SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
Baixar para ler offline
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้ องกันโรคในช่องปาก
สาหรับแม่และเด็ก
ทพ. โสภณ เคหาไสย
1
ทันตสุขภาพและการป้ องกันโรคในช่องปาก
สาหรับแม่และเด็ก
• กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
• กลุ่มเด็กทารก (อายุต่ากว่า ๓ ปี)
• เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ ๓-๖ ปี)
• เด็กวัยเรียน (อายุ ๖-๑๒ปี )
2
ทันตสุขภาพและป้ องกันโรคในหญิงตั้งครรภ์
ปัญหาสุขภาพที่พบ
– เหงือกอักเสบ : การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมน ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายไวต่อสิ่งระคายเคืองเฉพาะที่ ได้แก่ คราบจุลินทรีย์ และหินน้าลาย ทา
ให้เกิดเหงือกอักเสบและเพิ่มปฏิกิริยาของขบวนการอักเสบ
– ฟันผุลุกลาม : เนื่องจากอาหารที่รับประทาน,
การดูแลอนามัยช่องปากไม่ดี
3
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในหญิงตั้งครรภ์
การรักษา
สามารถทาการรักษาทางทันตกรรม
ได้ตามปกติในช่วงเดือนที่ ๔ - ๖
ของการตั้งครรภ์
4
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในหญิงตั้งครรภ์
การป้ องกันและคาแนะนา
ในการดูแลสุขภาพช่องปากระหว่างตั้งครรภ์
๑. การทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอและกาจัดสิ่งระคายเคืองในช่องปาก
๒. เมื่อคลื่นไส้อาเจียน อาจเปลี่ยนยาสีฟันรสชาติใหม่ เพื่อให้ทาความสะอาด
ช่องปากได้
๓. ไม่ควรรับประทานอาหารหวานบ่อยๆ
๔. การแพ้ท้อง (อาเจียน) มีผลทาให้เกิดฟันสึกได้ ดังนั้น เมื่อเกิดการอาเจียน
ต้องบ้วนน้าเปล่าตามด้วยทุกครั้ง และเว้นระยะการแปรงฟัน ๓๐ นาที
๕. อายุครรภ์ที่มากกว่า ๖ เดือน ที่จาเป็นต้องทาการรักษา ต้องวางแผนการ
รักษาร่วมกับสูตินารีแพทย์
5
ทันตสุขภาพและป้ องกันโรคในเด็กปฐมวัย
ลาดับการขึ้นของฟัน
๑. ฟันน้านมซี่แรกเริ่มขึ้นเมื่ออายุ ๘
เดือน และฟันน้านมขึ้นครบเมื่อ
อายุ ๒๙ เดือน รวมทั้งสิ้น ๒๐ ซี่
๒. ฟันแท้ซี่แรกขึ้นเมื่ออายุ ๖ ปี
(ฟันกรามแท้ซี่ที่ ๑) จนถึงอายุ
๑๒ ปี และฟันกรามซี่สุดท้ายขึ้น
เมื่ออายุ ๑๗-๒๐ ปี
6
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
กลุ่มเด็กทารก (๐ – ๓ ปี) และ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน (๓ – ๖ ปี)
ปัญหาสุขภาพในช่องปากที่พบบ่อย
๑. โรคฟันผุ
๒. ฟันตกกระ / การสร้างเคลือบฟันไม่สมบูรณ์
๓. อุบัติเหตุต่อฟัน
7
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
โรคฟันผุ
สาเหตุ
๑. ระยะก่อนคลอด : ได้แก่ มารดาขาดสารอาหาร ทาให้การสร้างหน่อ
ฟันไม่สมบูรณ์
๒. ระยะหลังคลอด : ได้แก่ การให้นมไม่ถูกวิธี, การให้ลูกหลับโดยมีขวด
นมในปาก, การผสมน้าตาลลงในนม, การทานลูกอม ขนมหวาน
8
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
โรคฟันผุ
สาเหตุ
๓. พ่อ แม่ คนเลี้ยงดูเป็นโรคฟันผุ : เนื่องจากเชื้อแบคทีเรีย
สามารถถ่ายทอดไปยังลูกได้
๔. ทัศนคติต่อฟันน้านมของผู้เลี้ยงดู
9
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การรักษา
อุดฟัน
การรักษารากฟันบางส่วน
การรักษารากฟันทั้งซี่
การครอบฟัน
ถอนฟัน
10
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การอุดฟัน
11
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การรักษารากฟันบางส่วน / ทั้งซี่
12
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การครอบฟัน
13
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การป้ องกัน
-> พบทันตแพทย์ตั้งแต่ฟันซี่แรกขึ้นในปาก
-> ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่มนม
-> การเคลือบฟลูออไรด์
-> การเคลือบหลุมร่องฟัน
14
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
ฟันตกกระ
สาเหตุ
การได้รับฟลูออไรด์มาก
จนเกินไป
(ขนาดสูงสุดของฟลูออไรด์ที่ควร
ได้รับต่อวันในการป้ องกันฟันผุ
และไม่ทาให้เกิดฟันตกกระ คือ
๐.๐๕ – ๐.๐๗ mg/kg/day)
15
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การสร้างเคลือบฟันไม่สมบูรณ์ / สีฟันผิดปกติ
สาเหตุ
๑. มารดาได้รับเชื้อไวรัสหรือการติดเชื้ออื่นๆ อายุครรภ์ ๕-๙ เดือน ที่
อาจส่งผลต่อสมดุลแคลเซียมและฟอสฟอรัสในกระแสเลือด
๒. มารดาได้รับยาปฏิชีวนะ Tetracycline มีผลให้ฟันน้านมเปลี่ยน
สี รวมทั้งอาจมีผลต่อฟันแท้ด้วย
๓. ภาวะทุพโภชนาการในวัยแรกเกิด
ถึง ๑ ปี
16
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การรักษา
ฟันตกกระ : อุด
การสร้างเคลือบฟันไม่สมบูรณ์ : เคลือบฟลูออไรด์, อุด
การป้ องกัน
มารดารับประทานอาหารให้ครบตามหลักโภชนาในขณะตั้งครรภ์ และ
ให้เด็กทารกได้สารอาหารอย่างเพียงพอ และไม่มากจนเกินไป
17
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
อุบัติเหตุต่อฟัน
สาเหตุ : อุบัติเหตุจากการหกล้ม หรือกิจกรรม หรือ กีฬาต่างๆ
ปัญหาที่เกิดขึ้น
๑. ฟันหัก
๒. ฟันโยก/เคลื่อนจากกระดูกเบ้าฟัน
๓. ฟันจมเข้าในกระดูกเบ้าฟัน
๔. ฟันหลุดออกจากกระดูกเบ้าฟัน
18
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
การรักษา
การรักษาเบื้องต้น : พบแพทย์, ทันตแพทย์ รักษาตามอาการ
การรักษาฟัน
ฟันหัก
• อุดฟัน / รักษารากฟัน / ครอบฟัน
ฟันโยก / /เคลื่อนจากกระดุกเบ้าฟัน
• ดูอาการ / ยึดฟัน / ถอนฟัน
ฟันจมเข้าในกระดูกเบ้าฟัน
• ดูอาการ / ถอนฟัน
ฟันหลุดออกจากกระดูกเบ้าฟัน
• ฟันน้านม ไม่ใส่กลับที่เดิม 19
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กปฐมวัย
สรุปการดูแลทันตสุขภาพและการป้ องกันโรคในเด็กปฐมวัย
พบทันตแพทย์
เมื่อฟันซี่แรกขึ้น
เคลือบฟลูออไรด์
เคลือบหลุมร่อง
ฟัน
ตรวจสภาพฟัน
ทุก 6 เดือน
พบฟันผุ
อุดฟัน รักษารากฟัน ครอบฟัน
ไม่พบฟันผุ
เคลือบฟลูออไรด์
ตรวจเช็คสภาพ
20
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียน
เด็กวัยเรียน (๖ – ๑๒ ปี)
ปัญหาในช่องปาก
โรคฟันผุ
โรคเหงือกอักเสบ
ฟันโยก
อุบัติเหตุต่อฟัน
21
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียน
การรักษา
โรคฟันผุ : พิจารณาอุด / รักษารากฟัน /
ครอบฟัน / ถอนฟัน
โรคเหงือกอักเสบ : การขูดหินปูน
ฟันโยก : ดูอาการ / ถอนฟัน
อุบัติเหตุต่อฟัน : รักษาตามอาการ
22
ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กวัยเรียน
การป้ องกัน
๑. แปรงฟันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง (เช้า-เย็น) และใช้ไหมขัดฟัน
๒. บ้วนน้ายาบ้วนปากฟลูออไรด์ / บ้วนน้าหลังอาหารทุกมื้อ
๓. พบทันตแพทย์ทุก ๖ เดือน
23

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุBallista Pg
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ dentyomaraj
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการPattima Burapholkul
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์Ballista Pg
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ Nithimar Or
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับdentyomaraj
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์Ballista Pg
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Prachaya Sriswang
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับdentyomaraj
 
นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560
นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560
นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560Jame Boonrod
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 

Mais procurados (20)

โรคฟันผุ
โรคฟันผุโรคฟันผุ
โรคฟันผุ
 
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้ป่วยเบาหวาน หน้า ๑ ,แผ่นพับ
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการการส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
การตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากสี่สี-คนพิการ
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๒, แผ่นพับ
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
͹ѹآ֡ 1950
͹ѹآ֡  1950͹ѹآ֡  1950
͹ѹآ֡ 1950
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
ทันตสุขภาพสำหรับผู้พิการ ทพ.วรพจน์
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับฟันคุด1 แผ่นพับ
ฟันคุด1 แผ่นพับ
 
นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560
นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560
นำเสนอรพ.สต.ติดดาว ปี 2560
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 

Semelhante a งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก

การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...cmucraniofacial
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้suthata habsa
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 

Semelhante a งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก (20)

การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
ส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพ
 
ส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพ
 
เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้เด็กไทยทำได้
เด็กไทยทำได้
 
ส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสุขภาพ
 
Policy
PolicyPolicy
Policy
 
Policy
PolicyPolicy
Policy
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทยการเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
การเฝ้าระวังและการคัดกรอง การสัมผัสตะกั่วในเด็กไทย
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Test
TestTest
Test
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 

Mais de techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 

Mais de techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 

งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก