SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
1 
 

    วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหมหรือรูปแบบใหม (New Model) 
                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ นักวิชาการและที่ปรึกษาอิสระ 
                                                     ผูอํานวยการโครงการ Human Capital  
                                                     วิทยากรผูทรงคุณวุฒสถาบันพระปกเกลา
                                                                        ิ
 
                การศึกษาและเรียนรูเกี่ยวกับการทําวิจยใหเปนสวนหนึงของชีวิตการทํางานหากเปน
                                                     ั              ่
บุคคลทั่วๆ ไปคงจะไมใชเรื่องทีนาอภิรมยนัก แตสําหรับบุคคลที่อยูในแวดวงวิชาการโดยาอาชีพก็อาจเปน
                               ่
เรื่องปกติที่ตองคลุกคลีอยูในทุกลมหายใจเขาออก

                เมื่อวันที่ 4 กันยายน 55 ผูเขียนไดรับเชิญใหเปนผูทรงคุณวุฒิสอบเคาโครงดุษฎีนิพนธ
                                                                    
เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูโรงเรียนคาทอลิกขนาดใหญ สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร” ของ
นักศึกษาปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเซนตจอหน

                มีประเด็นที่นาสนใจที่จะนํามาสูการขบคิดทางปญญาและขยายวงความรูใหกวางยิ่งขึ้น
                             

                สิ่งที่เรียกวา “การพัฒนารูปแบบหรือโมเดล”

                ผูเขียนคิดวาสิงที่เปนหัวใจสําคัญที่ควรทําความเขาใจในเรื่องนี้คือ “การพัฒนารูปแบบ
                                ่
หรือโมเดล” ซึงนาพิจารณาใน 2 คําตอไปนี้ กระบวนทัศนหรือพาราไดม (Paradigm) และรูปแบบหรือ
             ่
โมเดล (Model) เพราะบางครั้งในการวิจยอาจเปนการสรุปไดพาราไดมหรือกระบวนทัศน ซึ่งยังตอง
                                   ั
พัฒนาตอไปสูการเปนรูปแบบหรือโมเดล

                กระบวนทัศนหรือพาราไดม (Paradigm)

                คําวา พาราไดม ปรากฏมีการใชครั้งแรกเมื่อป 1962 ใน “The Structure of Scientific
Revolutions” โดย Thomas S. Kuhn (สันติ สุวัณณาคาร, 2552 ; การพัฒนากระบวนทัศนการสืบทอด
ธุรกิจครอบครัวไทยในอุตสาหกรรมเครื่องประดับทองคํา หนา 62) ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษากรีกคือ คํา
วา Para (Beside) และ Deigma (Example) หมายถึง รูปแบบที่ควรนํามาเปนตัวอยางและในความหมาย
ดั้งเดิม หมายถึง รูปแบบ (Model) แบบแผน (Pattern) หรือตัวอยาง (Example) ทีเ่ ปนทียอมรับโดยมีนัยวา
                                                                                  ่
เปนตัวอยางสําหรับการทําซ้า (http:en.wikipedia.org/wiki/Paradigm)
                           ํ


วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม                             ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 
เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
2 
 

                และ Kuhn นิยาม พาราไดมเชิงวิทยาศาสตรวาหมายถึง ชุดของความคิดที่โยงในทฤษฎี
ความรู สมมติฐานและความสําเร็จตางๆ ของความรูทางวิทยาศาสตร ซึงเปนที่ยอมรับอยางเปนสากล
                                                             ่
กระทังเปนโมเดล (แนวคิด คานิยมและความเชื่อ) ในการมองปญหาและวิธีการแกปญหาของชุมชน
     ่                                                                  
วิทยาศาสตร (สันติ สุวัณณาคาร, 2552:62 ; http:en.wikipedia.org/wiki/Paradigm)

                ดังนัน พาราไดม จึงหมายถึง กรอบความคิดที่เปนแนวทาง ความเชื่อ คุณคา ในการ
                     ้
ยึดถือปฏิบติและไดรับการยอมรับโดยทั่วไป
          ั

                การพัฒนาพาราไดมในปจจุบัน ธุรกิจที่อยูในระดับแนวหนาอาศัยแนวคิดของ Senge
(1990:8) ที่ไดเสนอโมเดลทางความคิด (Mental Model) ใน The Fifth Discipline ซึ่งเปนที่มาขององคกร
แหงการเรียนรู (Learning Organization)

                โดยโมเดลทางความคิดจะประกอบดวยลําดับขั้นตามรูป ดังนี้
                1) การศึกษาปรากฏการณหรือเหตุการณ (Events) จนกระทั่งสรางเปนรูปแบบของ
เหตุการณ (Pattern of Events)
                      รูปที่ 1 การพัฒนาพาราโมเดลทางความคิดขององคกร/ธุรกิจ




วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม                         ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 
เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
3 
 

                2) หลังจากนั้น จึงกําหนดโครงสรางความคิดซึ่งอาจจะอยูในรูปตรรกของความสัมพันธ
                                                                    
ซึ่งเชื่อมโยงความรูอยูอยางเปนระบบ หรือในรูปแบบสมการทีเ่ ปนความสัมพันธของตัวแปร
                3) นําโครงสรางทางความคิดไปตรวจสอบกับขอตกลงเบื้องตน (Assumption) ของ
องคกร/ธุรกิจ
                4) จําลองรูปแบบ/โมเดล ในลักษณะตอไปนี้
                   - เปนสมมติฐาน (Hypothesis) เกียวกับความสัมพันธของตัวแปร
                                                  ่
                   - พาราไดม (Paradigm) ที่เปนความเชื่อ คุณคา ทียึดถือปฏิบัติและไดรับการยอมรับ
                                                                   ่
                   - กรอบความคิด (Conceptual Framework) ที่ใชในการอธิบายถึงความเชื่อมโยง
ทั้งหมดที่ตองการศึกษาหาความจริง เชน ปญหา จุดประสงค การทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธี การเก็บ
           
รวบรวมขอมูลและการวิเคราะห
                5) การทดสอบ(ซ้า)ในสถานการณจริง หากผลการทดสอบเปนจริงนอยครั้ง โครงสราง
                              ํ
ทางความคิดที่จาลองขึ้นเปนรูปแบบ/โมเดลนั้นเปนโมเดลประสบการณ แตถาเปนจริงทุกๆ ครั้งก็พัฒนา
              ํ
เปนโมเดลทางทฤษฎีที่ยอมรับโดยทั่วไป
                6) โมเดลทางความคิดของธุรกิจ เปนผลไดจากขั้นที่ 5 ซึ่งอาจเปนโมเดลทาง
ประสบการณ (ไมสามารถใชไดอยางทัวไป) หรืออาจเปนโมเดลทางทฤษฎีที่สามารถทดสอบซ้ําและใชได
                                  ่
อยางทั่วไป

                สรุปการพัฒนากระบวนทัศนหรือพาราไดม ผลไดจะอยูในรูปโมเดลทางความคิดของ
                                                              
ธุรกิจ (Mental Model of Business)

                ตัวอยาง การใชโมเดลความคิด ในการศึกษาจากตําราพิไชยสงครามโบราณทังเลมคํา
                                                                                ้
กลอนและเลมกระบวนพยุหะภูมิปญญายุทธศาสตรไทย (ดนัย เทียนพุฒ, 2555: 20 ในตําราพิไชยสงคราม
เมืองเพชรบูรณ หนา 18-20) ใชวิธการทางประวัติศาสตรและเสนอผลแบบพรรณนาวิเคราะหขอมูลดวย
                                 ี                                              
โมเดลทางความคิด (Mental Model) ดังรูปที่ 2




วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม                         ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 
เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
4 
 

                   รูปที่ 2 โมเดลทางความคิดในการเปดภูมปญญายุทธศาสตรไทย
                                                       ิ




                1) การศึกษาเหตุการณ (Events) เปนการศึกษาตําราพิไชยสงครามฉบับเมืองเพชรบูรณ
เพื่อการกําหนดรูปแบบของเหตุการณ
                2) รูปแบบของเหตุการณ (Pattern of Events) หมายถึง ความเปนมาของตําราพิไชย
สงคราม ลักษณะสมุดไทยที่ใชบันทึกเนื้อหา ยุคสมัยทีจัดทําหรือเขียนตําราพิไชยสงคราม มีรองรอย เคา
                                                 ่
เงื่อนหรือขอสันนิษฐานใดทีปรากฏขึ้นมา
                          ่
               3) การกําหนดโครงสรางเนื้อหา (Structure of Contents) คือ การจัดรูปแบบโครงสราง
ความรูของตําราพิไชยสงครามทังเลมคํากลอนและเลมกระบวนพยุหะ
                            ้
               4) การทดสอบขอสันนิษฐาน/ขออนุมานดวยเอกสารชันตน เชน เอกสารโบราณหมวด
                                                            ้
ยุทธศาสตรตําราพิไชยสงครามที่สานักหอสมุดแหงชาติ สํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม จิตรกรรม
                              ํ
ฝาผนังในพระอุโบสถวัดประดูทรงธรรมและเอกสารชันรอง เชน หนังสือพิไชยสงคราม พงศาวดาร เอกสาร
                                            ้
สิ่งพิมพ ไมโครฟลมและบล็อก
                  
               5) พาราไดม (Paradigm) การกําหนดกรอบขอความรูในตําราพิไชยสงคราม สิงทีเ่ ปน
                                                                                  ่
องคความรูใหม การคนพบรหัสของตําราพิไชยสงครามและการมีเคาเงื่อนหรือขออนุมานใดที่เปนขอเสนอ
ตอการศึกษาในอนาคต เพื่อจัดทํารางตนฉบับ
วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม                        ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 
เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
5 
 

                6) การลงขอสรุป (Conclusion) เปนการสรุปเรื่องราวโดยเรียบเรียงและเขียนเปนตนฉบับ
หนังสือตําราพิไชยสงครามฉบับเมืองเพชรบูรณ
                สรุปการพัฒนาโมเดลใหมหรือรูปแบบ (Model) ผูเ ขียนใหขอสรุปไวดังนี้
                โมเดลหรือรูปแบบ (Model) เปนการบรรยายหรือกําหนดความเชื่อมโยงของสิงที่เปน
                                                                                 ่
กุญแจสําคัญ สําหรับทําความเขาใจเกี่ยวกับองคความรูของธุรกิจ โดยมีคุณลักษณะหลัก เชน 1) ความ
เปนระบบ (Systematic) 2) ระบบเปด (Open) 3) พลวัต (Dynamic) 4) มีลักษณะทําใหเหมาะได
(Adaptive) และ 5) เปนนวัตกรรม (Innovation)
                ตรรกภายในโมเดล (Model of Internal Logic) เปนความพยายามทีจะอธิบายความ
                                                                         ่
เชื่อมโยงหรือเปนความอิสระพื้นฐานซึ่งมีอยูระหวาง ขอความรูที่เปนองคประกอบของโมเดลสําหรับการ
ทดสอบกับโลกแหงความจริงของธุรกิจ ดังรูป
                         รูปที่ 3 แนวคิดเชิงตรรกของโมเดลใหมหรือ รูปแบบใหม




*ดนัย เทียนพุฒ (2549). ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัทผลิต-
          อุปกรณกอสราง หนา 9
                  
                ทั้งหมดนีเ้ ปนการสวนหนึ่งทีจะนําการวิจัยมาใชเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม
                                             ่

ดวยตรรกจากความสวยงามทางปญญาทีสามารถกอรูปแบบหรือ จําลองความคิด เปนพาราไดม หรือ ราง
                               ่

โมเดลและเมือทําการทดสอบและตรวจสอบซ้ํา จึงไดผลผลิตทางความคิดที่ตกผลึกเปนโมเดลใหมหรือ
           ่

รูปแบบองคความรูใหมของธุรกิจ


วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม                              ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555 
เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
Aungkana Na Na
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
Thank Chiro
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
khanidthakpt
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
maesawing
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
sivapong klongpanich
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
sawitreesantawee
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
sasiwan_memee
 

Mais procurados (20)

ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jengชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
ชื่อโครงงาน หมวกกระเป๋า Jeng
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
 
Flow chart
Flow chartFlow chart
Flow chart
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรอินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
แผน Imc
แผน Imcแผน Imc
แผน Imc
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 

Semelhante a วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
benty2443
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
kornvipa
 

Semelhante a วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่ (20)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทใบงานที่ 6 โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภท
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 

Mais de DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม่หรือรูปแบบใหม่

  • 1. 1    วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหมหรือรูปแบบใหม (New Model)  ดร.ดนัย เทียนพุฒ นักวิชาการและที่ปรึกษาอิสระ  ผูอํานวยการโครงการ Human Capital   วิทยากรผูทรงคุณวุฒสถาบันพระปกเกลา ิ       การศึกษาและเรียนรูเกี่ยวกับการทําวิจยใหเปนสวนหนึงของชีวิตการทํางานหากเปน ั ่ บุคคลทั่วๆ ไปคงจะไมใชเรื่องทีนาอภิรมยนัก แตสําหรับบุคคลที่อยูในแวดวงวิชาการโดยาอาชีพก็อาจเปน ่ เรื่องปกติที่ตองคลุกคลีอยูในทุกลมหายใจเขาออก เมื่อวันที่ 4 กันยายน 55 ผูเขียนไดรับเชิญใหเปนผูทรงคุณวุฒิสอบเคาโครงดุษฎีนิพนธ  เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูโรงเรียนคาทอลิกขนาดใหญ สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร” ของ นักศึกษาปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเซนตจอหน มีประเด็นที่นาสนใจที่จะนํามาสูการขบคิดทางปญญาและขยายวงความรูใหกวางยิ่งขึ้น  สิ่งที่เรียกวา “การพัฒนารูปแบบหรือโมเดล” ผูเขียนคิดวาสิงที่เปนหัวใจสําคัญที่ควรทําความเขาใจในเรื่องนี้คือ “การพัฒนารูปแบบ ่ หรือโมเดล” ซึงนาพิจารณาใน 2 คําตอไปนี้ กระบวนทัศนหรือพาราไดม (Paradigm) และรูปแบบหรือ ่ โมเดล (Model) เพราะบางครั้งในการวิจยอาจเปนการสรุปไดพาราไดมหรือกระบวนทัศน ซึ่งยังตอง ั พัฒนาตอไปสูการเปนรูปแบบหรือโมเดล กระบวนทัศนหรือพาราไดม (Paradigm) คําวา พาราไดม ปรากฏมีการใชครั้งแรกเมื่อป 1962 ใน “The Structure of Scientific Revolutions” โดย Thomas S. Kuhn (สันติ สุวัณณาคาร, 2552 ; การพัฒนากระบวนทัศนการสืบทอด ธุรกิจครอบครัวไทยในอุตสาหกรรมเครื่องประดับทองคํา หนา 62) ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษากรีกคือ คํา วา Para (Beside) และ Deigma (Example) หมายถึง รูปแบบที่ควรนํามาเปนตัวอยางและในความหมาย ดั้งเดิม หมายถึง รูปแบบ (Model) แบบแผน (Pattern) หรือตัวอยาง (Example) ทีเ่ ปนทียอมรับโดยมีนัยวา ่ เปนตัวอยางสําหรับการทําซ้า (http:en.wikipedia.org/wiki/Paradigm) ํ วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555  เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
  • 2. 2    และ Kuhn นิยาม พาราไดมเชิงวิทยาศาสตรวาหมายถึง ชุดของความคิดที่โยงในทฤษฎี ความรู สมมติฐานและความสําเร็จตางๆ ของความรูทางวิทยาศาสตร ซึงเปนที่ยอมรับอยางเปนสากล  ่ กระทังเปนโมเดล (แนวคิด คานิยมและความเชื่อ) ในการมองปญหาและวิธีการแกปญหาของชุมชน ่  วิทยาศาสตร (สันติ สุวัณณาคาร, 2552:62 ; http:en.wikipedia.org/wiki/Paradigm) ดังนัน พาราไดม จึงหมายถึง กรอบความคิดที่เปนแนวทาง ความเชื่อ คุณคา ในการ ้ ยึดถือปฏิบติและไดรับการยอมรับโดยทั่วไป ั การพัฒนาพาราไดมในปจจุบัน ธุรกิจที่อยูในระดับแนวหนาอาศัยแนวคิดของ Senge (1990:8) ที่ไดเสนอโมเดลทางความคิด (Mental Model) ใน The Fifth Discipline ซึ่งเปนที่มาขององคกร แหงการเรียนรู (Learning Organization) โดยโมเดลทางความคิดจะประกอบดวยลําดับขั้นตามรูป ดังนี้ 1) การศึกษาปรากฏการณหรือเหตุการณ (Events) จนกระทั่งสรางเปนรูปแบบของ เหตุการณ (Pattern of Events) รูปที่ 1 การพัฒนาพาราโมเดลทางความคิดขององคกร/ธุรกิจ วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555  เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
  • 3. 3    2) หลังจากนั้น จึงกําหนดโครงสรางความคิดซึ่งอาจจะอยูในรูปตรรกของความสัมพันธ  ซึ่งเชื่อมโยงความรูอยูอยางเปนระบบ หรือในรูปแบบสมการทีเ่ ปนความสัมพันธของตัวแปร 3) นําโครงสรางทางความคิดไปตรวจสอบกับขอตกลงเบื้องตน (Assumption) ของ องคกร/ธุรกิจ 4) จําลองรูปแบบ/โมเดล ในลักษณะตอไปนี้ - เปนสมมติฐาน (Hypothesis) เกียวกับความสัมพันธของตัวแปร ่ - พาราไดม (Paradigm) ที่เปนความเชื่อ คุณคา ทียึดถือปฏิบัติและไดรับการยอมรับ ่ - กรอบความคิด (Conceptual Framework) ที่ใชในการอธิบายถึงความเชื่อมโยง ทั้งหมดที่ตองการศึกษาหาความจริง เชน ปญหา จุดประสงค การทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธี การเก็บ  รวบรวมขอมูลและการวิเคราะห 5) การทดสอบ(ซ้า)ในสถานการณจริง หากผลการทดสอบเปนจริงนอยครั้ง โครงสราง ํ ทางความคิดที่จาลองขึ้นเปนรูปแบบ/โมเดลนั้นเปนโมเดลประสบการณ แตถาเปนจริงทุกๆ ครั้งก็พัฒนา ํ เปนโมเดลทางทฤษฎีที่ยอมรับโดยทั่วไป 6) โมเดลทางความคิดของธุรกิจ เปนผลไดจากขั้นที่ 5 ซึ่งอาจเปนโมเดลทาง ประสบการณ (ไมสามารถใชไดอยางทัวไป) หรืออาจเปนโมเดลทางทฤษฎีที่สามารถทดสอบซ้ําและใชได ่ อยางทั่วไป สรุปการพัฒนากระบวนทัศนหรือพาราไดม ผลไดจะอยูในรูปโมเดลทางความคิดของ  ธุรกิจ (Mental Model of Business) ตัวอยาง การใชโมเดลความคิด ในการศึกษาจากตําราพิไชยสงครามโบราณทังเลมคํา ้ กลอนและเลมกระบวนพยุหะภูมิปญญายุทธศาสตรไทย (ดนัย เทียนพุฒ, 2555: 20 ในตําราพิไชยสงคราม เมืองเพชรบูรณ หนา 18-20) ใชวิธการทางประวัติศาสตรและเสนอผลแบบพรรณนาวิเคราะหขอมูลดวย ี  โมเดลทางความคิด (Mental Model) ดังรูปที่ 2 วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555  เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
  • 4. 4    รูปที่ 2 โมเดลทางความคิดในการเปดภูมปญญายุทธศาสตรไทย ิ 1) การศึกษาเหตุการณ (Events) เปนการศึกษาตําราพิไชยสงครามฉบับเมืองเพชรบูรณ เพื่อการกําหนดรูปแบบของเหตุการณ 2) รูปแบบของเหตุการณ (Pattern of Events) หมายถึง ความเปนมาของตําราพิไชย สงคราม ลักษณะสมุดไทยที่ใชบันทึกเนื้อหา ยุคสมัยทีจัดทําหรือเขียนตําราพิไชยสงคราม มีรองรอย เคา ่ เงื่อนหรือขอสันนิษฐานใดทีปรากฏขึ้นมา ่ 3) การกําหนดโครงสรางเนื้อหา (Structure of Contents) คือ การจัดรูปแบบโครงสราง ความรูของตําราพิไชยสงครามทังเลมคํากลอนและเลมกระบวนพยุหะ ้ 4) การทดสอบขอสันนิษฐาน/ขออนุมานดวยเอกสารชันตน เชน เอกสารโบราณหมวด ้ ยุทธศาสตรตําราพิไชยสงครามที่สานักหอสมุดแหงชาติ สํานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม จิตรกรรม ํ ฝาผนังในพระอุโบสถวัดประดูทรงธรรมและเอกสารชันรอง เชน หนังสือพิไชยสงคราม พงศาวดาร เอกสาร ้ สิ่งพิมพ ไมโครฟลมและบล็อก  5) พาราไดม (Paradigm) การกําหนดกรอบขอความรูในตําราพิไชยสงคราม สิงทีเ่ ปน ่ องคความรูใหม การคนพบรหัสของตําราพิไชยสงครามและการมีเคาเงื่อนหรือขออนุมานใดที่เปนขอเสนอ ตอการศึกษาในอนาคต เพื่อจัดทํารางตนฉบับ วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555  เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/  
  • 5. 5    6) การลงขอสรุป (Conclusion) เปนการสรุปเรื่องราวโดยเรียบเรียงและเขียนเปนตนฉบับ หนังสือตําราพิไชยสงครามฉบับเมืองเพชรบูรณ สรุปการพัฒนาโมเดลใหมหรือรูปแบบ (Model) ผูเ ขียนใหขอสรุปไวดังนี้ โมเดลหรือรูปแบบ (Model) เปนการบรรยายหรือกําหนดความเชื่อมโยงของสิงที่เปน ่ กุญแจสําคัญ สําหรับทําความเขาใจเกี่ยวกับองคความรูของธุรกิจ โดยมีคุณลักษณะหลัก เชน 1) ความ เปนระบบ (Systematic) 2) ระบบเปด (Open) 3) พลวัต (Dynamic) 4) มีลักษณะทําใหเหมาะได (Adaptive) และ 5) เปนนวัตกรรม (Innovation) ตรรกภายในโมเดล (Model of Internal Logic) เปนความพยายามทีจะอธิบายความ ่ เชื่อมโยงหรือเปนความอิสระพื้นฐานซึ่งมีอยูระหวาง ขอความรูที่เปนองคประกอบของโมเดลสําหรับการ ทดสอบกับโลกแหงความจริงของธุรกิจ ดังรูป รูปที่ 3 แนวคิดเชิงตรรกของโมเดลใหมหรือ รูปแบบใหม *ดนัย เทียนพุฒ (2549). ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย: ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัทผลิต- อุปกรณกอสราง หนา 9  ทั้งหมดนีเ้ ปนการสวนหนึ่งทีจะนําการวิจัยมาใชเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ่ ดวยตรรกจากความสวยงามทางปญญาทีสามารถกอรูปแบบหรือ จําลองความคิด เปนพาราไดม หรือ ราง ่ โมเดลและเมือทําการทดสอบและตรวจสอบซ้ํา จึงไดผลผลิตทางความคิดที่ตกผลึกเปนโมเดลใหมหรือ ่ รูปแบบองคความรูใหมของธุรกิจ วิจัยเพื่อพัฒนาโมเดลใหม หรือ รูปแบบใหม ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธ 2555  เผยแพรใน http://www.newthaimba.blogspot.com/