  • 4. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557    79% ของผูบริหารบริษัทไมเขาใจภาษาทางกลยุทธในการนําไปใช (Business  Review, 2007)     กลยุทธยามเศรษฐกิจตกต่ํา  เศรษฐกิจของประเทศไทยเขาสูภาวะตกต่ําหรือเติบโตในอัตราต่ําเพียงแค 1‐2% มา ตั้งแตวิกฤตทางการเมือง แมวาจะมีการยุบสภาเพื่อจัดใหมีการเลือกตั้งใหมแตความไมชอบธรรมและ ปญหาการทุจริตคอรัปชั่น ฯลฯ การไมมีทางออกของประเทศทําใหธุรกิจนอยใหญเริ่มเขาสูภาวะถดถอย ตองชะลอการผลิต ขายสินคาไมได ผูบริโภคชะลอการใชจาย การสงออกลดลงและอาจเดินไปสูความ หายนะทางเศรษฐกิจในไมชานัก ถาจะวิเคราะหใหเห็น “วงจรอุบาทของการเติบโตที่ตกต่ํา (A Negative Loop in  Low Growth period)”  ซึ่งปรับมาจากจาก Kim Seung‐Pyo (2013) มีสวนประกอบ สําคัญคือ 1)การถดถอยของผลประกอบการ เชน การถดถอยในการเติบโตและความชะงักงันดานการเงิน 2) การถดถอยในสมรรถภาพ เชน ทรัพยากรไมเพียงพอสําหรับการเติบโตและความหลากหลายของ ผลิตภัณฑมีต่ํา 3) ความถดถอยในการอยูรอด เชน ความเปนผูประกอบการที่ออนแอและแรงจูงใจใน ตนเองนอยมาก ดังรูปที่ 2  ดังนั้น “กลยุทธในยามเศรษฐกิจตกต่ํา” สําหรับการฟนฟูเศรษฐกิจมีอยู 3 ลักษณะคือ                       
  • 5. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557     รูปที่ 2 วงจรอุบาทของการเติบโตที่ตกต่ํา      ผูเขียนไดจําลองวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจไทยในชวงเวลาตกต่ําที่เกิดขึ้นจากวิกฤตทาง การเมืองตั้งแตปลายป’56 จนถึงปจจุบัน มีสวนแรกคือ “ภาวะกลืนไมเขาคายไมออกของการบริหาร” กับ สวนที่สอง “3 วิธีในการขับเคลื่อนความแข็งแกรง” ดังรูปที่ 3 โดยมีรายละเอียดดังนี้  สวนแรก ภาวะกลืนไมเขาคลายไมออกของการบริหาร  1) ลูกคาเปลี่ยนไลฟสไตล : ไลฟสไตลกําหนดวิธีจับจายใชสอย เมื่อเศรษฐกิจตกต่ํา ลูกคาชะลอการซื้อหรือหาทางเลือกอื่น เชน การเลือกผอนที่ยาวนานขึ้น         
  • 6. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557   รูปที่ 3 กลยุทธการตอบสนองสําหรับชวงเวลาตกต่ํา     2) ความไมแนนอน เปนชวงเวลาที่ยาวนานมากขึ้น (ผลมาจากความไมสงบทาง การเมือง) : สงผลตอธุรกิจ ขายสินคาไมได เริ่มขาดแคลนทรัพยากรเพราะทุกคนชะลอตัวหมด  3) พนักงานไมมีจิตใจทํางาน สนใจวิกฤตทางการเมืองและไมไดสนใจพัฒนางาน เทาที่ควร : องคกรมีขอจํากัดในดานการจูงใจคนทํางาน  สวนที่สอง 3 วิธีการในการขับเคลื่อนความแข็งแกรง   จับสัญญาณ : คนหาโอกาสใหมทางธุรกิจ   สังเกตตลาด/ลูกคาอยางใกลชิด   นิยามลูกคาใหม เชน Non‐Tradition Customers   ปรับใชศาสตรเพื่อวิเคราะหลูกคา เชน เปลี่ยนจากการวิเคราะหดานประชากรไปสู พฤติกรรมลูกคา
  • 7. กลยุทธรับมือจากชวงเติบโตไปสูชวงเวลาตกต่ํา                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2557    โฟกัส : ปรับโมเดลธุรกิจใหม  -ปรับใหมใหพอเหมาะ   -ใหเงินกับความสําเร็จเล็กๆ  -ปองกันเหตุการณทางลบที่คิดไมถึง  เพิ่มพลัง : คนหาโอกาสใหมทางธุรกิจ  -มีการยอมรับกลยุทธอยางเอกฉันท  -ประเมิน/ใหคาตอบแทนอยางยุติธรรม  -ปลูกฝงความภูมิใจในงาน              CEO หรือผูนําองคกร มีบทบาทในการติดตามเหตุการณอยางตอเนื่อง และสงเสริมตอ 3 วิธีการ ทั้งหมดนี้นาจะพอทําใหธุรกิจมีวิธีการทางกลยุทธสําหรับรับมือกับชวงเวลาตกต่ําเชนนี้