SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 68
Baixar para ler offline
เครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
(Electrocardiogram)
นางสมทรัพย์ ครุธวงค์
พยาบาลวิชาชีพ
หอผู้ป่วยวิกฤต
Electrocardiogram
1. บทนา
2. หลักการทางานของเครื่อง ECG
3. ปัญหาของสัญญาณรบกวน
4. การตรวจสอบและการบารุงรักษาเครื่อง ECG
1. บทนา
เครื่อง ECG เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
ที่ใช้คุณสมบัติ
1. เป็นดิฟเฟอเรนเชียลแอมปลิไฟ
เออร์ที่มีกาลังขยายสูง
2.มีอิมปิแดนซ์ขาเข้าสูง
3.มีการบันทึกสัญญาณที่วัดได้
ลักษณะสัญญาณไฟฟ้า
ที่บันทึกได้จากหัวใจ
Amplitude 0.1 – 5 mV
Frequency 0.2 – 100 Hz
Impedance 0.1 – 0.8 MΩ
Type of ECG
1. Writing ECG
2. ECG Analyzer
3. ECG Monitor/Patient Monitor
4. Ambulatory ECG / Holter ECG
1.Electrocardiograph
(Writing ECG)
1.detect electrical activity of heart
2.12 leads
3.single/ three/ multi-channel ECG
2. ECG Analyzer
- เป็นเครื่องที่ใช้เพื่อการวินิจฉัย
- วิเคราะห์ค่าที่สาคัญต่างๆของหัวใจ
3.ECG monitor/Patient monitor
- Real time ECG monitoring
- 2-3 leads
4.Ambulatory ECG/Holter ECG
เป็นเครื่องที่ใช้เพื่อการโมนิเตอร์ ทาการบันทึก
24,48,72 hrs. memory card
เพื่อนามาวิเคราะห์ภายหลัง
New Technology of ECG
-Notebook
-Personal Computer
-Analog to Digital
-USB
-Mobile, PDA
-Software
-Telemedicine
2.หลักการทางานของเครื่อง ECG
แผนผังวงจรเครื่อง Electrocardiograph
(1) การป้องกันดีฟิบริลเลชั่น
(Defibrillation protection)
- RA, LA, LL, C
- หลอดนีออนจะติด
(125 V)
- Arc discharge
(2) วงจรวิลสันและวงจรเลือกลีด
(Wilson Network and Lead Selector)
- ทาหน้าที่ร่วมไฟฟ้าจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ไว้เป็นศักย์ไฟฟ้าอ้างอิง (Reference voltage)
- เพื่อทาการบันทึก Unipolar limb leads
(aVR, aVL, aVF) และ Chest leads(V1-V6)
Defibrillation
Protection
Wilson Network & Lead
Selector
(3) วงจรปรับเทียบสัญญาณ 1 mV
(1 mV calibration pulse circuit)
เป็นวงจรป้อนสัญญาณไฟฟ้า 1 mV เข้าไปในเครื่อง
แทนคลื่นไฟฟ้าจากหัวใจเพื่อใช้ในการ calibration
เมื่อกดปุ่ม 1 mV กราฟเคลื่อนที่ไป 1 cm ในแนวแกนตั้ง
1.High gain > 1000
2.High Input Impedance > 2 M 
3.High CMRR > 100 dB
4.Proper frequency Response 0.05–100 Hz
(4) แอมปลิไฟเออร์ (Amplifier)
output
IA
input
ECG + common-mode noise
Right-leg amplifier
3 CMV
1.Common mode rejection technique
- สัญญาณรบกวนที่มีขนาดและความถี่เท่ากัน
- ค่า Common Mode Rejection Ratio(CMRR)
Noise Reduction Technique
output
IA
input
ECG+common-modenoise
Right-legamplifier
3 CMV
2. RL Driver technique
- สัญญาณ common
mode voltage
ป้อนกลับ ที่ขาขวา
- กลับเฟส
- ลดสัญญาณรบกวน
Noise Reduction Technique
Optical Isolation
-เปลี่ยนแปลงสัญญาณ
ไฟฟ้าเป็นแสงโดย LED
-ตัวรับ photodiode
-จะเปลี่ยนกลับเป็นกระแสไฟฟ้า
(5)การแยกสัญญาณทางไฟฟ้า
(Electrical Isolation)
Isolation Transformer
-Demodulator
เพื่อแยกสัญญาณ ECG
-ขดลวด primary และ secondary จะแยกผู้ป่วยจากสายดิน
-ECG จะทาการควบสัญญาณ
ไปกับความถี่สูง
(5)การแยกสัญญาณทางไฟฟ้า
(Electrical Isolation)
• Oscilloscope
เป็นจอภาพแสดงผล
ความต่างศักย์ทางไฟฟ้า
• Strip chart recorder
การบันทึกลงบน
กระดาษบันทึกด้วย
Galvy Transducer
(6) ECG readout device
กระดาษสาหรับบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
แผนผังวงจรเครื่อง
Electrocardiograph
ลักษณะ
 มีกระแสไฟสลับ 50 Hz เข้าไปรบกวน
 ลักษณะเส้นพื้นฐานสั่นเป็น sine wave
การรบกวนจากไฟฟ้ากระแสสลับ (AC interference)
3. ปัญหาของสัญญาณรบกวน
ในขณะทาการบันทึกและการแก้ไข
สาเหตุ
เกิดภายในเครื่อง
- หมุน Lead selector ไปที่
std. แล้วนาขั้วมารวมกัน
- เปิดเครื่องให้ทางาน
- ดูสัญญาณที่เกิดขึ้น ถ้ายัง
ปรากฎอยู่ให้ส่งซ่อม
เกิดภายนอกเครื่อง
– ระบบสายดินไม่ดี
- จุดสัมผัสไม่ดี
- สายอิเล็คโตรดพันกัน
หรือมีสายไฟพาดผ่าน
- เตียงผู้ป่วยอยู่ในเขต
สนามไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น
สาเหตุ
1. ผู้ป่วยเคลื่อนไหวหรือพูดคุย
2. Electrode เคลื่อนไหวไม่แนบสนิทกับผิวหนัง
3. สาย Electrode ดึงรั้งซึ่งกันและกัน
เส้นพื้นฐานแกว่งขึ้นลงช้าๆ
(Wandering baseline)
ลักษณะ
เส้นพื้นฐานไม่คงที่ในแนวนอน มีการสั่นที่ไม่เป็นจังหวะ
และความสูงไม่สม่่าเสมอ
สาเหตุ
เกิดจากการเกร็งของกล้ามเนื้อท่าให้เกิดคลื่นไฟฟ้า
จากกล้ามเนื้อลายแผ่กระจายสู่อิเล็คโตรด
การเกร็งของผู้ป่วย (Somatic tremor)
1. Frequency distortion
2. Saturation/cut off distortion
3. Artifact from large electric transient
4. Interference from electric device
5. Electromagnetic interference
ปัญหาที่พบบ่อยควรได้รับการพิจารณา
สัญญาณผิดเพี้ยนจากความถี่ตอบสนองของเครื่องไม่เหมาะสม
ปกติ 0.02- 150 Hz
ถูกตัดความถี่สูงออกไป
0.02- 25 Hz
ถูกตัดความถี่ต่าออกไป
1- 150 Hz
1. Frequency distortion
(a) ปกติ
(b) ยอดคลื่นถูกตัดจากการอิ่มตัวด้านบวกของแอมปลิไฟเออร์
(c) คลื่นส่วนล่างถูกตัดจากการอิ่มตัวด้านลบของแอมปลิไฟเออร์
2. Saturation or cutoff distortion
มีการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้าขนาดใหญ่
เมื่อใช้เครื่องอื่นรวมด้วย เช่น เครื่องดิฟิบริลเลเตอร์
กว่าแอมปลิไฟเออร์ของเครื่องอีซีจีจะฟื้นตัวท่าให้ขาด
ความต่อเนื่องในการบันทึก
3.Artifact from large electric transient
2000
0 5 10 15 20 25
Time ( msec)
0
-1000
1000
Biphasic
Defibrillator
ECG signal
Amplitude = 0.1- 5 mV
Voltage
มีการฟื้นตัว
เริ่มมี transient
ผลของ voltage transient ท่าให้แอมปลิไฟเออร์อิ่มตัว
จากไฟฟ้ า
จากอีเอ็มจี
- มีการรบกวนจากเครื่องไฟฟ้า (50Hz)
4.Interference from electric device
- มีการรบกวนด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจาก
เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์ เรด้าร์ส่งผลต่อการ
บันทึก
5.Electromagnetic interference
4. การตรวจสอบและ
การบ่ารุงรักษาเครื่อง ECG
ควรศึกษาคู่มือการใช้งานให้เข้าใจ
Inspection and Preventive Maintenance (IPM)
: ECRI (Emergency Care Research Institute
ECG อยู่ในประเภทเครื่องมือที่มี
ระดับความเสี่ยงปานกลาง
โปรแกรมในการตรวจสอบและบ่ารุงรักษา
ท่าปีละ 1 ครั้ง
1. บันทึกรายละเอียดเครื่อง
2. Test Apparatus
3. Qualitative Tasks
4. Quantitative Tasks
5. Preventive Maintenance
การตรวจสอบและการบ่ารุงรักษาเครื่อง ECG
1
2
3
4
5
1. Chassis/Housing 11. Battery/Charger
2. Mount 12. Indicators/Displays
3. Caster/Brakes 13. Lead off Detection
4. AC plug 14. Time/Date Settings
5. Line cord 15. Network/Wireless Interfaces
6. Strain Reliefs 16. Data Transfer to Data
Management System
7. Patient Cables 17. Print Quality
8. Fitting / Connector 18. Paper Transport
9. Electrodes 19. Labeling
10. Controls/Switches 20. Accessories
การตรวจสอบเชิงคุณภาพ (Qualitative Test)
3
4
- ตรวจสอบความสะอาดและสภาพ
ทั่วไปภายนอกเครื่อง
- ไม่มีร่องรอยของเหลวเปื้อนอยู่และ
ไม่มีร่องรอยการบุบของตัวถังเครื่อง
- ตัวถังพลาสติคยังติดแน่นดี
ครบถ้วน แน่นหนา
(1) ตัวถังของเครื่อง (Chassis/Housing
- เครื่องตั้งอยู่บนขาตั้งหรือรถเข็น
ให้ตรวจสอบสภาวะของการติดตั้ง
- เครื่องติดกับฝาผนังหรือวางบน
ชั้นให้ตรวจความมั่นคงของตัวยึด
(2) การติดตั้งหรือยึดเครื่อง (Mount)
- ตรวจสอบการหมุนและการเคลื่อนของ
ล้อควรเป็นไปอย่างปกติและตรวจสอบ
ห้ามล้อว่าล็อคได้
- โดยเฉพาะล้อต้องไม่มีเศษสาลีหรือ
ผ้าพันแผลหรือเส้นด้ายเข้าไปพัน
(3) รถเข็นและห้ามล้อ (Casters/Brakes)
- ตรวจดูว่าปลั๊กอยู่ในสภาพดี ไม่แตกร้าว/หลุด
- บางครั้งต้องเขย่าแล้วฟังเสียงการหลุด/หลวม
หากพบการช่ารุดต้องแกะออกมาแก้ไข
- ตรวจดูว่าไม่มีการเสียหาย ขาด แตก รอยไหม้
- หากต่าแหน่งที่ช่ารุดอยู่ที่ปลายด้านใดด้านหนึ่งอาจใช้
วิธีตัดส่วนนั้นทิ้ง ทั้งนี้ต้องแน่ใจว่าต่อขั้วไฟฟ้าถูกต้อง
(4) ปลั๊กไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Plug)
(5) สายไฟฟ้า (Line Cord)
- ตรวจดูสายไฟโดยเฉพาะปลายทั้งสองด้านว่าไม่มี
ความเค้นใด ๆ อาจมีตัวสวม (ที่ยืดหยุ่นได้) ที่ผู้ใช้ถอด
ไม่ได้
(6) ลดความเค้นของสายไฟ (Strain Relief)
- ตรวจสอบดูการต่อเนื่องของสายน่าสัญญาณทดสอบการน่า
สัญญาณโดยต่อเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจเข้ากับเครื่องจ่าลอง
สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และตรวจสอบกราฟที่ได้จากการเลือก
Lead ในแต่ละ Lead และให้ลองงอสายน่าสัญญาณบริเวณปลาย
เพื่อตรวจสอบการขาดหายของสัญญาณที่อาจเกิดขึ้นในบางช่วง
-ตรวจดูสายน่าสัญญาณว่าไม่มีแรง
เค้น รอยแตกร้าวของฉนวนหุ้ม การ
ยึดมีตัวสวมป้องกันการหมุนของสาย
ไม่มีการหักพับ
(7) สายสัญญาณ (Cables)
- ตรวจสอบสภาพทั่วไปของการต่อและข้อต่อ
ทุกตัว
- ขาของขั้วต่อควรอยู่ในสภาพที่ตรงและ
หน้าสัมผัสต้องสะอาด สายน่าสัญญาณ
- อิเล็กโตรดควรยึดกับหัวต่ออย่างแน่นหนา
(8) การต่อ/ข้อต่อ (Fittings/ Connectors)
ตรวจนับอิเล็คโตรดให้มีจ่านวน
พอเพียงในการใช้งานและจ่านวนที่
ต้องส่ารองไว้ด้วย
ตรวจสอบสภาวะภายนอกและวัน
หมดอายุการใช้งานในกรณีที่เป็น
Disposable electrode
(9) อิเล็คโตรด (Electrode)
ตรวจดูปุ่มควบคุมและสวิทซ์
ดูสภาพ ภายนอกทั่วไป การ
ยึดตรึง การหมุน
ตรวจสอบเมมเบรนสวิทซ์ว่า
ผิวของเมมเบรนต้องไม่
แตกร้าว ทะลุหรือมีร่องรอย
ขีดข่วน (จากปลาบเล็บ/
ปากกา)
(10) ปุ่มควบคุม/สวิทซ์ (Controls/Switches)
ตรวจดูสภาพทั่วไปของแบตเตอรี่และสายต่อแบตเตอรี่
ตรวจสอบการท่างานของเครื่องขณะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ หาก
พลังงานเหลือน้อยต้องมีการเตือน ปล่อยให้เครื่องท่างานโดยใช้
พลังงานจากแบตเตอรี่นานหลายนาทีดูว่ามีการชาร์จและสามารถเก็บ
ประจุได้
(11) แบตเตอรี่/ตัวชาร์จประจุแบตเตอรี่
(Battery / Charger)
- ตรวจสอบการท่างานของไฟทุกดวง ตัว
บ่งชี้
และตัวแสดงผลที่มองเห็นบนเครื่อง
- ต้องไม่มีสัญญาณรบกวนจากไฟฟ้า
กระแสสลับ 50 Hz บนกระดาษบันทึก เมื่อ
ปุ่มปรับเลือก lead อยู่ในต่าแหน่ง 0 หรือ
ต่าแหน่งมาตรฐาน
- เส้น baseline ควรต้องมีความหนา
สม่่าเสมอ และอยู่ในแนวนอน ไม่มีการ
เลื่อนหรือยกขึ้น เส้น baseline
(12) ตัวบ่งชี้/แสดงผล (Indicators / Displays)
- ตรวจสอบโดยปลดสายน่าสัญญาณออกขณะท่า
การวัด เครื่องสามารถแสดงการเตือนการไม่ได้
เชื่อมต่อสายน่าสัญญาณได้
- ตรวจสอบความถูกต้องของวันที่และเวลาที่แสดง
บนเครื่อง
(13) การตรวจการไม่ได้เชื่อมต่อของสายน่า
สัญญาณ (Lead off Detection)
(14) การตั้งค่าวันที่และเวลา (Time/Date Settings)
- ตรวจสอบว่าการปกป้องข้อมูลที่ถูกวัดยังท่างาน
อยู่ ตัวอย่างเช่น เมื่อใส่พาสเวิด (Password) ที่
ถูกต้องระบบปฎิบัติการ (OS) ของเครื่องจะท่าการ
อัพเดทโปรแกรมการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
ผ่านระบบเครือข่ายหรือระบบไร้สาย
- กระบวนการส่ารองข้อมูลยังท่างานอยู่ซึ่งข้อมูล
เหล่านี้สามารถกู้คืนกลับมาได้
(15) การเชื่อมต่อแบบเครือข่าย/ไร้สาย
(Network/Wireless Interfaces)
ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกในระบบจัดการ
ข้อมูล ข้อมูลที่ถูกบันทึกต้องตรงกันกับ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ท่าการบันทึก
ECG
ECG
Simulator
(16) การส่งข้อมูลไปยังระบบการจัดการข้อมูล
(Data Transfer to Data Management System)
ท่าการตรวจสอบกราฟที่บันทึกได้ต้องมีความคมชัด
และชัดเจน
ทดสอบเครื่องพิมพ์ตามบริษัทผู้ผลิตแนะน่าและ
ท่าความสะอาดหัวพิมพ์ถ้ามีความจ่าเป็น
ECG
ECG
Simulator
(17) คุณภาพการพิมพ์ (Print Quality)
- ตรวจสอบการเคลื่อนที่ของกระดาษเป็น
ปกติในทุกระดับความเร็ว
-ให้ตรวจสอบว่าตัวเลขตัวอักษรทั้งหมดและ
เส้นกราฟอยู่ในต่าแหน่งที่ถูกต้องและ
กระดาษเริ่มต้นและหยุดในจุดที่ถูกต้อง
(18) การเคลื่อนที่ของกระดาษ
(Paper Transport)
ตัวหนังสือที่เขียนต้องชัดเจนและระบุความเฉพาะของการท่า
หน้าที่และมีป้ายแนะน่าการใช้ที่เหมาะสม
ตรวจสอบความมีอยู่และอยู่ในสภาพ
ที่ใช้งานได้ของ
- อิเล็กโตรด, กระดาษ และฟิวส์
ส่ารอง
- เอกสารคู่มือการใช้งาน
(Instruction manual) พร้อมให้
ผู้ใช้อ่าน
(19) ป้ายฉลาก (Labeling)
(20) อุปกรณ์เสริม
(Accessories)
การตรวจสอบเชิงปริมาณ
(Quantitative Test)
(1)ความต้านทานในสายดิน
(Grounding Resistance)
(2) ความเร็วของกระดาษ
(Paper Speed)
3
4
Ohmmeter หรือ Multimeter หรือ Electrical safety
analyzer
ECG
Ohmmeter
ค่ามาตราฐาน : < 0.5 
(1) ความต้านทานในสายดิน
(Grounding Resistance)
ECG
ECG
Simulator
Frequency 1 Hz
25 mm/s 1 2 3 4 5
100 + 2 mm
50 mm/s 1 2 3 4 5
200 + 4 mm
ค่ามาตราฐาน + 2%
(2) ความเร็วของกระดาษ (Paper Speed)
(1) การท่าความสะอาด (Clean)
ท่าความสะอาดภายนอกเครื่องร่วมถึงแผงหน้าจอควบคุม
(2) การหล่อลื่น (Lubricate)
ให้หยอดสารหล่อลื่นในส่วนกลไกการบันทึกและตัวป้อน
กระดาษตามบริษัทผู้ผลิตแนะน่า
(3) การปรับเทียบค่า (Calibration)
ถ้ามีความจ่าเป็นในการปรับเทียบค่าท่าตามที่บริษัทผู้ผลิต
แนะน่า
(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ (Replace)
ท่าการเปลี่ยนแบตเตอรี่เป็นไปตามที่บริษัทผู้ผลิตแนะน่า
การบ่ารุงรักษาเชิงป้องกัน
(Preventive Maintenance)
5
The End..

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
Nokko Bio
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
techno UCH
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
Somporn Laothongsarn
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
techno UCH
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
piyarat wongnai
 

Mais procurados (20)

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
รังสีเอกซ์ (X ray) คุณสมบัติ และประโยชน์รังสีเอกซ์
รังสีเอกซ์ (X ray) คุณสมบัติ และประโยชน์รังสีเอกซ์รังสีเอกซ์ (X ray) คุณสมบัติ และประโยชน์รังสีเอกซ์
รังสีเอกซ์ (X ray) คุณสมบัติ และประโยชน์รังสีเอกซ์
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 

Destaque

การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
techno UCH
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554
Mew Tadsawiya
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
Ch09 b. muscles tissue
Ch09 b. muscles tissueCh09 b. muscles tissue
Ch09 b. muscles tissue
TheSlaps
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
techno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
techno UCH
 

Destaque (20)

การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554
 
Arrythmia
ArrythmiaArrythmia
Arrythmia
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
ECG (Electrocardiogram)
ECG (Electrocardiogram)ECG (Electrocardiogram)
ECG (Electrocardiogram)
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
ECG Basics
ECG BasicsECG Basics
ECG Basics
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
Mt2 3 56
Mt2 3 56Mt2 3 56
Mt2 3 56
 
Ch09 b. muscles tissue
Ch09 b. muscles tissueCh09 b. muscles tissue
Ch09 b. muscles tissue
 
Ekg normal y patologías
Ekg normal y patologíasEkg normal y patologías
Ekg normal y patologías
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Lessons From IT and Non-IT Projects (by Peter W. G. Morris)
Lessons From IT and Non-IT Projects (by Peter W. G. Morris)Lessons From IT and Non-IT Projects (by Peter W. G. Morris)
Lessons From IT and Non-IT Projects (by Peter W. G. Morris)
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
Electrocardiography (ECG or EKG)
Electrocardiography (ECG or EKG)Electrocardiography (ECG or EKG)
Electrocardiography (ECG or EKG)
 

Semelhante a เครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

Mea understanding emf_final_thai_singlepage
Mea understanding emf_final_thai_singlepageMea understanding emf_final_thai_singlepage
Mea understanding emf_final_thai_singlepage
ThaweeBoonwong
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
rattanapon
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
wongteamjan
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
khunJang Jop Jop
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
panawan306
 

Semelhante a เครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (20)

Mea understanding emf_final_thai_singlepage
Mea understanding emf_final_thai_singlepageMea understanding emf_final_thai_singlepage
Mea understanding emf_final_thai_singlepage
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
Electricity acessories
Electricity acessoriesElectricity acessories
Electricity acessories
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
EMI เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ากระแสตรง 04
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Documents OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptxDocuments OKR (1).pptx
Documents OKR (1).pptx
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 

Mais de techno UCH

มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
techno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
techno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
techno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
techno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
techno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
techno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
techno UCH
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc
techno UCH
 
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมการจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อม
techno UCH
 

Mais de techno UCH (20)

มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc
 
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมการจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อม
 
Doxorubicin
DoxorubicinDoxorubicin
Doxorubicin
 

เครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ