SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 20
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                         Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges
                                                                                                   ดร. ดนัย เทียนพุฒ


                                               บทคัดยอ


                     การบริหารคน หรือการบริหาร HR มีการพัฒนาการที่ไมมากนักโดยเฉพาะในองคความรู
             ดาน HR สําหรับธุรกิจในประเทศไทย
                     แตการทวีความสําคัญมากขึ้นของการบริหาร       HR     จากการเปลี่ยนแปลงและแขงขันที่
             รวดเร็วของธุรกิจ    ทําใหความจําเปนตองสรางหรือพัฒนาตัวแบบ (Model) การบริหาร HR ที่
             เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงและการแขงขันดังกลาว
                     ผูเขียนไดสังเคราะหมิติของทุนมนุษย : อดีต ปจจุบันและอนาคต         ตามระยะขั้นการ
             พัฒนาดาน HR ออกเปน 4 ระยะขั้นคือ ระยะขั้นที่ 1 งานดานบุคคล (PNL) ระยะขั้นที่ 2 การ
             บริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ระยะขั้นที่ 3 ทุนมนุษย (HC) และระยะขั้นที่ 4 ทุนทางปญญา
             (IC) ภายใตแรงขับทางธุรกิจ ซึ่งในระยะขั้นที่ 1 และ 2 เปนมุมมองของแนวคิดที่เรียกวา สินทรัพย
             ที่จับตองได (Tangible Assets)   และระยะขั้นที่ 3 และ 4       เปนมุมมองของแนวคิดที่เรียกวา
             สินทรัพยที่จับตองไมได (Intangible Assets) พรอมเสนอการพัฒนาตัวแบบ SICM ที่จะเหมาะสม
             กับธุรกิจไทยในการบริหาร HR ดวยทุนทางปญญา
                     และในบทสรุปไดอธิบายถึง ความทาทายใหมของฝาย HR ภายใตตัวแบบทุนทางปญญา
             ที่เรียกวา หนวยสมรรถภาพเชิงกลยุทธ (Strategic Capabilities Unit: SCU)




                                                                 27
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                        Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                                                        บทนํา


                    quot;คนquot; (People) เปนสิ่งเดียวในโลกที่มีความสําคัญและมีคุณคาอยางอเนกอนันตตอการ
            ดํารงอยูและลมสลายของโลกใบนี้ และถาศึกษายอนหลังไปธุรกิจใหความสนใจในเรื่อง คน มา
            อยางตอเนื่องทุกยุคทุกสมัย ซึ่งเห็นไดจากการที่บรรดา CEO หรือผูบริหารระดับสูงของทุกองค
            กรตางพูดเหมือนกันหมดวา quot;คนเปนทรัพยสินที่มีคุณคามากที่สุดquot;
                    ดรักเกอร (Drucker, 1999) กลาวไววา ศตวรรษที่ 21 ไมใชเรื่องของการบริหารพนักงาน
            แตเปนเรื่องการบริหารคน (People Management)
                    ในขณะที่การพัฒนาดานองคความรูของ HR (Human Resource) ของประเทศไทยจาก
            อดีตจนถึงปจจุบันมีอยู 3 ยุคดวยกันคือ ยุคที่ 1 กอนป พ.ศ.2540 เปนยุคของบทบาทและหนาที่
            ความรับผิดชอบของฝาย HR ในฐานะงานสนับสนุนองคกร (Supporting Process) ยุคที่ 2 ตั้งแต
            ปพ.ศ.2541-ปพ.ศ.2543       เปนยุคของบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย            HR        ใน
            ฐานะพันธมิตรธุรกิจ (Business Partners)      และยุคที่ 3 ความทาทายจากปจจุบันสูอนาคต เปน
            ยุคของบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย           HR   ในฐานะผูคุมเกมกลยุทธ     (Strategic
            Player) (ดนัย เทียนพุฒ, 2545)
                    แมวาธุรกิจจะใหความสําคัญดานคนเปนอยางมาก     แตกลับกันองคความรูดาน HR (The
            Body of HR Knowledge) มีการพัฒนาในระดับที่นอย หรือแทบไมเห็นเกิดขึ้นมากมายที่จะเปน
            องคความรูดาน   HR ในบริบทของสังคมและธุรกิจในประเทศไทยจากทั้งนักปฏิบัติดาน HR (HR
            Practicetioner) และมืออาชีพดาน HR (HR Professional)
                    การเฝาติดตามและการสังเกตในธุรกิจ โดยผูเขียนมีประเด็นที่เปนคําถามตอความทาทาย
            สําหรับนักปฏิบัติดาน HR มืออาชีพดาน HR และนาจะครอบคลุมถึงนักวิชาการดาน HR เพื่อการ
            คิดหาสิ่งที่เปนนวัตกรรมในวิธีวิทยาการดาน HR สําหรับศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะกับบริบท และ
            วัฒนธรรมการบริหารของธุรกิจในประเทศไทย


                    1. ปรัชญา (Philosophy) หลักการ (Principle) และแนวคิดพื้นฐานดาน HR
            (HR Ground Rules)
                    มีความจําเปนตองทบทวนหรือปรับเปลี่ยนทั้งในเชิงบริบท        (Context)       และเนื้อหา
            (Contents) เชน ระบบคุณธรรม (Merit System) ในการบริหารคน หรือ HR Policies HR
            Practices และ HR Processes. สิ่งนี้มีความสําคัญเปนอยางมาก        เมื่อใดที่องคกรหรือฝาย HR
            ขาดความรู ความเขาใจในปรัชญาและสิ่งที่เปนหลักยึดดาน HR เปลี่ยนสิ่งที่เปนเจตนจํานงหรือ
            สาระในระบบคุณธรรม จนกระทั่งสงผลกระทบตามมาทั้ง HR Policies, HR Practices และ HR
            Processes เชน การแตงตั้งบุคลากรหรือผูบริหารระดับสูง     โดยออกกฎเกณฑลมลางหรือยกเลิก
            วิธีปฏิบัติเดิมเพื่อสนองนโยบายผูมีอํานาจและแตงตั้งผูที่ยังขาดคุณสมบัติใหไดรับโอกาสพิเศษ


                                                                28
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                            Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            ตอการเลื่อนตําแหนงจนแสดงใหเห็นถึงวิกฤตศรัทธาตอหนวยงานดาน HR ที่ยึดระบบคุณธรรม
                   2.    ศาสตรในวิชาชีพ HR (HR Profession)                    ซึ่งในปจจุบันจะมีทิศทางหรือ
            แนวโนมในลักษณะดังตอไปนี้
                   1)   สถาบันวิชาชีพที่ใหบริการความรู เชน สถาบันฝกอบรม บริษัทที่ปรึกษาธุรกิจ จะมีขีด
            ความสามารถที่สูงในการสรางและพัฒนาศาสตรในวิชาชีพดาน HR
                   2)     ในทางกลับกันสถาบันการศึกษากลับไมอาจสนองตอบ                      หรือมีความโดดเดนทาง
            วิชาการที่เพียงพอ โดยเฉพาะในระเบียบวิธีวิทยาการและเนื้อหาดาน HR โดยมีขอสังเกตจากผู
            บริหารธุรกิจระดับสูงหลายธุรกิจที่ใชผลผลิตจากสถาบันการศึกษา               ตางมีขอกังขาและเห็นวาผูที่
            รับผิดชอบฝาย HR ในปจจุบัน ขาดเนื้อหาที่เปนแกนของวิชาชีพดาน HR ในการสนองตอบตอ
            ธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งตอสภาพการแขงขันของธุรกิจในปจจุบัน


                   3. การพัฒนาสรางตัวแบบ (Model)                พาราไดม (Paradigm) หรือกรอบแนวคิด
            (Framework) ดาน HR เพื่อใชในบริบทและวัฒนธรรมการบริหารที่สอดคลองอยางแนบ
            สนิทกับธุรกิจในประเทศไทย
                   เรื่องนี้นับวาเปนสิ่งทาทายที่เรงดวนตอนักปฏิบัติดาน     HR    มืออาชีพดาน     HR     และ
            นักวิชาการดาน HR เปนอยางยิ่ง เพราะสิ่งที่เปนปรากฏการณดาน HR ของประเทศไทย โดย
            ภาพรวมจะมีลกษณะ
                       ั
                   1)      เปนการนําผลการศึกษาหรือสํารวจจากบริษัทที่ปรึกษาจากตางประเทศที่ถอดแบบ
            มาใชในบริบทขององคกรธุรกิจในประเทศไทย
                   2)        การศึกษาและวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา                ยังตองการความลุมลึกทางการวิจัยที่
            มากกวาที่เปนอยู และไมมากพอที่จะสรางทฤษฎี หรือหลักการดาน HR ของไทยเราเอง


                   สิ่งที่หยิบยกมาขางตนเปนประเด็นคําถามที่ตองการ              การศึกษาวิจัยมากกวาการโตแยง
            เชิงความคิด หรือการยกเหตุผลมาอธิบายเพื่อใหมีคําตอบที่พึงพอใจ
                   วิชาชีพดาน HR ตองการนวัตกรรมใหม องคความรูใหมๆ ที่จะสามารถหยิบใชไดอยาง
            เหมาะสมกับวัฒนธรรมการบริหารที่สอดคลองกับธุรกิจไทยหรือธุรกิจในประเทศไทย ในบทความนี้
            ผูเขียนไดนําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ มิติของทุนมนุษย : อดีต ปจจุบันและอนาคต ใน 2 สวนคือ สวน
            ที่ 1. บทบาท ตัวแบบและความทาทายของ HR สวนที่ 2. การพัฒนา ตัวแบบทุนทางปญญา การ
            พัฒนาตัวแบบ SICM และบทสรุป: ความทาทายใหมของ HR ดวยตัวแบบทุนทางปญญา ซึ่งมี
            รายละเอียดเปนลําดับไปดังนี้


            มิติของทุนมนุษย : อดีต ปจจุบันและอนาคต


                   การที่ธุรกิจจะมีความไดเปรียบในการแขงขันอยางยั่งยืนธุรกิจจะตองมี 2 ลักษณะ คือ
            (Wright, Dunford และ Snell, 2001)


                                                                    29
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                       Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                    1) เปนเจาของ “คน (People)” ในความแตกตางและดีกวาดานทักษะและความรูมากกวา
            คูแขงขันหรือการปฏิบัติดาน HR ที่จะชวยใหแตกตางหลากหลายจากคูแขงขัน และ
                    2) มีการปฏิบัติหรือทักษะและความสามารถ          ที่เปนสิ่งซึ่งคูแขงไมอาจจะทําตาม หรือ
            เลียนแบบได
                    ขณะเดียวกัน ASTD (2003; อางจากดนัย เทียนพุฒ, 2547) ไดศึกษาถึง ความทาทาย
            ของทุนมนุษยและไดกลาวถึงสิ่งที่เปนอุปสรรคของการบริหารและพัฒนาทุนมนุษยไวดังนี้
                    1) ความออนหัดในการวางสถาปตยกรรมของงานและการออกแบบงาน
                    2) ขอจํากัดจากความเครียดและคนเกาๆ ที่มีอยูของพนักงานที่จะขับเคลื่อนไปยัง quot;ความ
            เกงใหมquot;
                    3) พนักงานรูสึกวาควรทําใหเขาทํางานไดอยางเหมาะสมมากกวาที่จะตองทาทายและจูง
            ใจตนเอง
                    4)    มีความลมเหลวของการดําเนินการดานผลงานรวมถึงคาตอบแทน การออกแบบงาน
            การฝกอบรมและการจัดการผลงาน
                    5) ขาดการเชือมโยงระหวางการปฏิบัติดานทุนมนุษยกับผลงานและเปาหมายขององคกร
                                ่
                    6) ความลมเหลวของการวัดที่แมนตรงในคุณภาพของการฝกอบรมและผลได
            ของการเรียนรู
                    สิ่งที่เปนประเด็นพูดถึงกันมากเกี่ยวกับทุนมนุษย (Human Capital: HC) จะมีในดาน
            ความเขาใจและความแตกตางของเนื้อหาระหวาง         quot;ทรัพยากรบุคคล           หรือทรัพยากรมนุษย
            (Human Resource)quot; กับ quot;ทุนมนุษย (Human Capital)” และโดยเฉพาะอยางยิ่ง quot;ทุนมนุษยกับ
            ทุนทางปญญา (Intellectual Capital: IC)quot;
                    สรุปแลว    ความสําคัญของการทําความเขาใจในอดีตและปจจุบันของ           HR    ที่ผานมา
            โดยเฉพาะประวัติศาสตรของ HR ที่เรียกวา Personnel (การพนักงาน บุคลากรหรือการเจาหนาที่)
            ซึ่งเนนวิธีการที่เนนงาน (Job-based Approach) (Jackson และคณะ, 2003) มีความสําคัญ
            เปนอยางยิ่งตอการพัฒนาตัวแบบ (Model) ของทุนมนุษย


            1. บทบาท ตัวแบบและความทาทายของ HR
                    การบริหาร HR ที่อธิบายกันในธุรกิจ มักจะกลาวถึง บทบาท (Role) และหนาที่ความ
            รับผิดชอบ (Function) ของ HR ขณะที่การอธิบายหรือพัฒนาดานตัวแบบ (Model) ของ HR มี
            อธิบายไวภายใตเรื่องดังกลาวสวนที่จะแยกออกมาอธิบายอยางชัดเจนยังทําไมมากนัก
                    การบริหาร      HR      ในยุคแรกๆ       ของไทย          คงเริ่มตนมาพรอมกับการคาแบบ
            อุตสาหกรรม จนกระทั่งในป พ.ศ.2499 มีการประกาศใชพระราชบัญญัติแรงงานฉบับแรก ซึ่งมี
            บทบัญญัติวาดวยการคุมครองแรงงานและแรงงานสัมพันธรวมไวดวยกัน           และภายหลังป พ.ศ.
            2501 รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ               สงเสริมการลงทุนและสนับสนุนการยก
            มาตรฐานการจัดการธุรกิจและการบริหารงานบุคคล             ในชวงปพ.ศ.2501-2510       มีความสนใจ
            เกี่ยวกับการทํางานในวงการอุตสาหกรรมมากขึ้น      มีการแสวงหาความรูทางการบริหารงานบุคคล


                                                              30
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                     Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            และแรงงานสัมพันธ      นับเปนปรากฏการณเริ่มแรกและไดพัฒนามากขึ้นเปนลําดับตั้งแตนั้นมา
            (ดนัย เทียนพุฒ และคณะ, 2541; อางจาก เพ็ญศรี วายวานนท, 2533)
                   จากการศึกษาหนังสือ    งานวิจัย   เอกสาร ขอเขียนและขอมูลทางอินเตอรเน็ตดานการ
            บริหาร HR ในชวงป พ.ศ.2541 จนถึงปจจุบัน ตลอดจนการเฝาติดตามและสังเกตปรากฏการณ
            ดาน HR จากการเปนที่ปรึกษาธุรกิจในชวงหนึ่งทศวรรษ (ป พ.ศ. 2539 ถึงปจจุบัน)       ผูเขียน
            สังเคราะห กรอบแนวคิดทางทฤษฎีดาน HR (HR Theoretical Framework) ของธุรกิจไดเปน
            quot;4 ลําดับขั้นของตัวแบบ HR (The 4 Stages of HR Model)quot; โดยแตละลําดับขั้นจะขึ้นอยูกับ
            รูปแบบที่เฉพาะของบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของ HR ภายใตหลักการที่เปนสิ่งกําหนด
            นโยบายการปฏิบัติและกระบวนการของ HR จากองคกรธุรกิจ ดังรูปที่ 1 HRM ในเศรษฐกิจความรู




                                                            31
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                         Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                    จากรูป    HRM ในเศรษฐกิจความรู:         บทบาทใหม ตัวแบบใหมและความทาทายใหม
            (HRM in the Knowledge Economy: New roles, New models and New Challenges) มี
            รายละเอียดใน quot;4 ลําดับชั้นของตัวแบบ HRquot; ดังนี้
                    ระยะขั้นที่ 1 งานดานบุคคล (PNL)
                    คําวา งานดานบุคคล (Personnel: PNL) สิ่งที่เปนพื้นฐานในการกําหนด PNL มาจาก
            แนวคิดของวิธีการที่เนนงาน (Job based approach) และธุรกิจหรือผูบริหารระดับสูงขององคกร
            จะมองงาน PNL อยูในฐานะงานสนับสนุนองคกร
                    ในยุคนั้นไมไดเรียกวา ตัวแบบ     แตเรียกวา วงจรบริหารงานบุคคลและแนวคิดที่ยอมรับ
            มากที่สุดเปนของ Devanna Fombrun และ Tichy (1984; อางจาก ดนัย เทียนพุฒและคณะ,
            2540 หนา 39-40) ซึ่งเปนดังรูปที่ 2


                                          รูปที่ 2 : วงจรการบริหารงานบุคคล




                    โดยอธิบายไดวา ในวงจรการบริหารงานบุคคล มีหัวใจสําคัญอยู 5 ขอบเขตดวยกัน
            (ดนัย เทียนพุฒ, 2545) คือ
                    ขอบเขตที่ 1 การคัดเลือก (Selection) คือ กระบวนการทั้งหมดใน การคัดเลือกคน
            เขาสูธุรกิจหรือองคกร เชน การรับสมัคร การสอบสัมภาษณ การทดสอบ การวาจาง อาจจะรวมไป



                                                                32
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                          Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            ถึงการทดลองงานกอนการวาจางดวย


                     ขอบเขตที่ 2       ผลงาน (Performance) ของคนทํางาน หรือพนักงานที่ผาน
            กระบวนการคัดเลือกเขาสูองคกรมาแลว       โดยมีคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description) เปน
            หลัก หรืออาจมีขั้นตอนแผนงาน (Action Plan) หรือเปาหมายในการทํางาน เปนสิ่งที่กําหนดขึ้น
            กอนการปฏิบัติงาน (Performance)         เมื่อปฏิบัติงานไปรอบระยะเวลาหนึ่งจะมี           การวัดผลงาน
            หรือการประเมินผลเพื่อจะไดกําหนดแนวทางการปรับปรุงหรือพัฒนางานตามคําบรรยายลักษณะ
            งาน ขั้นตอนงาน แผนงาน หรือเปาหมายนั้นไดบรรลุตามที่กําหนดไวหรือไม โดยสรุปแลวจะเปน
            เรื่องกําหนดงาน มาตรฐานงาน การออกแบบงาน ฯลฯ
                     ขอบเขตที่ 3 ประเมินผลงาน (Performance Appraisal) ตามระยะของผลงานที่อยู
            ในขอบเขตที่ 2      วา   ผลงานสูง-ต่ํากวามาตรฐานงานที่กําหนดไวมากนอยเพียงใดเพื่อจะไดจูง
            ใจใหคนทํางานตอไป
                     ขอบเขตที่ 4 รางวัล (Rewards) เปนการใหรางวัลจูงใจกับผลงานตามที่บุคคลได
            ดําเนินงานหรือ ปฏิบัติตามภารกิจ      ซึ่งการใหรางวัลอาจจะมีทั้งที่เปนมาตรการทางบวก เชน การ
            ปรับเงินเดือน เลื่อนตําแหนง แตงตั้งโอนยาย ที่เปนผลสะทอนถึงผลงานของแตละบุคคลที่ทํา
            ได กับมาตรการทางลบเพื่อจูงใจบุคคลที่มีพฤติกรรมไมพึงประสงค            เชน       มาตรการทางวินัย
            เปนตน บางครั้งยังแบงรางวัลจูงใจเปนทั้งที่อยูในรูปของตัวเงินและไมใชตัวเงิน
                     ขอบเขตที่ 5 การพัฒนา (Development) ในเรื่องการพัฒนาคนหลายยุคหลายสมัย
            ที่ผานมาจนถึงปจจุบัน ยังคงมุงอยู 2-3 อยางดวยกันคือ มุงฝกคนใหเขาใจองคกรในลักษณะการ
            ปฐมนิเทศ       มุงพัฒนาใหคนทํางานไดตามคําบรรยายลักษณะงาน ขั้นตอนงาน                  แผนงานหรือ
            เปาหมาย หรือรองรับการเติบโตขององคกร ไมคอยพัฒนาไปนอกกรอบเหลานี้เทาใดนัก
                     ซึ่งในระยะขั้นที่ 1 งานดานบุคคล เมื่อมีการพัฒนามากขึ้นจากธุรกิจโดยผลิตจํานวนมาก
            ที่เรียกวา   Scale-driven       แตยังไมมีความแตกตางในผลิตภัณฑ             สินคา     และบริการ
            (Undifferentiated)           งานดานบุคคลมีการปรับใหเขากับสิ่งที่ธุรกิจตองการดานการสนับสนุน
            กระบวนการธุรกิจ และในชวงนี้จะเริ่มขยายขอบเขตงาน PNL ไปสู HRM (Human Resource
            Management) ดังรูปที่ 3


                                               รูปที่ 3 : HRM ที่เปนกระบวนการสนับสนุน




                                                                  33
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                         Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                      ระยะขั้นที่ 2 การบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM)
                      ภายใตแนวคิดของงาน HR ที่เปนการสนับสนุนงานองคกร เมื่อมีการพัฒนาธุรกิจไปสูยุค
            การผลิตแบบอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีสูงขึ้น        (Assembly-driven)     ซึ่งธุรกิจตองสรางความ
            แตกตางในผลิตภัณฑและบริการ (Products/Services Differentiated) รวมถึงเนนการสงมอบที่
            รวดเร็ว         การบริหาร HR ในระยะนี้จึงเปนการบริหารทรัพยากรบุคคล หรือ HRM (Human
            Resource Management)
                      ในชวงป พ.ศ. 2534-2539     ผูเขียนไดพัฒนารูปแบบการบริหาร HR ใหเปนการจัดการใน
            เชิงกลยุทธมากขึ้นดวย quot;โครงสรางของการวางแผนหลักดานบริหาร HR” (ดนัย เทียนพุฒ, 2545)
            ดังรูปที่ 4


                                   รูปที่ 4 : โครงสรางของการวางแผนหลักดานบริหาร HR




                      สมมติฐานของโมเดลดังกลาว มองวาในการบริหาร HR ตามที่แบงหนาที่เปนงานสรรหา
            งานวาจาง งานเงินเดือน งานสวัสดิการและประโยชนเพิ่ม ฯลฯ เปนลักษณะที่การสนับสนุนงาน
            ปฏิบัติการและการบริหาร HRที่ลงไปในรายละเอียดของการนําไปใช สวนการนําไปปฏิบัติเปนการ
            ปฏิบัติตามความเฉพาะของงาน ขาดการเชื่อมโยงในแตละงาน และยึดกฏ กติกา ระเบียบ
            เขมงวดในการควบคุมการทํางาน           ซึ่งไมรองรับการเปลี่ยนแปลงองคกรธุรกิจ   ผูเขียนจึงเสนอ
            โมเดล         โครงสรางการวางแผนหลักดานบริหาร      HR เชิงนโยบายและการกระจายอํานาจการ
            บริหาร HR ซึ่งเนนที่กระบวนการของ HR สวนการนําไปปฏิบัติตามแผนแมบท (Master Plan)
            จะใชภายใตทฤษฎีวาย         คือ   คนอยากทํางานไมตองบังคับใหทํางานตามทฤษฎีเอ็กซ       โดยที่
            ภารกิจดานบริหาร HR ทั้ง 4 ดานจะประกอบดวย
                              ดานสรรหา (Recruitment) หมายถึง การเสาะแสวงหาเพื่อเลือกสรรใหไดคนดี มี
                      (1)
            ความรูความสามารถเหมาะสมกับงาน


                                                                34
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                        Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                     (2) การพัฒนา (Development) หมายถึง การพัฒนาใหพนักงานมีความรูความสามารถ
            ทัศนคติและประสบการณที่เพิ่มขึ้นจนสามารถปฏิบัติงานในตําแหนงปจจุบันไดอยางมี
            ประสิทธิภาพ และพรอมที่จะรับผิดชอบงานในตําแหนงที่สูงขึ้น ทั้งนี้การพัฒนาพนักงานมิไดมี
            วัตถุประสงคเพียงเพื่อใหพนักงานมีความเชี่ยวชาญในงานปจจุบัน แตมุงหมายใหพนักงานได
            กาวหนาและเติบโตตอไปในอนาคตดวย
                     (3) การรักษาพนักงาน (Retention) หมายถึง การทําใหพนักงานพึงพอใจในการ
            ทํางาน    ดวยการสรางบรรยากาศใหพนักงานงานมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน            โดยพิจารณา
            วาพนักงานมีความตองการสิ่งใดบาง และพนักงานคาดหวังใหองคกรปฏิบัติตอ พนักงานอยางไร
            ภายใตกฏ ระเบียบ หลักเกณฑตางๆ ที่จะอํานวยใหสิ่งตอบแทนและบริการตางๆ ที่องคกรจัดให
            พนักงานไดรับสิ่งจูงใจในการทํางานไดอยางเต็มที่
                     (4)   การใชประโยชน (Utilization) หมายถึง การใชคนใหไดประโยชนเต็มที่โดยใชให
            ตรงกับงาน      ทํางานใหเหมาะกับความรู ความสามารถ และไมใหอยูวางเปลาโดยไมมีหนาที่การ
            งานที่จะทํา
                     ระยะขั้นที่ 3 Human Capital (HC)
                     ตองยอมรับวา การบริหารคน ในมิติของทุนมนุษยเปนอะไรที่แตกตางไปจากเดิมของการ
            บริหาร HR ดวยปจจัยของการเปลี่ยนแปลงใน 2-3 ประการ อาทิ
                     ¾ การพัฒนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีชั้นสูงและนวัตกรรมใหมผลักดันให
            เศรษฐกิจและธุรกิจตองเรงเขาสูเศรษฐกิจความรู    (Knowledge       Economy)      หรือเศรษฐกิจ
            นวัตกรรม (Innovative Economy)
                     ¾ แนวคิดและเครื่องมือการจัดการใหมๆ       โดยเฉพาะการจัดการกลยุทธไดเกิดมากขึ้น
            ในชวงทศวรรษสุดทายกอนเขาสูศควรรษที่     21     และมีมาอยางตอเนื่องไมวาจะเปน   Balanced
            Scorecard และ KPIs       Lean Six Sigma      Innovative Enterprise       Blue Ocean Strategy
            และ Intellectual Capital รวมทั้ง Competency Based Approach เปนตน ทําใหการบริหาร HR
            ในลักษณะที่เรียกวา พันธมิตรธุรกิจ (Business Partners) ซึ่งเกิดกระแสในชวงประมาณ ป พ.ศ.
            2540 และ Competency Based Approach ไมพอใหการบริหาร HR ตอบสนองกับธุรกิจที่ถูกแรง
            ผลักจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนได
                     ภายใตบริบทและวัฒนธรรมการบริหารของธุรกิจในประเทศไทย ผูเขียนไดเสนอตัวแบบ
            การบริหารทุนมนุษย (Human Capital Management Model) อยูใน 3 ลักษณะดวยกัน
                     1) ลักษณะโมเดลใหมของการบริหาร HR ในศตวรรษที่ 21 ภายใตบทบาทของฝาย HR
            แบบพันธมิตรธุรกิจ (HR as Business Partners) (ดนัย เทียนพุฒ; 2545, 2546)




                                                                 35
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                         Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            รูปที่ 5 : โมเดลใหมของ HR สําหรับศตวรรษที่ 21 (A New HR Model for 21 st Century)




                    ซึ่งในรายละเอียดของโมเดลใหมของ HR สําหรับศตวรรษที่ 21 จะมีดังนี้
                    1.1 กรอบเชิงกลยุทธ HR (Strategic Apex)




                    ในสวนที่เปน กรอบเชิงกลยุทธ HR ซึ่งเปนสวนสําคัญที่สุดในการบริหาร HR คือ
            ทําหนาที่ในฐานะผูเลนเกม หรือการกําหนดกลยุทธ (Strategic Player) ผูเขียนเห็นวา สิ่งที่เปน
            องคประกอบสําคัญในสวนของกรอบเชิงกลยุทธ HR จะประกอบดวย (1) การคิดเชิงกลยุทธของ
            HR (HR Strategic Thinking) หมายถึง HR กําลังมองไปไกลๆวา ทิศทางในอนาคตของ HR กับ
            วิสัยทัศนของธุรกิจจะมุงไปสูจุดเดียวกันไดอยางไรรวมถึงการเขาไปรวมทีมจัดการในการวางกล
            ยุทธองคกรดวย (2) การวางแผนกลยุทธ HR (HR Strategic Planning) คือ การวิเคราะหปจจัย
            ตางๆ ที่มีผลกระทบตองาน HR ซึ่งมีทั้งปจจัยภายในและภายนอกองคกร การทบทวนวิสัยทัศน
            ดาน HR วาสอดคลองกับวิสัยทัศนธุรกิจและนําปจจัยที่มีผลกระทบตองาน HR มาประกอบการ
            พิจารณาเพื่อกําหนดวิสัยทัศนดาน HR กําหนดภารกิจดาน HR วา จะมีขอบเขตผลลัพธสําคัญ
            (KRA: Key Result Area) อะไรบางของ HR (3) ดัชนีวัดผลสําเร็จดาน HR (HR Indicators)
            เมื่อฝาย HR มีวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ และรูขอบเขตผลลัพธสําคัญ การที่ HR จะกลายบทบาท
            เปนผูเลมกลยุทธจําเปนจะตองวัดผลสําเร็จที่เปนตัวเลขทางการเงิน   และผลไดที่ชัดเจน


                    1.2 พันธมิตรธุรกิจ (Business Partners)
                    อธิบายไวแลวแตจะขอเพิ่มความชัดเจนและบทบาทหนาที่ของ HR ในโมเดลใหมโดยจะ
            กําหนดบทบาทไว 2 ดานคือ (1) การจัดการสอดประสาน (Harmonization Management)
            ซึ่งหมายถึง การสรางสัมพันธเชิงธุรกิจกับสายงานปฏิบัติการที่จะรวมกันดําเนินงานบริการดาน HR
            อยางไรจึงจะประสบความสําเร็จตามวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธดาน HR ขณะเดียวกันก็ไดตาม



                                                                36
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                      Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            เปาหมายของฝายปฏิบัติการดวยในขณะเดียวกัน (2) การใหคําปรึกษาเชิงกลยุทธดาน HR คือ
            การใหคําแนะนําดานวิธีการดําเนินการทั้งหมดของงาน HR ใหกับสายงานปฏิบัติการ เมื่อสายงาน
            ปฏิบัติการดําเนินการตามกลยุทธ HR แลวเกิดมีขอปญหาในทางปฏิบัติหรือใน quot;แนวหนาquot;


                   1.3 ทรัพยากรบุคคลสวนกลาง (Corporate HR)
                   งาน HR ในสวนที่เปนงานดานการใหบริการ และธุรการงานบุคคล โดยแยกเปน 2
            กลุมงานคือ (1) ศูนยทรัพยากรผูบริหาร (Executive Resource Center) ทําหนาที่ในดานระบบ
            ขอมูลผูบริหาร (Executive Information System: EIS) และการใหบริการดาน HR กับผูบริหาร
            (2) ศูนยบริการพนักงาน (Administration Services Center)          ทําหนาที่ในดานระบบขอมูล
            พนักงาน (Employee Information System: EMIS) และการใหบริการดาน HR กับพนักงาน


                   2)       ลักษณะโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ              ภายใตการผลักดันของ
            ความสามารถธุรกิจ หรือ Competency based-driven
                   ผูเขียนไดสังเคราะห โมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ (Strategic Human
            Capital Management Model) (ดนัย เทียนพุฒ, 2547) ดังรูปที่ 6


                                  รูปที่ 6 : โมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ




                   รายละเอียดในโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ จะมีดังนี้
                   (1) การจัดวางกลยุทธ (Strategic Alignment) เปนการวางนโยบายทุนมนุษยเพื่อ



                                                             37
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                          Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            สนับสนุนความสําเร็จของวิสัยทัศน ภารกิจ เปาหมายและกลยุทธขององคกร
                    (2)   ความสามารถเชิงกลยุทธ        (Strategic    Competencies)    เปนระบบจัดการคนเกง
            (TMS) คือการสรรหา วาจาง พัฒนาและรักษาคนเกง (Talent People) ดวยความสามารถเชิงกล
            ยุทธที่นําไปสูความสามารถหลักของธุรกิจ (Core Competencies: CC)
                    (3) การเรียน รู (Learning) เปนการสรางวัฒนธรรมการแบงปนความรูที่จะนําไปสูการ
            เรียนรูอยางตอเนื่องจนกระทั่งสะสมทุนทางปญญา (IC) และองคกรที่สรางความร่ํารวยจากความรู
                    (4) ภาวะผูนํา (Leadership) สนับสนุนในการสรางผูนํารุนใหม (New Generation
            Leader) ตามคุณลักษณะของผูนําที่นิยามไว
                    (5) พนักงานสัมพันธแบบใหม (New ERs) เนื่องจากงานบริหารทุนมนุษยจะเปนลักษณะ
            ของการใช Contract Manager เพื่อดูแลระหวางหนวยงาน Outsourcing หรือ Partnering กับ
            พนักงานและองคกร
                    (6) การจัดการผลลัพธเชิงกลยุทธ (Strategic Result Management: SRM) เปนการ
            สรางวัฒนธรรมที่เนนผลงาน ดังนั้นการบริหารคาตอบแทนตามผลสําเร็จ สวัสดิการ การวัดผล
            งานดวย KPIs และการวัดความสามารถ จึงทําเพื่อผลงานที่มีคุณคาสูงสุดตอองคกร
                    โดยทั้งหมดนี้จะมีการจัดทําดัชนีวัดผลสําเร็จดาน      HR     (หรือบางครั้งเรียกวา    HR
            Scorecard) ที่เปนรูปธรรมในการวัดโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ
                    สรุปแลวในรูปแบบลักษณะที่      2     ของโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ ผูเขียน
            ดําเนินการภายใตแนวคิดของ Competency based-driven กับการปรับแนวคิดของพันธมิตรธุรกิจ
            ไปสูแนวคิดการบริหาร HR ในลักษณะผูคุมเกมกลยุทธ (Strategic Player)
                    ระยะขั้นที่ 4 ทุนทางปญญา (IC)
                    เมื่อธุรกิจปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจใหม (The New Economy) สิ่งที่เปนแรงขับทางธุรกิจ
            ไดกลับกลายมาเปนยุคของความรู (Knowledge) หรือสินทรัพยที่จับตองไมได (Intangible
            Assets) หรือนวัตกรรม (Innovation) ซึ่งแตกตางจากระยะขั้นที่ 1และ 2 ซึ่งเปนยุคของสินทรัพย
            ที่จับตองได (Tangible Assets)
                    สําหรับตัวแบบ (Model) หรือโมเดลที่ชัดเจนในดานนี้สําหรับการบริหาร HR หรือการ
            บริหารทุนมนุษย (HC) ที่กาวเขาสูทุนทางปญญา (Intellectual Capital: IC) ที่เปนรูปธรรม
            ยังไมชัดเจนมากนักโดยเฉพาะในประเทศไทย
                    แตสําหรับในตางประเทศ
                    Ulrich (2005) ไดเสนอตัวแบบที่นาจะถือวาอยูในระยะขั้นที่ 4 โดยเรียกวา การกําหนด
            คุณคาของ HR (The HR Value Proposition) ซึ่งจะเกี่ยวกับการปรับฝาย HR ใหเปนกลยุทธ
            ธุรกิจ และ Ulrich ไดสรุปไวในหนังสือ Roadmap to Strategic HR (Christensen, 2006) วา
            “ในที่สุด ความทาทายที่แทจริงของชีวิตและโซลูชั่นที่พิสูจนแลวสําหรับการปรับเปลี่ยนฝาย HR
            คือการมุงธุรกิจ (Business- Focused) ที่เรียกวา “ผูคุมเกมสกลยุทธ” (Strategic Player)
                    พรอมกับการสังเคราะหบทบาทใหมของมืออาชีพดาน HR ในลักษณะที่ประกอบดวย (1)
            นักพัฒนามนุษย (Human Capital Development) (2) พันธมิตรเชิงกลยุทธ (Strategic


                                                                    38
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                         Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            Partner) (3) ผูเชี่ยวชาญใหหนาที่ความรับผิดชอบ (Functional Expert) (4) ผูสนับสนุน
            พนักงาน (Employee (EM) Advocate)
                    และสรุปไววา    การบริหารทุนมนุษยในกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้เปนเรื่อง     การบูรณาการ
            ระหวางสมรรถภาพของบุคคลและองคกร (Individual and Organization Capabilities) เพื่อ
            กําหนดกลยุทธที่สรางคุณคาใหกับลูกคา


                    2. การพัฒนาตัวแบบทุนทางปญญา
                    ความสนใจของผูเขียนในเรื่อง ทุนทางปญญา (IC) มีมานานพอสมควรแตในทาง
            ปฏิบัติที่จะนํามาใชกับองคกรหรือธุรกิจในประเทศไทยแตยังจํากัดและหารูปแบบที่เปนรูปธรรมได
            คอนขางยาก
                    Edvinsson (2002) หนึ่งในผูบุกเบิกดานทุนทางปญญาและเปน Director of
            Intellectual   Capital    คนแรกของโลกไดสรุปทฤษฎีที่ใชอธิบายสินทรัพยที่จับตองไมได      ซึ่ง
            ในทางแนวคิดหรือการประยุกตใชมักจะทดแทนกับทุนทางปญญา (Steward,1997; Edvinsson
            และ Malone, 1997) โดยผูเขียนพัฒนาขึ้นใหมดังรูปที่ 7




                    สําหรับมิติในการมองดานเศรษฐกิจมหภาค (The Macroeconomic Perspective) นี้
            ใชสําหรับประเทศ หรือชาติ การเติบโตทางเศรษฐกิจ และทุนมนุษย (IC) ที่พูดถึงนี้เนนความ
            สําคัญของการลงทุนดานการศึกษา         ขณะที่ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคและนวัตกรรมให
            ความสําคัญกับนวัตกรรมวาเปนสิ่งตองสั่งสม         และการเพิ่มขึ้นในดานกระบวนการดําเนินงาน
            โดยเฉพาะการวิจัยและพัฒนา (R&D)


                                                                39
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                   Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                        ทฤษฎีการเติบโตใหมแสดงใหเห็นความสําคัญของความรูที่เปนแหลงหลักการเติบโต
            และการพิจารณาในหลายๆ รายการ เชน ทุนมนุษย และทุนองคกร (Organizational Capital)
                        สวนทฤษฎีวิวัฒนาการเนนมากที่มิติการเรียนรูขององคกรและใหความสําคัญกับสิ่งที่
            ทําประจําวัน และทฤษฎีอื่นๆ เชน การลงทุนทางปญญาเปนการวิเคราะหที่ใหความสําคัญกับการ
            ลงทุนในสิ่งที่จับตองไมไดและผลกระทบตอผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP)
                        ขณะที่มิติในการมองดานเศรษฐกิจจุลภาค (The Microeconomic Perspective) มอง
            ในดานทรัพยากรเปนหลัก เชน มุมมองดานทรัพยากร จากรูปแบบของทรัพยากรคือ สิ่งที่จับตอง
            ไมไดและความเฉพาะของธุรกิจ                  ในดานความสามารถหลักของธุรกิจเปนสิ่งสําคัญของกลยุทธที่
            มีประสิทธิภาพมากกวาดานการตลาด หรือสมรรถภาพเชิงพลวัต (Dynamic Capabilities) ถือเปน
            ความไดเปรียบในการแขงขันซึ่งธุรกิจตองพัฒนาขึ้นมา                 มุมมองในสิ่งที่จับตองไมไดหรือทุนทาง
            ปญญาใหความสําคัญกับคุณลักษณะเฉพาะของทรัพยากรที่จับตองไมไดในเศรษฐกิจความรู                       ซึ่ง
            ตองพัฒนาและวัดสิ่งที่เกี่ยวกับผลงานและมุมมองดานการสรางความรูเปนประเด็นเริ่มตนขององค
            กรโดยเฉพาะความรูโดยปริยาย                  (Tacit   Knowledge)    และความรูโดยนิยามแนชัด      (Explicit
            Knowledge)
                        Harrisson และ Sullivan (2006) อธิบายวาเรื่องทุนทางปญญาสามารถมองไดใน 4
            ลักษณะคือ          1) มุมมองดานการดึงมูลคาออกมา (Value Extraction Perspective) จะเกี่ยวกับ
            คน กระบวนการความรูโดยปริยายและการประมวลความรู (Tacit & Codified Knowledge)
            เทคโนโลยี ภาพลักษณ และสินทรัพยที่เปนสวนประกอบของธุรกิจ 2) มุมมองดานผูลงทุน
            (Investor Perspective) จะเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนทรัพย
            สินทางปญญา ลูกคาและการวัดดานการเงิน 3) มุมมองดานความรูและนวัตกรรม (Knowledge
            & Innovation Perspective) เชน ความรู ความสัมพันธ ภาพลักษณ กระบวนการ คนและเทค-
            โนโลยี และ 4) มุมมองดานการวัดและรายงาน (Measurement and Reporting Perspective)
            เชน IC Multiplier IC Accounting และ IC Metric
                        ผูเขียนไดสรุปเกี่ยวกับความหมายและองคประกอบของตัวแบบทุนทางปญญา (IC
            Model) ไวดังนี้
                        1) ทุนทางปญญา หมายถึง ความรูที่ปรับเปลี่ยนสินทรัพยที่จับตองไมไดใหมีคุณคา
            เพิ่มขึ้น    ซึ่งสินทรัพยที่จับตองไมไดนี้เปนผลรวมของสิ่งตอไปนี้      ซึ่งเรียกวาองคประกอบของทุน
            ทางปญญาคือ
                                 (1) ทุนมนุษย (Human Capital) เชน ความเชี่ยวชาญเฉพาะ การริเริ่มและ การ
                        เรียนรูและจัดการความรูใหเพิ่มขึ้น
                                 (2) ทุนความสัมพันธ (Relational Capital) เชน ความสัมพันธกับลูกคา ผูรวมคา
                        หรือผูที่เกี่ยวของกับธุรกิจ
                                 (3) ทุนโครงสราง (Structural Capital) เชน สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา ตรา
                        สินคาลิขสิทธิ์ ความลับทางการคา ระเบียบวิธี ซอฟทแวร เอกสารและรูปแบบอื่นๆที่อยูกับ
                        องคกร


                                                                          40
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                         Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                    2) สินทรัพยที่จับตองไมได (Intangible Assets) หมายถึง สิ่งที่ไมไดอยูในรูปแบบ
            ทางกายภาพ เชน การวิจัยและพัฒนา โฆษณา ตราสินคา สิทธิบัตร ความสามารถเฉพาะบุคคล
            แตสามารถสรางสิ่งที่มีคุณคากับบริษัท ซึ่งบริษัทไมอาจจะควบคุมไดทั้งหมด
                    3) ตัวแบบ (Model) เปนการบรรยายหรือกําหนดสิ่งที่เปนกุญแจสําคัญสําหรับทํา
            ความเขาใจวา บริษัทหรือองคการมีความรูที่จะเปลี่ยนสินทรัพยที่จับตองไมไดไปยังคุณคาได
            อยางไร โดยจะมีคุณลักษณะ เชน 1) ความเปนระบบ (Systematic) 2) ระบบเปด (Open) 3)
            พลวัต (Dynamic)
                    4) มีลักษณะทําใหเหมาะได (Adaptive) และ 5) เปนนวัตกรรม (Innovation) ดังนั้น
            ตัวแบบทุนทางปญญา         หรือตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญา (Strategic IC Model:
            SICM) จึงเปนเครื่องมือการจัดการธุรกิจที่สามารถใชเพื่อพัฒนาและกํากับติดตามวา บริษัทไดมี
            วิธีดําเนินการในการใชความสามารถและทรัพยากรความรูที่มีอยูเพื่อสรางคุณคาเพิ่มขึ้น
                    สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการพัฒนาตัวแบบทุนทางปญญา หรือตัวแบบ SICM ซึ่งเปน
            ผลการวิจัยผูเขียนจะอธิบายไวเปนกรณีศึกษาโดยเฉพาะในหัวขอตางหาก


            การพัฒนาตัวแบบ SICM
                    การพัฒนาตัวแบบ SICM หรือ ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจ
            ไทย (Strategic Intellectual Capital Model for Thai Enterprises) เปนการวิจัยเพื่อสรางและ
            พัฒนาตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาที่จะใชอธิบายความไดเปรียบในการแขงขันที่
            สอดคลองกับวัฒนธรรมการบริหารของธุรกิจไทย โดยเปนการวิจัยเชิงกรณีศึกษา               ธุรกิจไทยที่
            ผลิตและจําหนายกระเบื้องยางปูพื้นขนาดกลางและขนาดยอมในประเทศไทย                 มีบริษัทผลิตอุป-
            กรณกอสรางเปนกรณีในการศึกษา         ซึ่งไดสรางและพัฒนาตัวแบบ SICM           รูปแบบเพื่อการ
            ทํานาย (Predicted Pattern) ที่ไดมาจากการสังเคราะหวิสัยทัศน ภารกิจของบริษัทกรณีศึกษา
            ตามแนวทางของ Heng (2001) และเก็บรวบรวมขอมูลกรณีศึกษาเพื่อสรางรูปแบบเชิงประจักษ
            (Empirically-Based         Pattern)         โดยการออกแบบโปรโตคอลและความเปนไตรวิธีการ
            (Triangulation) ในการเก็บรวบรวมขอมูล และมีผูใหขอมูลสําคัญ (Key Information) จํานวน 26
            คน ตั้งแต 12 ตุลาคม พ.ศ.2548 ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2549
                    วิธีการวิจัยไดดําเนินการพัฒนาตัวแบบ SICM จากการเปรียบเทียบระหวางรูปแบบเพื่อการ
            ทํานายกับรูปแบบเชิงประจักษ      โดยการสังเคราะหหาลักษณะรวมขององคประกอบหลักและยอย
            การวิเคราะหขามกรณีศึกษา (Cross-Case Analysis) เพื่อยืนยันองคประกอบหลักและ
            ยอยของ IC กับการวัดทุนทางปญญาสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในประเทศไทย
            (อนงคนาฎ ศรีวิหคและอรุณี อินทรไพโรจน, 2547) หลังจากนั้นทําการสังเคราะหดวยวิธีการ
            วิเคราะหความเหมาะสมของดัชนีบงชี้หรือ       KPIs    (Meta-Indicator       Analysis)    ระหวาง
            สแกนดิเนเวียเนวิกเกเตอร (Skandia Navigator) กับดัชนีวัดผลสําเร็จตามภารกิจของบริษัทฯ
            กรณีศึกษา
                    ผลการวิจัยพบวา ตัวแบบ SICM ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัทผลิตอุปกรณกอสราง จะมีองค


                                                                41
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                           Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            มีองคประกอบหลัก 4 องคกระกอบคือ
                     1)    ทุนภาวะผูนํา    (Leadership       Capital)     หมายถึง วิสัยทัศน    อุดมคติหลัก
            วัฒนธรรมเชิงคุณคา     ภาวะผูนําในการจัดการ     ผลการวิจัยพบวามี    2 องคประกอบยอยคือ (1)
            วัฒนธรรมเชิงคุณคา และ (2) ความภูมิใจในประสิทธิภาพขององคการมีดัชนีบงชี้ 4 ดัชนี
                     2) ทุนความสัมพันธ (Relational Capital) หมายถึง ความสัมพันธของธุรกิจกับผู
            รวมคา ลูกคาและพนักงานกับตลาด       ผลการวิจัยพบวามี 5 องคประกอบยอยคือ           (1)
            ความสัมพันธกับลูกคา (2) ความสัมพันธกับผูรวมคา (3) ความสัมพันธกับพนักงาน (4) ความ
            พึงพอใจและจงรักภักดีตอองคการของลูกคา และ (5) การรักษามูลคาเพิ่มในบริการ มีดัชนีบงชี้ 9
            ดัชนี
                     3)    ทุนองคการ      (Organizational       Capital)     หมายถึง    กระบวนการกิจกรรม
            กระบวนการเรียนรู องคการและโครงสราง ทรัพยสินทางปญญา คุณสมบัติเฉพาะของผลิตภัณฑ
            และฐานขอมูลทางความรู ผลการวิจัยพบวามี 4 องคประกอบยอยคือ (1) กระบวนการเรียนรูในการ
            ผลิต (2) ทรัพยสินทางปญญา (ตราสินคา เครื่องหมายการคาและซอฟทแวร) (3) คุณสมบัติ
            เฉพาะผลิตภัณฑ (4) ฐานขอมูลทางความรู มีดัชนีบงชี้ 8 ดัชนี และ
                     4) ทุนทรัพยากรบุคคล (Human Resource Capital) หมายถึง การบริหาร
            ทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ผลการวิจัยพบวามี 5 องคประกอบยอยคือ (1)
            ความเชี่ยวชาญเฉพาะ (2) การริเริ่มและการเรียนรู (3) การจัดการความรูใหเพิ่มขึ้น (4) การฝก
            อบรมและพัฒนา และ (5) สวัสดิการและการดูแลพนักงาน มีดัชนีบงชี้ 9 ดัชนี โดยตัวแบบ SICM
            จะเปนดังนี้


                     ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย




                                                                  42
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                               Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                        องคประกอบยอย                        ดัชนีบงชี้ หรือ KPIs
                        (1) กระบวนการเรียนรูในการ            - กําไรที่ไดจากการดําเนินธุรกิจใหม
             ทุนภาวะ        ผลิต                              - มูลคารวมของทรัพยสิน
               ผูนํา   (2) ทรัพยสินทางปญญา          (ตรา     มีผลิตภัณฑใหมขึ้นมาในแตละป
                            สินคา,   เครื่องหมายการคา,      - การลงทุนดานวิจัยและพัฒนาตนทุน
                            ซอฟทแวร)                           การผลิตตอตรม.อยูในเกณฑที่
                        (3) คุณสมบัติเฉพาะผลิตถัณฑ              กําหนดคาใชจายในการพัฒนา
                                                                              
                                                                 ผลิตภัณฑตอรายการตอป
                        (4) ฐานขอมูลทางความรู
                                                              - ระดับการปรับใหมและพัฒนาดาน
                                                                ตนทุน
                                                              - อัตราการปรับสูมาตรฐานในคุณภาพ
                                                                              
                                                                อุตสาหกรรม


            ทุน         (1) ความเชียวชาญเฉพาะ
                                   ่                          - มูลคาเพิ่มตอพนักงาน
            ทรัพยากร    (2) การริเริ่มและการเรียนรู             คาใชจายดานการฝกอบรมตอ
            บุคคล       (3) การจัดการความรูใหเพิ่มขึ้น         คาใชจายบริหาร คาใชจายทั่วไป
                        (4) การฝกอบรมและพัฒนา                  ดานการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน
                        (5) สวัสดิการและการดูแล               - คาใชจายในการจัดหาและทดแทน
                            พนักงาน                              ตําแหนง
                                                              - จํานวนครั้งในการฝกอบรม
                                                              - ผลการประเมินผลจากขอสอบ
                                                                วิธีการประเมินผลของผลตอบแทน
                                                                 ตางๆ
                                                              - ผลการประเมินผลพนักงาน
                                                              - ดัชนีความพึงพอใจของพนักงาน




                                                        43
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                      Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




            บทสรุป : ความทาทายใหมของ HR ดวยตัวแบบทุนทางปญญา


                   มุมมองใหมของการบริหาร HR ในศตวรรษที่ 21 คือ การสรางสมรรถภาพเชิงกลยุทธ
            การขยายขอบเขตดาน HR และการจัดการบทบาทใหมของ HR (Lengnick-Hall, 2003) โดย
            เฉพาะตัวแบบ SICM ที่มี 4 องคประกอบคือ ทุนภาวะผูนํา ทุนความสัมพันธ ทุนองคการ และทุน
            ทรัพยากรบุคคล ซึ่งใกลเคียงกับที่ Lengnick-Hall เสนอไว ตามแนวคิดของ Saint-Onge วาฝาย
            งานใหมของ HR จะเรียกวา หนวยสมรรถภาพเชิงกลยุทธ (Strategic Capabilities Unit: SCU)
            ซึ่งมีองคประกอบหลักที่สัมพันธโดยตรงกับ HR คือ ทุนความสัมพันธ ที่เปนความสัมพันธระหวาง
            ภายในบุคคลขามสมาชิกของธุรกิจและความสัมพันธกับซัพพลายเออร                ลูกคาและการรวม
            สนับสนุนในการดําเนินงาน ทุนโครงสราง เปนการออกแบบองคกรและจัดกระบวนการที่สนับสนุน
            ใหทุนมนุษยสรางมูลคาทางการตลาด และทุนมนุษย คือ โนว-ฮาว ทักษะและสมรรถภาพของ
            บุคคลในองคกรโดยที่หนวยสมรรถภาพชิงกลยุทธ (SCU) นี้เปนโมเดลใหมของทุนมนุษยที่กาว
            ไปสูทุนทางปญญาในการบริหาร HR ซึ่งจะมีขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบใน 4 ขอบเขตคือ
                   1) การบริการสมาชิก (Membership Services) คือ ใหบริการดาน HR ทั้งแกพนักงาน
            และลูกคาองคกร
                   2) ที่ปรึกษาดานสมรรถภาพองคกร (Organizational Capabilities Consultants) ซึ่งทํา
            ดานการจัดวางสมรรถภาพองคกรและสรางใหเกิดสมรรถภาพองคกร เชน ภาวะผูนํา วัฒนธรรม
            กระบวนการ โครงสรางและกลยุทธ
                   3) จินตวิศวกรความรู (Knowledge Imagineer) ทําหนาที่สรางสมรรถภาพองคกร ดูแล
            และจัดการสินทรัพยทางความรู การออกแบบคลังความรู กําหนดรูปแบบองคการนักปฏิบัติ และ
                   4) จัดเตรียมความพรอมในการเปลี่ยนแปลง (Change Readness) คือ การเปลี่ยนผาน
            และปรับองคกรใหม
                   สรุปแลวการพัฒนาใหมดาน ตัวแบบ (Model) ทุนมนุษย ถาสามารถกาวมาสูแนวคิด
            ของตัวแบบ SICM ไดจะทําใหฝาย HR ของธุรกิจบริหาร HR ในลักษณะที่เรียกวา หนวย SCU
            หรือหนวยสมรรถภาพเชิงกลยุทธ ซึ่งจะตอบสนองและรองรับการเปลี่ยนแปลงสูธุรกิจแหง
            นวัตกรรมและเศรษฐกิจใหมไดอยางแทจริง




                                                             44
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                     Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                                                    อางอิง


            ดนัย เทียนพุฒและคณะ (2541). รายงานการวิจัยเรื่องทิศทางและบทบาทการบริหาร
                   ทรัพยากรบุคคลในทศวรรษหนา (ป พ.ศ.2550). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการงาน
                   บุคคล PMAT
            ดนัย เทียนพุฒ (2549). ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย :
                   ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัทผลิตอุปกรณกอสราง. ดุษฎีนิพนธหลักสูตรการจัดการดุษฎี
                   บัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
            ดนัย เทียนพุฒ (2548). คาตอบแทนตามผลสําเร็จ. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital.
            ดนัย เทียนพุฒ (2547). การพัฒนามูลคาทุนมนุษย. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital.
            ดนัย เทียนพุฒ (2546). พลวัตการบริหารคน. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital.
            ดนัย เทียนพุฒ (2546). ธุรกิจของ HR B2E: Business to Employee. กรุงเทพฯ:
                   โครงการ Human Capital.
            ดนัย เทียนพุฒ (2544). ความสามารถปจจัยชนะของธุรกิจและคน. กรุงเทพฯ: โครงการ
                   Human Capital.
            ดนัย เทียนพุฒ (2545). การบริหารทรัพยากรบุคคลสูศตวรรษที่ 21 . พิมพครั้งที่ 2.
                   กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital.
            อนงคนาฏ ศรีวิหค และ อรุณี อินทรไพโรจน (2545). Measurement of Intellectual
                   Capital for Thai SMEs: 10 Case Studies: Asia IT&C, Project 22-32,
                   Europe Aid Cooperation Office [On-line]. Available:
                   http://pirun.ku.ac.th~fscing/km4sme/library/SME/Eng/Annex1CWP12.pdf.
            Bounfour, A.&Edvinsson, L.(2005). Intellectual Capital for Communities. MA:
                   Elsevier Butterworth-Heinemann.
            Christensen, R. (2006). Roadmap to Strategic HR. New York: AMACOM.

            Drucker, P.F. (1999). Management Challenges for the 21 st Century. New
                   York: Harper Collins.
            Edvinsson, L. (2002). Corporate Longitude. London: Pearson Education.
            Edvinsson, L.& Malone, M.S., (1997). Intellectual Capital. New York: Harper
                   Collins.
            Harrison, S, S. & Sullivan, P.H. (2006). Einstein in the Boardroom. New Jersey:
                   John Wiley & Sons.
            Jackson, S. and Others. (2003). Managing Knowledge for Sustained Competitive
                   Advantage. CA: John Wiley & Sons.




                                                              45
ดร.ดนัย เทียนพุฒ   Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges




                          46

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยวิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยTouch Thanaboramat
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41PMAT
 
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติบทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติTouch Thanaboramat
 
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1Touch Thanaboramat
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกtakuapa
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรักPradya Wongworakun
 
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThGoogle Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกาTongsamut vorasan
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556 PRgroup Tak
 

Mais procurados (20)

Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยวิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
 
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติบทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
บทท่องสอบวิทยากร เพื่อออกไปสอนธรรมภาคปฏิบัติ
 
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
คู่มือสำหรับสอบวิปัสสนาจารย์1
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
The Sulotion Focus
The Sulotion FocusThe Sulotion Focus
The Sulotion Focus
 
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
5 43++มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
 
Dict sadda 2
Dict sadda 2Dict sadda 2
Dict sadda 2
 
Entrepreneurship
EntrepreneurshipEntrepreneurship
Entrepreneurship
 
No phone on the road
No phone on the roadNo phone on the road
No phone on the road
 
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
 
บัญญัติรัก
บัญญัติรักบัญญัติรัก
บัญญัติรัก
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide ThGoogle Search Engine Optimization Starter Guide Th
Google Search Engine Optimization Starter Guide Th
 
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
test
testtest
test
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556              วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
วันเยาวชนแห่งชาติ ปี 2556
 

Destaque

Destaque (7)

Ser Y Estar
Ser Y EstarSer Y Estar
Ser Y Estar
 
Fotosasombrosas
FotosasombrosasFotosasombrosas
Fotosasombrosas
 
Cow2
Cow2Cow2
Cow2
 
Sonata Claro De Luna
Sonata Claro De LunaSonata Claro De Luna
Sonata Claro De Luna
 
El Angulo Perfecto(El)
El Angulo Perfecto(El)El Angulo Perfecto(El)
El Angulo Perfecto(El)
 
Nicholle Molina 7 B
Nicholle Molina 7 BNicholle Molina 7 B
Nicholle Molina 7 B
 
The Road Not Taken
The Road Not TakenThe Road Not Taken
The Road Not Taken
 

Mais de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

Developing Hc

  • 1. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges ดร. ดนัย เทียนพุฒ บทคัดยอ การบริหารคน หรือการบริหาร HR มีการพัฒนาการที่ไมมากนักโดยเฉพาะในองคความรู ดาน HR สําหรับธุรกิจในประเทศไทย แตการทวีความสําคัญมากขึ้นของการบริหาร HR จากการเปลี่ยนแปลงและแขงขันที่ รวดเร็วของธุรกิจ ทําใหความจําเปนตองสรางหรือพัฒนาตัวแบบ (Model) การบริหาร HR ที่ เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงและการแขงขันดังกลาว ผูเขียนไดสังเคราะหมิติของทุนมนุษย : อดีต ปจจุบันและอนาคต ตามระยะขั้นการ พัฒนาดาน HR ออกเปน 4 ระยะขั้นคือ ระยะขั้นที่ 1 งานดานบุคคล (PNL) ระยะขั้นที่ 2 การ บริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ระยะขั้นที่ 3 ทุนมนุษย (HC) และระยะขั้นที่ 4 ทุนทางปญญา (IC) ภายใตแรงขับทางธุรกิจ ซึ่งในระยะขั้นที่ 1 และ 2 เปนมุมมองของแนวคิดที่เรียกวา สินทรัพย ที่จับตองได (Tangible Assets) และระยะขั้นที่ 3 และ 4 เปนมุมมองของแนวคิดที่เรียกวา สินทรัพยที่จับตองไมได (Intangible Assets) พรอมเสนอการพัฒนาตัวแบบ SICM ที่จะเหมาะสม กับธุรกิจไทยในการบริหาร HR ดวยทุนทางปญญา และในบทสรุปไดอธิบายถึง ความทาทายใหมของฝาย HR ภายใตตัวแบบทุนทางปญญา ที่เรียกวา หนวยสมรรถภาพเชิงกลยุทธ (Strategic Capabilities Unit: SCU) 27
  • 2. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges บทนํา quot;คนquot; (People) เปนสิ่งเดียวในโลกที่มีความสําคัญและมีคุณคาอยางอเนกอนันตตอการ ดํารงอยูและลมสลายของโลกใบนี้ และถาศึกษายอนหลังไปธุรกิจใหความสนใจในเรื่อง คน มา อยางตอเนื่องทุกยุคทุกสมัย ซึ่งเห็นไดจากการที่บรรดา CEO หรือผูบริหารระดับสูงของทุกองค กรตางพูดเหมือนกันหมดวา quot;คนเปนทรัพยสินที่มีคุณคามากที่สุดquot; ดรักเกอร (Drucker, 1999) กลาวไววา ศตวรรษที่ 21 ไมใชเรื่องของการบริหารพนักงาน แตเปนเรื่องการบริหารคน (People Management) ในขณะที่การพัฒนาดานองคความรูของ HR (Human Resource) ของประเทศไทยจาก อดีตจนถึงปจจุบันมีอยู 3 ยุคดวยกันคือ ยุคที่ 1 กอนป พ.ศ.2540 เปนยุคของบทบาทและหนาที่ ความรับผิดชอบของฝาย HR ในฐานะงานสนับสนุนองคกร (Supporting Process) ยุคที่ 2 ตั้งแต ปพ.ศ.2541-ปพ.ศ.2543 เปนยุคของบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย HR ใน ฐานะพันธมิตรธุรกิจ (Business Partners) และยุคที่ 3 ความทาทายจากปจจุบันสูอนาคต เปน ยุคของบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของฝาย HR ในฐานะผูคุมเกมกลยุทธ (Strategic Player) (ดนัย เทียนพุฒ, 2545) แมวาธุรกิจจะใหความสําคัญดานคนเปนอยางมาก แตกลับกันองคความรูดาน HR (The Body of HR Knowledge) มีการพัฒนาในระดับที่นอย หรือแทบไมเห็นเกิดขึ้นมากมายที่จะเปน องคความรูดาน HR ในบริบทของสังคมและธุรกิจในประเทศไทยจากทั้งนักปฏิบัติดาน HR (HR Practicetioner) และมืออาชีพดาน HR (HR Professional) การเฝาติดตามและการสังเกตในธุรกิจ โดยผูเขียนมีประเด็นที่เปนคําถามตอความทาทาย สําหรับนักปฏิบัติดาน HR มืออาชีพดาน HR และนาจะครอบคลุมถึงนักวิชาการดาน HR เพื่อการ คิดหาสิ่งที่เปนนวัตกรรมในวิธีวิทยาการดาน HR สําหรับศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะกับบริบท และ วัฒนธรรมการบริหารของธุรกิจในประเทศไทย 1. ปรัชญา (Philosophy) หลักการ (Principle) และแนวคิดพื้นฐานดาน HR (HR Ground Rules) มีความจําเปนตองทบทวนหรือปรับเปลี่ยนทั้งในเชิงบริบท (Context) และเนื้อหา (Contents) เชน ระบบคุณธรรม (Merit System) ในการบริหารคน หรือ HR Policies HR Practices และ HR Processes. สิ่งนี้มีความสําคัญเปนอยางมาก เมื่อใดที่องคกรหรือฝาย HR ขาดความรู ความเขาใจในปรัชญาและสิ่งที่เปนหลักยึดดาน HR เปลี่ยนสิ่งที่เปนเจตนจํานงหรือ สาระในระบบคุณธรรม จนกระทั่งสงผลกระทบตามมาทั้ง HR Policies, HR Practices และ HR Processes เชน การแตงตั้งบุคลากรหรือผูบริหารระดับสูง โดยออกกฎเกณฑลมลางหรือยกเลิก วิธีปฏิบัติเดิมเพื่อสนองนโยบายผูมีอํานาจและแตงตั้งผูที่ยังขาดคุณสมบัติใหไดรับโอกาสพิเศษ 28
  • 3. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges ตอการเลื่อนตําแหนงจนแสดงใหเห็นถึงวิกฤตศรัทธาตอหนวยงานดาน HR ที่ยึดระบบคุณธรรม 2. ศาสตรในวิชาชีพ HR (HR Profession) ซึ่งในปจจุบันจะมีทิศทางหรือ แนวโนมในลักษณะดังตอไปนี้ 1) สถาบันวิชาชีพที่ใหบริการความรู เชน สถาบันฝกอบรม บริษัทที่ปรึกษาธุรกิจ จะมีขีด ความสามารถที่สูงในการสรางและพัฒนาศาสตรในวิชาชีพดาน HR 2) ในทางกลับกันสถาบันการศึกษากลับไมอาจสนองตอบ หรือมีความโดดเดนทาง วิชาการที่เพียงพอ โดยเฉพาะในระเบียบวิธีวิทยาการและเนื้อหาดาน HR โดยมีขอสังเกตจากผู บริหารธุรกิจระดับสูงหลายธุรกิจที่ใชผลผลิตจากสถาบันการศึกษา ตางมีขอกังขาและเห็นวาผูที่ รับผิดชอบฝาย HR ในปจจุบัน ขาดเนื้อหาที่เปนแกนของวิชาชีพดาน HR ในการสนองตอบตอ ธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งตอสภาพการแขงขันของธุรกิจในปจจุบัน 3. การพัฒนาสรางตัวแบบ (Model) พาราไดม (Paradigm) หรือกรอบแนวคิด (Framework) ดาน HR เพื่อใชในบริบทและวัฒนธรรมการบริหารที่สอดคลองอยางแนบ สนิทกับธุรกิจในประเทศไทย เรื่องนี้นับวาเปนสิ่งทาทายที่เรงดวนตอนักปฏิบัติดาน HR มืออาชีพดาน HR และ นักวิชาการดาน HR เปนอยางยิ่ง เพราะสิ่งที่เปนปรากฏการณดาน HR ของประเทศไทย โดย ภาพรวมจะมีลกษณะ ั 1) เปนการนําผลการศึกษาหรือสํารวจจากบริษัทที่ปรึกษาจากตางประเทศที่ถอดแบบ มาใชในบริบทขององคกรธุรกิจในประเทศไทย 2) การศึกษาและวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา ยังตองการความลุมลึกทางการวิจัยที่ มากกวาที่เปนอยู และไมมากพอที่จะสรางทฤษฎี หรือหลักการดาน HR ของไทยเราเอง สิ่งที่หยิบยกมาขางตนเปนประเด็นคําถามที่ตองการ การศึกษาวิจัยมากกวาการโตแยง เชิงความคิด หรือการยกเหตุผลมาอธิบายเพื่อใหมีคําตอบที่พึงพอใจ วิชาชีพดาน HR ตองการนวัตกรรมใหม องคความรูใหมๆ ที่จะสามารถหยิบใชไดอยาง เหมาะสมกับวัฒนธรรมการบริหารที่สอดคลองกับธุรกิจไทยหรือธุรกิจในประเทศไทย ในบทความนี้ ผูเขียนไดนําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ มิติของทุนมนุษย : อดีต ปจจุบันและอนาคต ใน 2 สวนคือ สวน ที่ 1. บทบาท ตัวแบบและความทาทายของ HR สวนที่ 2. การพัฒนา ตัวแบบทุนทางปญญา การ พัฒนาตัวแบบ SICM และบทสรุป: ความทาทายใหมของ HR ดวยตัวแบบทุนทางปญญา ซึ่งมี รายละเอียดเปนลําดับไปดังนี้ มิติของทุนมนุษย : อดีต ปจจุบันและอนาคต การที่ธุรกิจจะมีความไดเปรียบในการแขงขันอยางยั่งยืนธุรกิจจะตองมี 2 ลักษณะ คือ (Wright, Dunford และ Snell, 2001) 29
  • 4. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges 1) เปนเจาของ “คน (People)” ในความแตกตางและดีกวาดานทักษะและความรูมากกวา คูแขงขันหรือการปฏิบัติดาน HR ที่จะชวยใหแตกตางหลากหลายจากคูแขงขัน และ 2) มีการปฏิบัติหรือทักษะและความสามารถ ที่เปนสิ่งซึ่งคูแขงไมอาจจะทําตาม หรือ เลียนแบบได ขณะเดียวกัน ASTD (2003; อางจากดนัย เทียนพุฒ, 2547) ไดศึกษาถึง ความทาทาย ของทุนมนุษยและไดกลาวถึงสิ่งที่เปนอุปสรรคของการบริหารและพัฒนาทุนมนุษยไวดังนี้ 1) ความออนหัดในการวางสถาปตยกรรมของงานและการออกแบบงาน 2) ขอจํากัดจากความเครียดและคนเกาๆ ที่มีอยูของพนักงานที่จะขับเคลื่อนไปยัง quot;ความ เกงใหมquot; 3) พนักงานรูสึกวาควรทําใหเขาทํางานไดอยางเหมาะสมมากกวาที่จะตองทาทายและจูง ใจตนเอง 4) มีความลมเหลวของการดําเนินการดานผลงานรวมถึงคาตอบแทน การออกแบบงาน การฝกอบรมและการจัดการผลงาน 5) ขาดการเชือมโยงระหวางการปฏิบัติดานทุนมนุษยกับผลงานและเปาหมายขององคกร ่ 6) ความลมเหลวของการวัดที่แมนตรงในคุณภาพของการฝกอบรมและผลได ของการเรียนรู สิ่งที่เปนประเด็นพูดถึงกันมากเกี่ยวกับทุนมนุษย (Human Capital: HC) จะมีในดาน ความเขาใจและความแตกตางของเนื้อหาระหวาง quot;ทรัพยากรบุคคล หรือทรัพยากรมนุษย (Human Resource)quot; กับ quot;ทุนมนุษย (Human Capital)” และโดยเฉพาะอยางยิ่ง quot;ทุนมนุษยกับ ทุนทางปญญา (Intellectual Capital: IC)quot; สรุปแลว ความสําคัญของการทําความเขาใจในอดีตและปจจุบันของ HR ที่ผานมา โดยเฉพาะประวัติศาสตรของ HR ที่เรียกวา Personnel (การพนักงาน บุคลากรหรือการเจาหนาที่) ซึ่งเนนวิธีการที่เนนงาน (Job-based Approach) (Jackson และคณะ, 2003) มีความสําคัญ เปนอยางยิ่งตอการพัฒนาตัวแบบ (Model) ของทุนมนุษย 1. บทบาท ตัวแบบและความทาทายของ HR การบริหาร HR ที่อธิบายกันในธุรกิจ มักจะกลาวถึง บทบาท (Role) และหนาที่ความ รับผิดชอบ (Function) ของ HR ขณะที่การอธิบายหรือพัฒนาดานตัวแบบ (Model) ของ HR มี อธิบายไวภายใตเรื่องดังกลาวสวนที่จะแยกออกมาอธิบายอยางชัดเจนยังทําไมมากนัก การบริหาร HR ในยุคแรกๆ ของไทย คงเริ่มตนมาพรอมกับการคาแบบ อุตสาหกรรม จนกระทั่งในป พ.ศ.2499 มีการประกาศใชพระราชบัญญัติแรงงานฉบับแรก ซึ่งมี บทบัญญัติวาดวยการคุมครองแรงงานและแรงงานสัมพันธรวมไวดวยกัน และภายหลังป พ.ศ. 2501 รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ สงเสริมการลงทุนและสนับสนุนการยก มาตรฐานการจัดการธุรกิจและการบริหารงานบุคคล ในชวงปพ.ศ.2501-2510 มีความสนใจ เกี่ยวกับการทํางานในวงการอุตสาหกรรมมากขึ้น มีการแสวงหาความรูทางการบริหารงานบุคคล 30
  • 5. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges และแรงงานสัมพันธ นับเปนปรากฏการณเริ่มแรกและไดพัฒนามากขึ้นเปนลําดับตั้งแตนั้นมา (ดนัย เทียนพุฒ และคณะ, 2541; อางจาก เพ็ญศรี วายวานนท, 2533) จากการศึกษาหนังสือ งานวิจัย เอกสาร ขอเขียนและขอมูลทางอินเตอรเน็ตดานการ บริหาร HR ในชวงป พ.ศ.2541 จนถึงปจจุบัน ตลอดจนการเฝาติดตามและสังเกตปรากฏการณ ดาน HR จากการเปนที่ปรึกษาธุรกิจในชวงหนึ่งทศวรรษ (ป พ.ศ. 2539 ถึงปจจุบัน) ผูเขียน สังเคราะห กรอบแนวคิดทางทฤษฎีดาน HR (HR Theoretical Framework) ของธุรกิจไดเปน quot;4 ลําดับขั้นของตัวแบบ HR (The 4 Stages of HR Model)quot; โดยแตละลําดับขั้นจะขึ้นอยูกับ รูปแบบที่เฉพาะของบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของ HR ภายใตหลักการที่เปนสิ่งกําหนด นโยบายการปฏิบัติและกระบวนการของ HR จากองคกรธุรกิจ ดังรูปที่ 1 HRM ในเศรษฐกิจความรู 31
  • 6. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges จากรูป HRM ในเศรษฐกิจความรู: บทบาทใหม ตัวแบบใหมและความทาทายใหม (HRM in the Knowledge Economy: New roles, New models and New Challenges) มี รายละเอียดใน quot;4 ลําดับชั้นของตัวแบบ HRquot; ดังนี้ ระยะขั้นที่ 1 งานดานบุคคล (PNL) คําวา งานดานบุคคล (Personnel: PNL) สิ่งที่เปนพื้นฐานในการกําหนด PNL มาจาก แนวคิดของวิธีการที่เนนงาน (Job based approach) และธุรกิจหรือผูบริหารระดับสูงขององคกร จะมองงาน PNL อยูในฐานะงานสนับสนุนองคกร ในยุคนั้นไมไดเรียกวา ตัวแบบ แตเรียกวา วงจรบริหารงานบุคคลและแนวคิดที่ยอมรับ มากที่สุดเปนของ Devanna Fombrun และ Tichy (1984; อางจาก ดนัย เทียนพุฒและคณะ, 2540 หนา 39-40) ซึ่งเปนดังรูปที่ 2 รูปที่ 2 : วงจรการบริหารงานบุคคล โดยอธิบายไดวา ในวงจรการบริหารงานบุคคล มีหัวใจสําคัญอยู 5 ขอบเขตดวยกัน (ดนัย เทียนพุฒ, 2545) คือ ขอบเขตที่ 1 การคัดเลือก (Selection) คือ กระบวนการทั้งหมดใน การคัดเลือกคน เขาสูธุรกิจหรือองคกร เชน การรับสมัคร การสอบสัมภาษณ การทดสอบ การวาจาง อาจจะรวมไป 32
  • 7. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges ถึงการทดลองงานกอนการวาจางดวย ขอบเขตที่ 2 ผลงาน (Performance) ของคนทํางาน หรือพนักงานที่ผาน กระบวนการคัดเลือกเขาสูองคกรมาแลว โดยมีคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description) เปน หลัก หรืออาจมีขั้นตอนแผนงาน (Action Plan) หรือเปาหมายในการทํางาน เปนสิ่งที่กําหนดขึ้น กอนการปฏิบัติงาน (Performance) เมื่อปฏิบัติงานไปรอบระยะเวลาหนึ่งจะมี การวัดผลงาน หรือการประเมินผลเพื่อจะไดกําหนดแนวทางการปรับปรุงหรือพัฒนางานตามคําบรรยายลักษณะ งาน ขั้นตอนงาน แผนงาน หรือเปาหมายนั้นไดบรรลุตามที่กําหนดไวหรือไม โดยสรุปแลวจะเปน เรื่องกําหนดงาน มาตรฐานงาน การออกแบบงาน ฯลฯ ขอบเขตที่ 3 ประเมินผลงาน (Performance Appraisal) ตามระยะของผลงานที่อยู ในขอบเขตที่ 2 วา ผลงานสูง-ต่ํากวามาตรฐานงานที่กําหนดไวมากนอยเพียงใดเพื่อจะไดจูง ใจใหคนทํางานตอไป ขอบเขตที่ 4 รางวัล (Rewards) เปนการใหรางวัลจูงใจกับผลงานตามที่บุคคลได ดําเนินงานหรือ ปฏิบัติตามภารกิจ ซึ่งการใหรางวัลอาจจะมีทั้งที่เปนมาตรการทางบวก เชน การ ปรับเงินเดือน เลื่อนตําแหนง แตงตั้งโอนยาย ที่เปนผลสะทอนถึงผลงานของแตละบุคคลที่ทํา ได กับมาตรการทางลบเพื่อจูงใจบุคคลที่มีพฤติกรรมไมพึงประสงค เชน มาตรการทางวินัย เปนตน บางครั้งยังแบงรางวัลจูงใจเปนทั้งที่อยูในรูปของตัวเงินและไมใชตัวเงิน ขอบเขตที่ 5 การพัฒนา (Development) ในเรื่องการพัฒนาคนหลายยุคหลายสมัย ที่ผานมาจนถึงปจจุบัน ยังคงมุงอยู 2-3 อยางดวยกันคือ มุงฝกคนใหเขาใจองคกรในลักษณะการ ปฐมนิเทศ มุงพัฒนาใหคนทํางานไดตามคําบรรยายลักษณะงาน ขั้นตอนงาน แผนงานหรือ เปาหมาย หรือรองรับการเติบโตขององคกร ไมคอยพัฒนาไปนอกกรอบเหลานี้เทาใดนัก ซึ่งในระยะขั้นที่ 1 งานดานบุคคล เมื่อมีการพัฒนามากขึ้นจากธุรกิจโดยผลิตจํานวนมาก ที่เรียกวา Scale-driven แตยังไมมีความแตกตางในผลิตภัณฑ สินคา และบริการ (Undifferentiated) งานดานบุคคลมีการปรับใหเขากับสิ่งที่ธุรกิจตองการดานการสนับสนุน กระบวนการธุรกิจ และในชวงนี้จะเริ่มขยายขอบเขตงาน PNL ไปสู HRM (Human Resource Management) ดังรูปที่ 3 รูปที่ 3 : HRM ที่เปนกระบวนการสนับสนุน 33
  • 8. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges ระยะขั้นที่ 2 การบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ภายใตแนวคิดของงาน HR ที่เปนการสนับสนุนงานองคกร เมื่อมีการพัฒนาธุรกิจไปสูยุค การผลิตแบบอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีสูงขึ้น (Assembly-driven) ซึ่งธุรกิจตองสรางความ แตกตางในผลิตภัณฑและบริการ (Products/Services Differentiated) รวมถึงเนนการสงมอบที่ รวดเร็ว การบริหาร HR ในระยะนี้จึงเปนการบริหารทรัพยากรบุคคล หรือ HRM (Human Resource Management) ในชวงป พ.ศ. 2534-2539 ผูเขียนไดพัฒนารูปแบบการบริหาร HR ใหเปนการจัดการใน เชิงกลยุทธมากขึ้นดวย quot;โครงสรางของการวางแผนหลักดานบริหาร HR” (ดนัย เทียนพุฒ, 2545) ดังรูปที่ 4 รูปที่ 4 : โครงสรางของการวางแผนหลักดานบริหาร HR สมมติฐานของโมเดลดังกลาว มองวาในการบริหาร HR ตามที่แบงหนาที่เปนงานสรรหา งานวาจาง งานเงินเดือน งานสวัสดิการและประโยชนเพิ่ม ฯลฯ เปนลักษณะที่การสนับสนุนงาน ปฏิบัติการและการบริหาร HRที่ลงไปในรายละเอียดของการนําไปใช สวนการนําไปปฏิบัติเปนการ ปฏิบัติตามความเฉพาะของงาน ขาดการเชื่อมโยงในแตละงาน และยึดกฏ กติกา ระเบียบ เขมงวดในการควบคุมการทํางาน ซึ่งไมรองรับการเปลี่ยนแปลงองคกรธุรกิจ ผูเขียนจึงเสนอ โมเดล โครงสรางการวางแผนหลักดานบริหาร HR เชิงนโยบายและการกระจายอํานาจการ บริหาร HR ซึ่งเนนที่กระบวนการของ HR สวนการนําไปปฏิบัติตามแผนแมบท (Master Plan) จะใชภายใตทฤษฎีวาย คือ คนอยากทํางานไมตองบังคับใหทํางานตามทฤษฎีเอ็กซ โดยที่ ภารกิจดานบริหาร HR ทั้ง 4 ดานจะประกอบดวย ดานสรรหา (Recruitment) หมายถึง การเสาะแสวงหาเพื่อเลือกสรรใหไดคนดี มี (1) ความรูความสามารถเหมาะสมกับงาน 34
  • 9. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges (2) การพัฒนา (Development) หมายถึง การพัฒนาใหพนักงานมีความรูความสามารถ ทัศนคติและประสบการณที่เพิ่มขึ้นจนสามารถปฏิบัติงานในตําแหนงปจจุบันไดอยางมี ประสิทธิภาพ และพรอมที่จะรับผิดชอบงานในตําแหนงที่สูงขึ้น ทั้งนี้การพัฒนาพนักงานมิไดมี วัตถุประสงคเพียงเพื่อใหพนักงานมีความเชี่ยวชาญในงานปจจุบัน แตมุงหมายใหพนักงานได กาวหนาและเติบโตตอไปในอนาคตดวย (3) การรักษาพนักงาน (Retention) หมายถึง การทําใหพนักงานพึงพอใจในการ ทํางาน ดวยการสรางบรรยากาศใหพนักงานงานมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน โดยพิจารณา วาพนักงานมีความตองการสิ่งใดบาง และพนักงานคาดหวังใหองคกรปฏิบัติตอ พนักงานอยางไร ภายใตกฏ ระเบียบ หลักเกณฑตางๆ ที่จะอํานวยใหสิ่งตอบแทนและบริการตางๆ ที่องคกรจัดให พนักงานไดรับสิ่งจูงใจในการทํางานไดอยางเต็มที่ (4) การใชประโยชน (Utilization) หมายถึง การใชคนใหไดประโยชนเต็มที่โดยใชให ตรงกับงาน ทํางานใหเหมาะกับความรู ความสามารถ และไมใหอยูวางเปลาโดยไมมีหนาที่การ งานที่จะทํา ระยะขั้นที่ 3 Human Capital (HC) ตองยอมรับวา การบริหารคน ในมิติของทุนมนุษยเปนอะไรที่แตกตางไปจากเดิมของการ บริหาร HR ดวยปจจัยของการเปลี่ยนแปลงใน 2-3 ประการ อาทิ ¾ การพัฒนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีชั้นสูงและนวัตกรรมใหมผลักดันให เศรษฐกิจและธุรกิจตองเรงเขาสูเศรษฐกิจความรู (Knowledge Economy) หรือเศรษฐกิจ นวัตกรรม (Innovative Economy) ¾ แนวคิดและเครื่องมือการจัดการใหมๆ โดยเฉพาะการจัดการกลยุทธไดเกิดมากขึ้น ในชวงทศวรรษสุดทายกอนเขาสูศควรรษที่ 21 และมีมาอยางตอเนื่องไมวาจะเปน Balanced Scorecard และ KPIs Lean Six Sigma Innovative Enterprise Blue Ocean Strategy และ Intellectual Capital รวมทั้ง Competency Based Approach เปนตน ทําใหการบริหาร HR ในลักษณะที่เรียกวา พันธมิตรธุรกิจ (Business Partners) ซึ่งเกิดกระแสในชวงประมาณ ป พ.ศ. 2540 และ Competency Based Approach ไมพอใหการบริหาร HR ตอบสนองกับธุรกิจที่ถูกแรง ผลักจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนได ภายใตบริบทและวัฒนธรรมการบริหารของธุรกิจในประเทศไทย ผูเขียนไดเสนอตัวแบบ การบริหารทุนมนุษย (Human Capital Management Model) อยูใน 3 ลักษณะดวยกัน 1) ลักษณะโมเดลใหมของการบริหาร HR ในศตวรรษที่ 21 ภายใตบทบาทของฝาย HR แบบพันธมิตรธุรกิจ (HR as Business Partners) (ดนัย เทียนพุฒ; 2545, 2546) 35
  • 10. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges รูปที่ 5 : โมเดลใหมของ HR สําหรับศตวรรษที่ 21 (A New HR Model for 21 st Century) ซึ่งในรายละเอียดของโมเดลใหมของ HR สําหรับศตวรรษที่ 21 จะมีดังนี้ 1.1 กรอบเชิงกลยุทธ HR (Strategic Apex) ในสวนที่เปน กรอบเชิงกลยุทธ HR ซึ่งเปนสวนสําคัญที่สุดในการบริหาร HR คือ ทําหนาที่ในฐานะผูเลนเกม หรือการกําหนดกลยุทธ (Strategic Player) ผูเขียนเห็นวา สิ่งที่เปน องคประกอบสําคัญในสวนของกรอบเชิงกลยุทธ HR จะประกอบดวย (1) การคิดเชิงกลยุทธของ HR (HR Strategic Thinking) หมายถึง HR กําลังมองไปไกลๆวา ทิศทางในอนาคตของ HR กับ วิสัยทัศนของธุรกิจจะมุงไปสูจุดเดียวกันไดอยางไรรวมถึงการเขาไปรวมทีมจัดการในการวางกล ยุทธองคกรดวย (2) การวางแผนกลยุทธ HR (HR Strategic Planning) คือ การวิเคราะหปจจัย ตางๆ ที่มีผลกระทบตองาน HR ซึ่งมีทั้งปจจัยภายในและภายนอกองคกร การทบทวนวิสัยทัศน ดาน HR วาสอดคลองกับวิสัยทัศนธุรกิจและนําปจจัยที่มีผลกระทบตองาน HR มาประกอบการ พิจารณาเพื่อกําหนดวิสัยทัศนดาน HR กําหนดภารกิจดาน HR วา จะมีขอบเขตผลลัพธสําคัญ (KRA: Key Result Area) อะไรบางของ HR (3) ดัชนีวัดผลสําเร็จดาน HR (HR Indicators) เมื่อฝาย HR มีวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ และรูขอบเขตผลลัพธสําคัญ การที่ HR จะกลายบทบาท เปนผูเลมกลยุทธจําเปนจะตองวัดผลสําเร็จที่เปนตัวเลขทางการเงิน และผลไดที่ชัดเจน 1.2 พันธมิตรธุรกิจ (Business Partners) อธิบายไวแลวแตจะขอเพิ่มความชัดเจนและบทบาทหนาที่ของ HR ในโมเดลใหมโดยจะ กําหนดบทบาทไว 2 ดานคือ (1) การจัดการสอดประสาน (Harmonization Management) ซึ่งหมายถึง การสรางสัมพันธเชิงธุรกิจกับสายงานปฏิบัติการที่จะรวมกันดําเนินงานบริการดาน HR อยางไรจึงจะประสบความสําเร็จตามวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธดาน HR ขณะเดียวกันก็ไดตาม 36
  • 11. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges เปาหมายของฝายปฏิบัติการดวยในขณะเดียวกัน (2) การใหคําปรึกษาเชิงกลยุทธดาน HR คือ การใหคําแนะนําดานวิธีการดําเนินการทั้งหมดของงาน HR ใหกับสายงานปฏิบัติการ เมื่อสายงาน ปฏิบัติการดําเนินการตามกลยุทธ HR แลวเกิดมีขอปญหาในทางปฏิบัติหรือใน quot;แนวหนาquot; 1.3 ทรัพยากรบุคคลสวนกลาง (Corporate HR) งาน HR ในสวนที่เปนงานดานการใหบริการ และธุรการงานบุคคล โดยแยกเปน 2 กลุมงานคือ (1) ศูนยทรัพยากรผูบริหาร (Executive Resource Center) ทําหนาที่ในดานระบบ ขอมูลผูบริหาร (Executive Information System: EIS) และการใหบริการดาน HR กับผูบริหาร (2) ศูนยบริการพนักงาน (Administration Services Center) ทําหนาที่ในดานระบบขอมูล พนักงาน (Employee Information System: EMIS) และการใหบริการดาน HR กับพนักงาน 2) ลักษณะโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ ภายใตการผลักดันของ ความสามารถธุรกิจ หรือ Competency based-driven ผูเขียนไดสังเคราะห โมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ (Strategic Human Capital Management Model) (ดนัย เทียนพุฒ, 2547) ดังรูปที่ 6 รูปที่ 6 : โมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ รายละเอียดในโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ จะมีดังนี้ (1) การจัดวางกลยุทธ (Strategic Alignment) เปนการวางนโยบายทุนมนุษยเพื่อ 37
  • 12. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges สนับสนุนความสําเร็จของวิสัยทัศน ภารกิจ เปาหมายและกลยุทธขององคกร (2) ความสามารถเชิงกลยุทธ (Strategic Competencies) เปนระบบจัดการคนเกง (TMS) คือการสรรหา วาจาง พัฒนาและรักษาคนเกง (Talent People) ดวยความสามารถเชิงกล ยุทธที่นําไปสูความสามารถหลักของธุรกิจ (Core Competencies: CC) (3) การเรียน รู (Learning) เปนการสรางวัฒนธรรมการแบงปนความรูที่จะนําไปสูการ เรียนรูอยางตอเนื่องจนกระทั่งสะสมทุนทางปญญา (IC) และองคกรที่สรางความร่ํารวยจากความรู (4) ภาวะผูนํา (Leadership) สนับสนุนในการสรางผูนํารุนใหม (New Generation Leader) ตามคุณลักษณะของผูนําที่นิยามไว (5) พนักงานสัมพันธแบบใหม (New ERs) เนื่องจากงานบริหารทุนมนุษยจะเปนลักษณะ ของการใช Contract Manager เพื่อดูแลระหวางหนวยงาน Outsourcing หรือ Partnering กับ พนักงานและองคกร (6) การจัดการผลลัพธเชิงกลยุทธ (Strategic Result Management: SRM) เปนการ สรางวัฒนธรรมที่เนนผลงาน ดังนั้นการบริหารคาตอบแทนตามผลสําเร็จ สวัสดิการ การวัดผล งานดวย KPIs และการวัดความสามารถ จึงทําเพื่อผลงานที่มีคุณคาสูงสุดตอองคกร โดยทั้งหมดนี้จะมีการจัดทําดัชนีวัดผลสําเร็จดาน HR (หรือบางครั้งเรียกวา HR Scorecard) ที่เปนรูปธรรมในการวัดโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ สรุปแลวในรูปแบบลักษณะที่ 2 ของโมเดลการบริหารทุนมนุษยเชิงกลยุทธ ผูเขียน ดําเนินการภายใตแนวคิดของ Competency based-driven กับการปรับแนวคิดของพันธมิตรธุรกิจ ไปสูแนวคิดการบริหาร HR ในลักษณะผูคุมเกมกลยุทธ (Strategic Player) ระยะขั้นที่ 4 ทุนทางปญญา (IC) เมื่อธุรกิจปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจใหม (The New Economy) สิ่งที่เปนแรงขับทางธุรกิจ ไดกลับกลายมาเปนยุคของความรู (Knowledge) หรือสินทรัพยที่จับตองไมได (Intangible Assets) หรือนวัตกรรม (Innovation) ซึ่งแตกตางจากระยะขั้นที่ 1และ 2 ซึ่งเปนยุคของสินทรัพย ที่จับตองได (Tangible Assets) สําหรับตัวแบบ (Model) หรือโมเดลที่ชัดเจนในดานนี้สําหรับการบริหาร HR หรือการ บริหารทุนมนุษย (HC) ที่กาวเขาสูทุนทางปญญา (Intellectual Capital: IC) ที่เปนรูปธรรม ยังไมชัดเจนมากนักโดยเฉพาะในประเทศไทย แตสําหรับในตางประเทศ Ulrich (2005) ไดเสนอตัวแบบที่นาจะถือวาอยูในระยะขั้นที่ 4 โดยเรียกวา การกําหนด คุณคาของ HR (The HR Value Proposition) ซึ่งจะเกี่ยวกับการปรับฝาย HR ใหเปนกลยุทธ ธุรกิจ และ Ulrich ไดสรุปไวในหนังสือ Roadmap to Strategic HR (Christensen, 2006) วา “ในที่สุด ความทาทายที่แทจริงของชีวิตและโซลูชั่นที่พิสูจนแลวสําหรับการปรับเปลี่ยนฝาย HR คือการมุงธุรกิจ (Business- Focused) ที่เรียกวา “ผูคุมเกมสกลยุทธ” (Strategic Player) พรอมกับการสังเคราะหบทบาทใหมของมืออาชีพดาน HR ในลักษณะที่ประกอบดวย (1) นักพัฒนามนุษย (Human Capital Development) (2) พันธมิตรเชิงกลยุทธ (Strategic 38
  • 13. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges Partner) (3) ผูเชี่ยวชาญใหหนาที่ความรับผิดชอบ (Functional Expert) (4) ผูสนับสนุน พนักงาน (Employee (EM) Advocate) และสรุปไววา การบริหารทุนมนุษยในกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้เปนเรื่อง การบูรณาการ ระหวางสมรรถภาพของบุคคลและองคกร (Individual and Organization Capabilities) เพื่อ กําหนดกลยุทธที่สรางคุณคาใหกับลูกคา 2. การพัฒนาตัวแบบทุนทางปญญา ความสนใจของผูเขียนในเรื่อง ทุนทางปญญา (IC) มีมานานพอสมควรแตในทาง ปฏิบัติที่จะนํามาใชกับองคกรหรือธุรกิจในประเทศไทยแตยังจํากัดและหารูปแบบที่เปนรูปธรรมได คอนขางยาก Edvinsson (2002) หนึ่งในผูบุกเบิกดานทุนทางปญญาและเปน Director of Intellectual Capital คนแรกของโลกไดสรุปทฤษฎีที่ใชอธิบายสินทรัพยที่จับตองไมได ซึ่ง ในทางแนวคิดหรือการประยุกตใชมักจะทดแทนกับทุนทางปญญา (Steward,1997; Edvinsson และ Malone, 1997) โดยผูเขียนพัฒนาขึ้นใหมดังรูปที่ 7 สําหรับมิติในการมองดานเศรษฐกิจมหภาค (The Macroeconomic Perspective) นี้ ใชสําหรับประเทศ หรือชาติ การเติบโตทางเศรษฐกิจ และทุนมนุษย (IC) ที่พูดถึงนี้เนนความ สําคัญของการลงทุนดานการศึกษา ขณะที่ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคและนวัตกรรมให ความสําคัญกับนวัตกรรมวาเปนสิ่งตองสั่งสม และการเพิ่มขึ้นในดานกระบวนการดําเนินงาน โดยเฉพาะการวิจัยและพัฒนา (R&D) 39
  • 14. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges ทฤษฎีการเติบโตใหมแสดงใหเห็นความสําคัญของความรูที่เปนแหลงหลักการเติบโต และการพิจารณาในหลายๆ รายการ เชน ทุนมนุษย และทุนองคกร (Organizational Capital) สวนทฤษฎีวิวัฒนาการเนนมากที่มิติการเรียนรูขององคกรและใหความสําคัญกับสิ่งที่ ทําประจําวัน และทฤษฎีอื่นๆ เชน การลงทุนทางปญญาเปนการวิเคราะหที่ใหความสําคัญกับการ ลงทุนในสิ่งที่จับตองไมไดและผลกระทบตอผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP) ขณะที่มิติในการมองดานเศรษฐกิจจุลภาค (The Microeconomic Perspective) มอง ในดานทรัพยากรเปนหลัก เชน มุมมองดานทรัพยากร จากรูปแบบของทรัพยากรคือ สิ่งที่จับตอง ไมไดและความเฉพาะของธุรกิจ ในดานความสามารถหลักของธุรกิจเปนสิ่งสําคัญของกลยุทธที่ มีประสิทธิภาพมากกวาดานการตลาด หรือสมรรถภาพเชิงพลวัต (Dynamic Capabilities) ถือเปน ความไดเปรียบในการแขงขันซึ่งธุรกิจตองพัฒนาขึ้นมา มุมมองในสิ่งที่จับตองไมไดหรือทุนทาง ปญญาใหความสําคัญกับคุณลักษณะเฉพาะของทรัพยากรที่จับตองไมไดในเศรษฐกิจความรู ซึ่ง ตองพัฒนาและวัดสิ่งที่เกี่ยวกับผลงานและมุมมองดานการสรางความรูเปนประเด็นเริ่มตนขององค กรโดยเฉพาะความรูโดยปริยาย (Tacit Knowledge) และความรูโดยนิยามแนชัด (Explicit Knowledge) Harrisson และ Sullivan (2006) อธิบายวาเรื่องทุนทางปญญาสามารถมองไดใน 4 ลักษณะคือ 1) มุมมองดานการดึงมูลคาออกมา (Value Extraction Perspective) จะเกี่ยวกับ คน กระบวนการความรูโดยปริยายและการประมวลความรู (Tacit & Codified Knowledge) เทคโนโลยี ภาพลักษณ และสินทรัพยที่เปนสวนประกอบของธุรกิจ 2) มุมมองดานผูลงทุน (Investor Perspective) จะเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนทรัพย สินทางปญญา ลูกคาและการวัดดานการเงิน 3) มุมมองดานความรูและนวัตกรรม (Knowledge & Innovation Perspective) เชน ความรู ความสัมพันธ ภาพลักษณ กระบวนการ คนและเทค- โนโลยี และ 4) มุมมองดานการวัดและรายงาน (Measurement and Reporting Perspective) เชน IC Multiplier IC Accounting และ IC Metric ผูเขียนไดสรุปเกี่ยวกับความหมายและองคประกอบของตัวแบบทุนทางปญญา (IC Model) ไวดังนี้ 1) ทุนทางปญญา หมายถึง ความรูที่ปรับเปลี่ยนสินทรัพยที่จับตองไมไดใหมีคุณคา เพิ่มขึ้น ซึ่งสินทรัพยที่จับตองไมไดนี้เปนผลรวมของสิ่งตอไปนี้ ซึ่งเรียกวาองคประกอบของทุน ทางปญญาคือ (1) ทุนมนุษย (Human Capital) เชน ความเชี่ยวชาญเฉพาะ การริเริ่มและ การ เรียนรูและจัดการความรูใหเพิ่มขึ้น (2) ทุนความสัมพันธ (Relational Capital) เชน ความสัมพันธกับลูกคา ผูรวมคา หรือผูที่เกี่ยวของกับธุรกิจ (3) ทุนโครงสราง (Structural Capital) เชน สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา ตรา สินคาลิขสิทธิ์ ความลับทางการคา ระเบียบวิธี ซอฟทแวร เอกสารและรูปแบบอื่นๆที่อยูกับ องคกร 40
  • 15. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges 2) สินทรัพยที่จับตองไมได (Intangible Assets) หมายถึง สิ่งที่ไมไดอยูในรูปแบบ ทางกายภาพ เชน การวิจัยและพัฒนา โฆษณา ตราสินคา สิทธิบัตร ความสามารถเฉพาะบุคคล แตสามารถสรางสิ่งที่มีคุณคากับบริษัท ซึ่งบริษัทไมอาจจะควบคุมไดทั้งหมด 3) ตัวแบบ (Model) เปนการบรรยายหรือกําหนดสิ่งที่เปนกุญแจสําคัญสําหรับทํา ความเขาใจวา บริษัทหรือองคการมีความรูที่จะเปลี่ยนสินทรัพยที่จับตองไมไดไปยังคุณคาได อยางไร โดยจะมีคุณลักษณะ เชน 1) ความเปนระบบ (Systematic) 2) ระบบเปด (Open) 3) พลวัต (Dynamic) 4) มีลักษณะทําใหเหมาะได (Adaptive) และ 5) เปนนวัตกรรม (Innovation) ดังนั้น ตัวแบบทุนทางปญญา หรือตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญา (Strategic IC Model: SICM) จึงเปนเครื่องมือการจัดการธุรกิจที่สามารถใชเพื่อพัฒนาและกํากับติดตามวา บริษัทไดมี วิธีดําเนินการในการใชความสามารถและทรัพยากรความรูที่มีอยูเพื่อสรางคุณคาเพิ่มขึ้น สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการพัฒนาตัวแบบทุนทางปญญา หรือตัวแบบ SICM ซึ่งเปน ผลการวิจัยผูเขียนจะอธิบายไวเปนกรณีศึกษาโดยเฉพาะในหัวขอตางหาก การพัฒนาตัวแบบ SICM การพัฒนาตัวแบบ SICM หรือ ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจ ไทย (Strategic Intellectual Capital Model for Thai Enterprises) เปนการวิจัยเพื่อสรางและ พัฒนาตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาที่จะใชอธิบายความไดเปรียบในการแขงขันที่ สอดคลองกับวัฒนธรรมการบริหารของธุรกิจไทย โดยเปนการวิจัยเชิงกรณีศึกษา ธุรกิจไทยที่ ผลิตและจําหนายกระเบื้องยางปูพื้นขนาดกลางและขนาดยอมในประเทศไทย มีบริษัทผลิตอุป- กรณกอสรางเปนกรณีในการศึกษา ซึ่งไดสรางและพัฒนาตัวแบบ SICM รูปแบบเพื่อการ ทํานาย (Predicted Pattern) ที่ไดมาจากการสังเคราะหวิสัยทัศน ภารกิจของบริษัทกรณีศึกษา ตามแนวทางของ Heng (2001) และเก็บรวบรวมขอมูลกรณีศึกษาเพื่อสรางรูปแบบเชิงประจักษ (Empirically-Based Pattern) โดยการออกแบบโปรโตคอลและความเปนไตรวิธีการ (Triangulation) ในการเก็บรวบรวมขอมูล และมีผูใหขอมูลสําคัญ (Key Information) จํานวน 26 คน ตั้งแต 12 ตุลาคม พ.ศ.2548 ถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2549 วิธีการวิจัยไดดําเนินการพัฒนาตัวแบบ SICM จากการเปรียบเทียบระหวางรูปแบบเพื่อการ ทํานายกับรูปแบบเชิงประจักษ โดยการสังเคราะหหาลักษณะรวมขององคประกอบหลักและยอย การวิเคราะหขามกรณีศึกษา (Cross-Case Analysis) เพื่อยืนยันองคประกอบหลักและ ยอยของ IC กับการวัดทุนทางปญญาสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในประเทศไทย (อนงคนาฎ ศรีวิหคและอรุณี อินทรไพโรจน, 2547) หลังจากนั้นทําการสังเคราะหดวยวิธีการ วิเคราะหความเหมาะสมของดัชนีบงชี้หรือ KPIs (Meta-Indicator Analysis) ระหวาง สแกนดิเนเวียเนวิกเกเตอร (Skandia Navigator) กับดัชนีวัดผลสําเร็จตามภารกิจของบริษัทฯ กรณีศึกษา ผลการวิจัยพบวา ตัวแบบ SICM ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัทผลิตอุปกรณกอสราง จะมีองค 41
  • 16. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges มีองคประกอบหลัก 4 องคกระกอบคือ 1) ทุนภาวะผูนํา (Leadership Capital) หมายถึง วิสัยทัศน อุดมคติหลัก วัฒนธรรมเชิงคุณคา ภาวะผูนําในการจัดการ ผลการวิจัยพบวามี 2 องคประกอบยอยคือ (1) วัฒนธรรมเชิงคุณคา และ (2) ความภูมิใจในประสิทธิภาพขององคการมีดัชนีบงชี้ 4 ดัชนี 2) ทุนความสัมพันธ (Relational Capital) หมายถึง ความสัมพันธของธุรกิจกับผู รวมคา ลูกคาและพนักงานกับตลาด ผลการวิจัยพบวามี 5 องคประกอบยอยคือ (1) ความสัมพันธกับลูกคา (2) ความสัมพันธกับผูรวมคา (3) ความสัมพันธกับพนักงาน (4) ความ พึงพอใจและจงรักภักดีตอองคการของลูกคา และ (5) การรักษามูลคาเพิ่มในบริการ มีดัชนีบงชี้ 9 ดัชนี 3) ทุนองคการ (Organizational Capital) หมายถึง กระบวนการกิจกรรม กระบวนการเรียนรู องคการและโครงสราง ทรัพยสินทางปญญา คุณสมบัติเฉพาะของผลิตภัณฑ และฐานขอมูลทางความรู ผลการวิจัยพบวามี 4 องคประกอบยอยคือ (1) กระบวนการเรียนรูในการ ผลิต (2) ทรัพยสินทางปญญา (ตราสินคา เครื่องหมายการคาและซอฟทแวร) (3) คุณสมบัติ เฉพาะผลิตภัณฑ (4) ฐานขอมูลทางความรู มีดัชนีบงชี้ 8 ดัชนี และ 4) ทุนทรัพยากรบุคคล (Human Resource Capital) หมายถึง การบริหาร ทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ผลการวิจัยพบวามี 5 องคประกอบยอยคือ (1) ความเชี่ยวชาญเฉพาะ (2) การริเริ่มและการเรียนรู (3) การจัดการความรูใหเพิ่มขึ้น (4) การฝก อบรมและพัฒนา และ (5) สวัสดิการและการดูแลพนักงาน มีดัชนีบงชี้ 9 ดัชนี โดยตัวแบบ SICM จะเปนดังนี้ ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย 42
  • 17. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges องคประกอบยอย ดัชนีบงชี้ หรือ KPIs (1) กระบวนการเรียนรูในการ - กําไรที่ไดจากการดําเนินธุรกิจใหม ทุนภาวะ ผลิต - มูลคารวมของทรัพยสิน ผูนํา (2) ทรัพยสินทางปญญา (ตรา มีผลิตภัณฑใหมขึ้นมาในแตละป สินคา, เครื่องหมายการคา, - การลงทุนดานวิจัยและพัฒนาตนทุน ซอฟทแวร) การผลิตตอตรม.อยูในเกณฑที่ (3) คุณสมบัติเฉพาะผลิตถัณฑ กําหนดคาใชจายในการพัฒนา  ผลิตภัณฑตอรายการตอป (4) ฐานขอมูลทางความรู - ระดับการปรับใหมและพัฒนาดาน ตนทุน - อัตราการปรับสูมาตรฐานในคุณภาพ  อุตสาหกรรม ทุน (1) ความเชียวชาญเฉพาะ ่ - มูลคาเพิ่มตอพนักงาน ทรัพยากร (2) การริเริ่มและการเรียนรู คาใชจายดานการฝกอบรมตอ บุคคล (3) การจัดการความรูใหเพิ่มขึ้น คาใชจายบริหาร คาใชจายทั่วไป (4) การฝกอบรมและพัฒนา ดานการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน (5) สวัสดิการและการดูแล - คาใชจายในการจัดหาและทดแทน พนักงาน ตําแหนง - จํานวนครั้งในการฝกอบรม - ผลการประเมินผลจากขอสอบ วิธีการประเมินผลของผลตอบแทน ตางๆ - ผลการประเมินผลพนักงาน - ดัชนีความพึงพอใจของพนักงาน 43
  • 18. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges บทสรุป : ความทาทายใหมของ HR ดวยตัวแบบทุนทางปญญา มุมมองใหมของการบริหาร HR ในศตวรรษที่ 21 คือ การสรางสมรรถภาพเชิงกลยุทธ การขยายขอบเขตดาน HR และการจัดการบทบาทใหมของ HR (Lengnick-Hall, 2003) โดย เฉพาะตัวแบบ SICM ที่มี 4 องคประกอบคือ ทุนภาวะผูนํา ทุนความสัมพันธ ทุนองคการ และทุน ทรัพยากรบุคคล ซึ่งใกลเคียงกับที่ Lengnick-Hall เสนอไว ตามแนวคิดของ Saint-Onge วาฝาย งานใหมของ HR จะเรียกวา หนวยสมรรถภาพเชิงกลยุทธ (Strategic Capabilities Unit: SCU) ซึ่งมีองคประกอบหลักที่สัมพันธโดยตรงกับ HR คือ ทุนความสัมพันธ ที่เปนความสัมพันธระหวาง ภายในบุคคลขามสมาชิกของธุรกิจและความสัมพันธกับซัพพลายเออร ลูกคาและการรวม สนับสนุนในการดําเนินงาน ทุนโครงสราง เปนการออกแบบองคกรและจัดกระบวนการที่สนับสนุน ใหทุนมนุษยสรางมูลคาทางการตลาด และทุนมนุษย คือ โนว-ฮาว ทักษะและสมรรถภาพของ บุคคลในองคกรโดยที่หนวยสมรรถภาพชิงกลยุทธ (SCU) นี้เปนโมเดลใหมของทุนมนุษยที่กาว ไปสูทุนทางปญญาในการบริหาร HR ซึ่งจะมีขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบใน 4 ขอบเขตคือ 1) การบริการสมาชิก (Membership Services) คือ ใหบริการดาน HR ทั้งแกพนักงาน และลูกคาองคกร 2) ที่ปรึกษาดานสมรรถภาพองคกร (Organizational Capabilities Consultants) ซึ่งทํา ดานการจัดวางสมรรถภาพองคกรและสรางใหเกิดสมรรถภาพองคกร เชน ภาวะผูนํา วัฒนธรรม กระบวนการ โครงสรางและกลยุทธ 3) จินตวิศวกรความรู (Knowledge Imagineer) ทําหนาที่สรางสมรรถภาพองคกร ดูแล และจัดการสินทรัพยทางความรู การออกแบบคลังความรู กําหนดรูปแบบองคการนักปฏิบัติ และ 4) จัดเตรียมความพรอมในการเปลี่ยนแปลง (Change Readness) คือ การเปลี่ยนผาน และปรับองคกรใหม สรุปแลวการพัฒนาใหมดาน ตัวแบบ (Model) ทุนมนุษย ถาสามารถกาวมาสูแนวคิด ของตัวแบบ SICM ไดจะทําใหฝาย HR ของธุรกิจบริหาร HR ในลักษณะที่เรียกวา หนวย SCU หรือหนวยสมรรถภาพเชิงกลยุทธ ซึ่งจะตอบสนองและรองรับการเปลี่ยนแปลงสูธุรกิจแหง นวัตกรรมและเศรษฐกิจใหมไดอยางแทจริง 44
  • 19. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges อางอิง ดนัย เทียนพุฒและคณะ (2541). รายงานการวิจัยเรื่องทิศทางและบทบาทการบริหาร ทรัพยากรบุคคลในทศวรรษหนา (ป พ.ศ.2550). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการงาน บุคคล PMAT ดนัย เทียนพุฒ (2549). ตัวแบบเชิงยุทธศาสตรของทุนทางปญญาสําหรับธุรกิจไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัทผลิตอุปกรณกอสราง. ดุษฎีนิพนธหลักสูตรการจัดการดุษฎี บัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ดนัย เทียนพุฒ (2548). คาตอบแทนตามผลสําเร็จ. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital. ดนัย เทียนพุฒ (2547). การพัฒนามูลคาทุนมนุษย. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital. ดนัย เทียนพุฒ (2546). พลวัตการบริหารคน. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital. ดนัย เทียนพุฒ (2546). ธุรกิจของ HR B2E: Business to Employee. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital. ดนัย เทียนพุฒ (2544). ความสามารถปจจัยชนะของธุรกิจและคน. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital. ดนัย เทียนพุฒ (2545). การบริหารทรัพยากรบุคคลสูศตวรรษที่ 21 . พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการ Human Capital. อนงคนาฏ ศรีวิหค และ อรุณี อินทรไพโรจน (2545). Measurement of Intellectual Capital for Thai SMEs: 10 Case Studies: Asia IT&C, Project 22-32, Europe Aid Cooperation Office [On-line]. Available: http://pirun.ku.ac.th~fscing/km4sme/library/SME/Eng/Annex1CWP12.pdf. Bounfour, A.&Edvinsson, L.(2005). Intellectual Capital for Communities. MA: Elsevier Butterworth-Heinemann. Christensen, R. (2006). Roadmap to Strategic HR. New York: AMACOM. Drucker, P.F. (1999). Management Challenges for the 21 st Century. New York: Harper Collins. Edvinsson, L. (2002). Corporate Longitude. London: Pearson Education. Edvinsson, L.& Malone, M.S., (1997). Intellectual Capital. New York: Harper Collins. Harrison, S, S. & Sullivan, P.H. (2006). Einstein in the Boardroom. New Jersey: John Wiley & Sons. Jackson, S. and Others. (2003). Managing Knowledge for Sustained Competitive Advantage. CA: John Wiley & Sons. 45
  • 20. ดร.ดนัย เทียนพุฒ Developing a HC Model: New Roles, New Models and New Challenges 46