SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 56
Baixar para ler offline
Digital Intelligence
+DENPONG SOODPHAKDEE, Ph.D.
VP.ACAD.COMM @KKU
21st Century Learning Skills
ประเวศ วะสี
การทางานไม่ควรใช้วิชาการอย่างเดียว
จะทาให้คิดแต่เรื่องเทคนิค
คิดแยกส่วน คิดแต่หน่วยงานของตนเอง
มนุษย์มี social brain อยู่ส่วนหน้าของสมอง
เป็นส่วนของใจ จิตสานึก
เมื่อใช้ social brain
มนุษย์จะมีความเห็นใจเพื่อนมนุษย์ (Empathy)
มนุษย์จะต้องการทางานเพื่อผู้อื่น (Altruism)
“ตาบอด คลาช้าง” มีที่มาจากคาสอนเชิงอุปมาของพระพุทธเจ้าใน ปฐมกิรสูตร
สอนปริญญาตรี
ให้มีฐานแน่น
ติดอันดับโลก ทางานวิจัยให้มาก
ใช้ e-Learning ฝึกอบรมระยะสั้น
ส่งเสริมการรับใช้ชุมชน
ปฐมกิรสูตร
• ทะเลาะวิวาท
• ทิ่มตากันด้วยโวหาร
• ไม่หาสาเหตุ
• ขาดการมองในองค์รวม
การบริหารที่ดี ต้องลืมตา มองให้เห็นช้างทั้งตัว
พัฒนาการอุดมศึกษาและ
แนวคิด Education 3.0
(Innovation, Outreach, Entrepreneurial and Interdisciplinary)
2400
2420
2440
2460
2480
2500
โรงเรียนแรก
สาหรับราษฏร
(2428)
โรงเรียนหลวง
โรงเรียนภาษาอังกฤษ
โรงเรียนทหารมหาดเล็ก
พระตาหนักสวนกุหลาบ
โรงเรียนทาแผนที่
โรงเรียนราชกุมาร
โรงเรียนพระปริยัติธรรม
กรมศึกษาธิการ
(2430)
โรงเรียนเชลยศักดิ์
กระทรวงศึกษาธิการ
(2435)
โรงเรียนฝึกหัด
อาจารย์ 2435
โครงการศึกษาชาติ
2541
โรงเรียนข้าราชการพลเรือน 2453
พรบ.ประถมศึกษา โครงการศึกษา 2464
“..ประเทศไทยยังมีอาชีพอย่างอื่นอีกหลายอาชีพ
หากมุ่งแต่จะยึดเอาอาชีพราชการแต่อย่างเดียว การ
เศรษฐกิจของชาติก็จะตกอยู่ในมือของต่างด้าว
เพราะฉะนั้นจึงต้องวาง “การศึกษาสาหรับชาติ”
(National Education) ขึ้นไว้ให้ทุกคนได้รับ
การศึกษาตามควรแก่อัตภาพ
ให้มีวิสามัญศึกษาอันเป็นการศึกษา
สาหรับไปประกอบอาชีพ....
สงครามโลก
ครั้งที่สองยุติ
มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
และการเมือง
มหาวิทยาลัย
เฉพาะทาง
เปลี่ยนแปลงการปกครอง
แผนการศึกษาชาติ 2475 ศึกษาพฤกษ์
(พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5 พฤศจิกายน 2555
แผนการศึกษาชาติ
2445
มหาวิทยาลัยภูมิภาค
Initial and Boundary Conditions
พ.ศ. 2238 - โรงเรียนคาทอลิค
สมัยสมเด็จพระนารายณ์
สมัยอยุธยา
การเปลี่ยนแปลง
เวลา
ช่วงเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนช้า เพราะแรงเสียดทาน
ความกลัวการเปลี่ยนแปลง
ช่วงเก็บเกี่ยว
ได้ผลมาก
เปลี่ยนแปลงเร็วมาก
ช่วงปลายการเปลี่ยนแปลง
ไม่มีผลหรือการเปลี่ยนเพิ่มเติม อย่างมีนัยยะสาคัญ
Diminishing return
Theoretical limit
Theoretical limit
Equalization of Thai Higher Education
อุดมศึกษากับการเปิดโอกาสเพื่อความทัดเทียม
Professionalization of Thai Higher Education
อุดมศึกษาเพื่อสร้างคนประกอบวิชาชีพ
Liberalization of Thai Higher Education
อุดมศึกษากับการเปิดกว้างตามแนวเสรีนิยมอแมริกา
Corporatization of Thai Higher Education
อุดมศึกษากับการจัดการเชิงบรรษัท
?????
S-Curve การศึกษาไทย ไม่ต่างกับ S-Curve อุดมศึกษาไทย
ทศวรรษ 2450 – 2490
เริ่มจากการตั้งโรงเรียนประถมศึกษาแห่งแรกในรัชกาลที่ 5
ออกแบบให้ผู้จบประถมศึกษาประกอบอาชีพได้
ทศวรรษ 2490 -2510 ต้นรัชกาลที่ 9
ให้เอกชนจัดการศึกษาได้
การขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 4 เป็น 7 ปี
อุดมศึกษาภูมิภาค
ทศวรรษ 2510 - 2540 การขยายตัวการศึกษารัฐ-เอกชน
การเปิดโรงเรียนในชนบท
การเพิ่มโรงเรียนขยายโอกาส
ขยายอุดมศึกษาเอกชน ราชภัฏ ราชมงคล
ทศวรรษ 2540 จนถึงปัจจุบัน
การนาแนวคิดการบริหารองค์กรธุรกิจภาคเอกชน
มาใช้บริการสถานศึกษา
การศึกษาเปลี่ยนจากวิทยาทานเป็นสินค้า
การเติบโตของหลักสูตรนานาชาติ
การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ศาสตราจารย์ไพฑูรย์ สินลารัตน์
มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์
• หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม (ครั้งแรก 1750- เครื่องจักรไอน้้า, ครั้งที่สอง 1850- เครื่องยนต์
สันดาปภายใน เครื่องก้าเหนิดไฟฟ้า) คนในยุโรปอยู่ในเมืองมากกว่าชนบท
• การปฏิวัติอุตสาหกรรมขับดันด้วยไอน้า (mechanical
principle) - ก้าลังเครื่องจักรแทนก้าลังคนและสัตว์ ไม่ใช่ด้วยปรัชญา - สมอง
• วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ไม่ใช่สงคราม) ลดความทุกข์ยาก และสร้างความมั่งคั่ง
• มีการต่อสู้ทางความคิด ระหว่างมหาวิทยาลัยที่เน้น liberal arts/classics และ
มหาวิทยาลัยที่เน้นวิทยาศาสตร์
Education 2.0
• การสอนในมหาวิทยาลัยใช้ศาสตราจารย์ ไม่ใช่ติวเตอร์เช่นใน วิชา classics
• การวัดผลใช้ข้อสอบข้อเขียนเท่านั้น
• อาจารย์เป็นทั้งผู้สอนและผู้แสวงหาความรู้ใหม่โดยการวิจัย
• เยอรมันเป็นต้นแบบของมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ เริ่มจากการ
พัฒนาห้องปฏิบัติการเคมี เป็นผู้น้าตั้งสถาบันวิจัยทางเภสัชวิทยาและเคมี ศิษย์จากมหาวิทยาลัย
ในเยอรมันมาสร้างต้าแหน่งศาสตราจารย์ทางวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยอังกฤษ
มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์
Education 2.0
•ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยเยอรมันนีเป็นทั้งครูและนักวิจัยทางวิทยาศาสตร์
•มหาวิทยาลัยเยอรมันนีพัฒนาต้นแบบของห้องปฏิบัติการทางเคมีวิเคราะห์ สร้าง
อุตสาหกรรมเภสัชวิทยาและเคมี
•อิทธิพลจาก Charles Darwin ตามแนวคิด Survival of the Fittest น้ามาซึ่งการแข่งขัน
ระหว่างประเทศ ความห่วงใยของอังกฤษที่เยอรมันล้้าหน้าทางเหล็กและไฟฟ้า
•ศิษย์จากมหาวิทยาลัยเยอรมันนีมาจัดตั้งต้าแหน่งทางวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยอังกฤษที่มี
ไม่กี่แห่ง
มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์
Education 2.0
กล่าวโดยรวม มหาวิทยาลัยรุ่นใหม่ในยุโรป มีการผสมผสานระหว่าง
•Arts เป็นฐานของการสื่อสารและความเข้าใจ
•Mathematics กุญแจของการคิดเชิงตรรกะ
•History เพื่ออธิบายเหตุการณ์ของมนุษย์และเป็นฐานของความยืนยาวของสังคมในอนาคต
•Sciences เพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งของธรรมชาติและเพื่อการหาประโยชน์ส้าหรับมนุษย์
มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์
Education 2.0
Learning Outcomes ของการศึกษาด้าน
การสร้างค่านิยมและลักษณะคน (character)
ปัญหาการเรียนรู้แต่ละช่วงวัย
ทุกวัย ลงทุนมาก แต่ได้ผลน้อย
ปฐมวัย (0-5 ปี)
“โง่ตั้งแต่ยังไม่เข้าเรียน”
หญิงตั้งครรภ์ขาดไอโอดีน เด็กโง่ก่อนเกิด เด็กเล็กขาดการ
ดูแล
วัยเรียนรู้พื้นฐาน (6-14 ปี)
“เรียนมาก แต่ไม่ฉลาดในการใช้ชีวิต
ขาดทักษะชีวิต”
แม่วัยรุ่นคลอดปีละ100,000 คน เด็กแว้น เด็กซิ่ง
วัยเตรียมทางาน (15-24 ปี)
“เรียนมาก แต่ได้ใช้ประโยชน์น้อย”
จบปริญญาตรี ไม่ใครจ้าง รับค่าแรงรายวันขั้นต่าต่า
วัยทางาน (25 - …… ปี )
“ผลพวงสะสม ...สู่แรงงานไร้ฝีมือ ”
ทางาน 30-40ปี ขาดกลไกพัฒนาความรู้ ฝีมือ อาชีพ
18
วัยเรียนพื้นฐานและวัยเตรียมทางาน
ความเหลื่อมล้า ความไม่เป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษา
การเรียนรู้ การศึกษา มากกว่าการไปโรงเรียน (วิทยาลัย มหาวิทยาลัย)
การเรียนรู้ ไม่ได้เกิดขึ้นที่โรงเรียนเท่านั้น
ครอบครัว ชุมชน สังคม มีบทบาทส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
อมรวิชช์ นาครทรรพ
1 . คนไทยรู้จักหน้าที่ของตัวเองต่ามาก โดยเฉพาะหน้าที่ต่อสังคม คือ เป็นประเภทมือใครยาว
สาวได้สาวเอา เกิดเป็น ธุรกิจการเมือง ธุรกิจราชการ ธุรกิจการศึกษา ทาให้ประเทศชาติ ล้าหลังไป
เรื่อยๆ
2. การศึกษายังไม่ทันสมัย คนไทยจะเก่งแต่ภาษาของตัวเอง ทาให้ขาดโอกาสในการแข่งขัน
กับต่างชาติในเวทีต่างๆ ไม่กล้าแสดงออก ขี้อายไม่มั่นใจในตัวเอง จึงตามหลังชาติอื่น คนมีฐานะจะ
ส่งลูกไปเรียนเมืองนอก เพื่อโอกาสที่ดีกว่า
3. มองอนาคตไม่เป็น คนไทยมากกว่า 70% ทางานแบบไร้อนาคตทาแบบวันต่อวันแก้ปัญหา
เฉพาะหน้าไปวันๆ น้อยคนนักที่จะทางาน แบบเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน มีเป้าหมายในอนาคตที่
ชัดเจน
4. ไม่จริงจังในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ทาแบบผักชีโรยหน้า หรือทาด้วยความเกรงใจ
ต่างกับคนญี่ปุ่นหรือยุโรปที่จะให้ความสาคัญกับ สัญญาหรือข้อตกลงอย่างเคร่งครัดเ พราะหมายถึง
ความเชื่อถือในระยะยาว ปัจจุบันคนไทยถูกลดเครดิตความน่าเชื่อถือด้านนี้ลงเรื่อย ๆ
ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นของประธาน JETRO กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
5. การกระจายความเจริญยังไม่เต็มที่ ประชากรประมาณ 60-70% ที่อยู่ห่างไกลจะขาด
โอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตัวเองและชุมชน ซึ่งเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่ต้องส่งเสริม
6. การบังคับกฎหมายไม่เข้มแข็ง และดาเนินการ ไม่ต่อเนื่อง ทางานแบบลูบหน้าปะจมูก
ปราบปรามไม่จริงจัง การดาเนินการตามกฎหมายกับผู้มีอานาจ หรือบริวารจะทาแบบเอาตัวรอดไป
ก่อน ไม่มีมาตรฐาน
7. อิจฉาตาร้อน สังคมไทยไม่ค่อยเป็นสุภาพบุรุษ เลี่ยงเป็น
ศรีธนญชัย ยกย่องคนมีอานาจ มีเงิน โดยไม่สนใจภูมิหลัง โดยเฉพาะคนที่ล้มบนฟูก แล้วไปเกาะผู้มี
อานาจเอาตัวรอด คนพวกนี้ร้ายยิ่งกว่าผู้ก่อการร้าย ดีแต่พูด มือไม่พายเอาเท้าราน้า ทาให้คนดีไม่
กล้าเข้ามาเพราะกลัวเปลืองตัว
ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นของประธาน JETRO กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
8. เอ็นจีโอค้านลูกเดียว เอ็นจีโอบางกลุ่มอิงอยู่กับผลประโยชน์ บ่อยครั้งที่ต้องเสียโอกาสอย่าง
มหาศาล เพราะการค้านหัวชนฝา เหตุผล
จริง ๆ ไม่ได้พูดกัน
9. ยังไม่พร้อมในเวทีโลก การสร้างความน่าเชื่อถือ ในเวทีการค้าระดับโลกยังขาดทักษะและ
ทีมเวิร์คที่ดี ทาให้สู้ประเทศเล็ก ๆ อย่างสิงคโปร์ไม่ได้
10. เลี้ยงลูกไม่เป็น ปัจจุบัน เด็กไทยขาดความอดทน ไม่มีภูมิคุ้มกันเป็นขี้โรคทางจิตใจ ไม่
เข้มแข็งเพราะการเลี้ยงลูกแบบไข่ในหิน ไม่สอนให้ลูกช่วยตัวเอง ไม่กระตือรือร้นในการช่วยตนเอง
ขวนขวายแสวงหาค้นหาตัวเอง และไม่สอนให้สานึกรับผิดชอบต่อสังคม
ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นของประธาน JETRO กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
สถานทูตจีน เขียนรายงาน (เป็นภาษาจีน) ระบุว่า
1. การศึกษาบ้านเรา เน้นแต่ด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การตลาด
บริหารธุรกิจ ซึ่งจบมาแล้ว ไม่มีงานทา ความรู้กระจอก สักแต่ให้มีปริญญา ไม่ได้สร้าง value-added
ใดๆ นักวิทยาศาสตร์ การวิจัย แทบจะเป็นศูนย์
Guanmu อดีตเอกอัครทูตจีน บอกว่า 25 ปีที่ผ่านมา ไทยผลิตยาง อย่างไงก็ยังทาแบบนั้น ไม่
สร้างมูลค่าเพิ่ม ทาเป็นยางรถยนต์ หรือสิ่งประดิษฐ์ อะไรเองไม่เป็น
2. มหาวิทยาลัยไทยรวมไปถึงธรรมศาสตร์จุฬาฯ กิจกรรมเน้นเต้น หลีดโชว์ หล่อสวย แต่โง่
ไม่มีการฝึกงานอะไร ที่เป็นประโยชน์ ขอเงินพ่อแม่เที่ยวกลางคืน เย่อกันไปวันๆ โชว์วัตถุนิยม ว่ารถกู
ขับรถอะไร สังคมมันวัดกันแค่นี้ (เห็นมากับตา)
พวกดีๆ ก็มี แต่มันน้อย
ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นจากสถานทูตจีน กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
เอาจริงๆนะ ผมว่ามีแค่10% ในขณะที่เด็กสหรัฐฯ พวก MIT Stanford หรือเด็กจีนชิงหัว
ปิดเทอมพยายามหางานทา ฝึกงาน UN, World Bank, JP Morgan, หรือมาค่ายผู้ลี้ภัยชาว
โรฮิงญาในไทย
3. จ่ายครบจบแน่ ปริญญาขยะเต็มบ้าน คือ หางานทาไม่ได้ มีแต่อยากจะรวย "ผมจะทา
ธุรกิจ" คือมันคิดอะไรไม่ออก นอกจากขายของ นอกจากนี้ยังทุจริต ผันงบกระทรวงศึกษาให้ทุน
กู้ยืมมหาวิทยาลัย เอกชนที่มีนักการเมืองเป็นเจ้าของ สุดท้ายหนี้สูญ เพราะเด็กบ้านนอก ได้มาเข้า
กรุง สักว่าจบปริญญาประดับบ้าน แต่มันหางานทาไม่ได้
ปีหนี่งหมดเงิน ภาษีประเทศชาติ ไปหลายหมื่นล้าน
เรื่องเลวๆนี้ ไม่เคยถูกตรวจสอบ
4. ภาษาอังกฤษห่วยแตกขั้นเทพ จริงๆ อาจารย์จุฬาฯส่วนใหญ่ ก็ลอกบทความฝรั่งมาแปล
ไม่มีความคิดอะไรใหม่ หาน้อยคนที่จบระดับโลก ไปดูCVเอาเอง ได้จบมหาลัยห้องแถว B-class
ทั้งนั้น งานวิจัยขยะ copy/paste เต็มไปหมด
ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นจากสถานทูตจีน กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
ครูมัธยม เอาแค่โรงเรียนในกรุงเทพฯ ผมเคยถูกเชิญไปพูด
ยังออกเสียง สะกดศัพท์ไม่ถูกเลย จะสอนเด็กให้ถูกอย่างไร แล้วโรงเรียนในอ.ปัว จังหวัดน่าน มัน
จะห่วยแตก ขนาดไหน
5.ความรู้ใหม่ๆหรือเทคโนโลยี มันหมุนเวียนเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งคนไทยรู้แต่ภาษาไทย
ตัวเอง ไม่มีความสามารถแข่งขันอะไรในระดับโลก
โลกทัศน์สุดจะแคบ สานักข่าวไทย รายงานแต่เรื่องเส็งเคร็ง ไม่ได้สร้างคุณค่าความรู้อะไร
คนนั้นท้องกับคนนี้ ตารวจตั้งด่านไถตังค์ไปวันๆ
ไปทางานมาหลายประเทศ เช่น ฮ่องกง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ บอกได้เลย นักเรียนไทยโคตรจะขี้
เกียจ ไม่รู้ปีหนึ่งๆ อ่านหนังสือกันกี่เล่ม?
ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นจากสถานทูตจีน กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
21st Century Skills ( Cisco-, Intel- and Microsoft funded Assessment and Teaching of the
21st Century Skills - AT21CS Consortium )
• Way of Thinking : creativity and innovation, critical thinking, problem
solving, decision making, and learning to learn (meta cognition)
• Way of Working : communication and teamwork
• Tools of Working : general knowledge and information communication
technology (ICT) literacy
• Living in the World : citizenship, life and career, and personal and social
responsibility, including cultural awareness and competence.
การสร้าง 21st Century Skills
เปลี่ยนสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทั้งปวงในบริบทของผู้เรียนให้เป็น “ห้องเรียน” หรือ “แหล่งเรียนรู้”
ให้เกิดพื้นที่กระบวนการเรียนรู้ (Learning space) ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น
: การเรียนบนฐานโครงการ (Project-Based Learning)
เพื่อเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และการมองเชิงบูรณาการ
: การเรียนบนฐานปัญหา (Problem-Based Learning)
เพื่อเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
: การเรียนรู้บนฐานวิจัย (Research-Based Learning)
เพื่อกระตุ้นความใฝ่รู้และทักษะการเรียนรู้
: การเรียนรู้คู่การทางาน (Work-Based Learning)
เพื่อเสริมทักษะความพร้อมด้านอาชีพ
: การเรียนรู้คู่การบริการ (Service Learning)
เพื่อสร้างทั้งทักษะชีวิตและจิตส้านึกในหน้าที่ต่อสังคม
Ten Skills for the Future Workforce (Higher Order Thinking and Working Skills)
ความสานึกในความหมายที่ลุ่มลึก (Sense making) ความสามารถที่จะเข้าใจความหมาย หรือนัยยะที่ลุ่มลึก
ของสิ่งที่มีการแสดงออก (ability to determine the deeper meaning or significance of what is
being expressed)
ความฉลาดหรือปัญญาเชิงสังคม (Social intelligence) ความสามารถที่จะเข้าใจและเข้าถึงมนุษย์ผู้อื่นได้
อย่างถ่องแท้ กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยา การโต้ตอบ หรือการกระทาที่ต้องการ ( ability to connect to others
in a deep and direct way, to sense and stimulate interactions and desired interactions)
ระบบคิดที่ปรับตัวได้คล่องและใหม่แตกต่าง (Novel and adaptive thinking) สมรรถนะของระบบคิด และ
การได้คาตอบรูปแบบใหม่ที่ไม่ได้อาศัยประสพการณ์หรือความรู้เดิม และนอกกรอบกติกาปรกติ (proficiency
at thinking and coming up with solutions and beyond what is rote or ruled based).
Future Workforce Skills 2020
Ten Skills for the Future Workforce (Higher Order Thinking and Working Skills)
พหุวัฒนธรรม (Cross cultural) ความสามารถที่จะทางานในปริบทหรือสภาพแวดล้อมต่างวัฒนธรรม
(ability to operate in different cultural settings)
ระบบคิดเชิงตรรกะการคานวณ (Computational thinking) ความสามารถที่สร้างกรอบแนวคิดที่เป็น
นามธรรมจากข้อมูลจานวนมาก และสามารถหาเหตุผลจากฐานข้อมูลนี้ (ability to translate large
amount of data into abstract concepts and to understand data-based reasoning)
การรู้เท่าทันและมีอานาจควบคุมสื่อแบบใหม่ (New media literacy) ความ สามารถที่จะรู้เท่าทัน
ประเมินสื่อแบบใหม่ เพื่อประมวลประเด็นสาระ รวมทั้งใช้สื่อแบบใหม่นี้เพื่อการสื่อสารที่โน้มน้าวคนได้
(ability to translate large amount of data into abstract concepts and to understand data-based
reasoning)
การก้าวข้ามสาขาวิชา (Transdisciplinary) ความรู้และความเข้าใจประเด็นสาคัญขององค์ความรู้ในพหุ
สาขาวิชาและสหสาขาวิชา (literacy in and understand concepts across multiple discipline)
Future Workforce Skills 2020
Ten Skills for the Future Workforce (Higher Order Thinking and Working Skills)
มโนทัศน์การออกแบบ (Design mindset) ความสามารถที่เข้าใจและกาหนดงานและกระบวนการให้ได้ผล
ผลิตที่ต้องการ
(ability to represent and develop task and work process to design outcomes)
การจัดการระบบความรู้ (Cognitive load management) ความสามารถจาแนกแยกแยะ เลือกข้อมูลที่
สาคัญ เข้าใจการใช้กระบวนการคิดและใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยเทคนิคและเครื่องมือต่างๆ
(ability to discriminate and filter information for importance, and to understand how to
maximize cognitive functioning using a variety of tools and techniques)
ความร่วมมือเสมือน (Virtual collaboration) มีความสามารถทางาน ขับดันพันธะกิจได้ด้วยกัน แม้ทางานอยู่
คนละที่
(ability to work collectively, drive engagement, and an demonstrate presence as a member
of a virtual team)
Future Workforce Skills 2020
John Couch, Vice President of Education, Apple, Inc.
John Couch, Vice President of Education, Apple, Inc.
Ref : Institute for the Future for Apollo Research Institute
• Sense-Making : มีทักษะในความคิดระดับสูงที่เครื่องจักรไม่สามารถด้าเนินการได้ มีทักษะที่ช่วยในการ
ตัดสินใจได้ในภาวะวิกฤติ
• Social Intelligence : มีความสามารถในการปรับตัวที่รวดเร็ว ในการสร้างความร่วมมือและ
ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและหน่วยงานภายนอก
• Novel & Adaptive Thinking : มีความสามารถในการคิดและหาค้าตอบรวมถึงการตอบสนอง มากกว่า
การท่องจ้าหรือการท้าตามกฏ
• Cross-cultural Competency : มีความสามารถในการท้างานในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งวัฒนธรรม
ของพื้นถิ่น / ภูมิภาค วัฒนธรรมองค์กร
• Computational Thinking : มีความสามารถในการแปลของความหมายของข้อมูลให้เกิดความเข้าใจได้
โดยง่าย การเลือกใช้แบบจ้าลองเพื่อประมาณการที่แม่นย้า
• New-media Literacy : มีความสามารถในการวิเคราะห์ ประเมิน และพัฒนาเนื้อหาที่สร้างสรรค์โดยการ
ใช้สื่อรูปแบบใหม่
•Transdisciplinarity : มีความสามารถในการเรียนรู้และความเข้าใจในเนื้อหาข้าม
ศาสตร์ “รู้ลึกในศาสตร์หนึ่ง และรู้กว้างในอีกหลายศาสตร์ (T-shaped)”
•Design Mindset : มีความสามารถในการพัฒนาทักษะของการคิดและปรับตัวเข้ากับ
สภาพแวดล้อมของการท้างานให้บรรลุตามเป้าหมาย
•Cognitive Load Management : มีความสามารถในการแยกแยะและคัดกรอง
ข้อมูลที่ส้าคัญที่จะน้าไปใช้ประโยช์ และความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือและ
เทคนิคที่หลากหลาย
•Virtual Collaboration : มีความสามารถในการท้างาน การขับเคลื่อนความสัมพันธ์
และการน้าเสนอในลักษณะทีมเสมือน (Virtual team)
Digital Intelligence Quotient
DQ
Digital Intelligence
Digital Intelligence (DQ) is the
sum of social, emotional, and
cognitive abilities essential to
digital life. It is having the
necessary knowledge, skills and
ability to adapt one’s emotions
and adjust one’s behavior to
deal with the challenges and
demands of the digital era.
Digital Intelligence
Digital identity:
The ability to create and manage
one’s online identity and reputation.
This includes an awareness of one's
online persona and management of
the short-term and long-term impact
of one's online presence.
• Digital citizen
• Digital co-creator
• Digital entrepreneur
Digital Intelligence
Digital use:
The ability to use digital devices and
media, including the mastery of
control in order to achieve a healthy
balance between life online and
offline.
• Screen time
• Digital health
• Community participation
Digital Intelligence
Digital safety:
The ability to manage risks online (e.g.
cyberbullying, grooming,
radicalization) as well as problematic
content (e.g. violence and obscenity),
and to avoid and limit these risks.
• Behavioral risks
• Content risks
• Contact risks
Digital Intelligence
Digital security:
The ability to detect cyber threats
(e.g. hacking, scams, malware), to
understand best practices and to use
suitable security tools for data
protection.
• Password protection
• Internet security
• Mobile security
Digital Intelligence
Digital emotional intelligence:
The ability to be empathetic and build
good relationships with others online.
• Social & emotional awareness
• Emotional awareness/regulation
• Empathy
Digital Intelligence
Digital communication:
The ability to communicate and
collaborate with others using digital
technologies and media.
• Online collaboration
• Online communication
• Digital footprints
Digital Intelligence
Digital literacy:
The ability to find, evaluate, utilize,
share and create content as well as
competency in computational
thinking.
• Computational thinking
• Content creation
• Critical thinking
Digital Intelligence
Digital rights:
The ability to understand and uphold
personal and legal rights, including the
rights to privacy, intellectual property,
freedom of speech and protection
from hate speech.
• Freedom of speech
• Intellectual property rights
• Privacy
Digital Citizen Identity
Understands the nature of the digital world; uses digital technologies and media
with proficiency
Has the knowledge and skills to build and manage a healthy congruent identity,
on-and offline identities with self-efficacy
Aware of global citizenship in the digital space (as the digital world is global in
nature).
Screen Time Management
Able to balance between the physical and virtual realities
Has the self-control to use digital technology and understands the various side
effects of excessive screen time, multi-tasking and addictive usage of digital
media
Able to manage time and set limits on personal digital use; does not allow digital
use to take over his/her life.
Digital Footprint Management
Understands the nature of online communication
Knows that everything he/she says and does online leaves trails called digital
footprints
Aware of the persistent nature of the digital footprints and their real-life
consequences, including creating unintended online reputation
Has the skills to manage digital footprints responsibly; aware of the short- and
long-term impact of his/her digital footprints.
Cyber Bullying Management
Has the personal discipline to use digital media safely and responsibly
Knows how to detect a cyber bullying situation and how to handle the situation
calmly
Knows how to handle a problem with wisdom and safely seek help before it
goes out of control.
Digital Empathy
 Sensitive to the needs and feelings of self and others when online, even without
face-to-face interaction
 Willing to lend a voice to those who need help and to speak out for them
 Not easily judgemental online and not swayed by online herd mentality
 Builds good relationships with parents, teachers and friends, both on- and off-
line
 Keeps communication honest and open with parents, teachers and friends
about his/her digital life.
Critical Thinking
 Has knowledge and skills to evaluate information, content and contacts on the
Internet with discernment
 Understands the harmful effects of false information, violence, inappropriate
content and the risks associated with online strangers
 Uses critical thinking to distinguish true and false information, good and
harmful content, and trustworthy and questionable contacts online.
Privacy Management
 Has the knowledge and skills to handle personal information shared online with
discretion
 Ensures and protects the privacy for self and his contacts
 Aware that privacy is a basic human right.
Cyber Security Management
 Is able to spot and protect oneself and others from various cyber attacks such
as spam, scams and phishing
 Has practical skills such as creating strong passwords and keeping them
confidential.
Digital Intelligence
DQ
Digital Intelligence
DQ
Tasks
Apply your digital intelligence skill on the hot
topic posted on pantip.com by reviewing the
post and comments. Use the DQ skills item to
specify good/bad intelligence of comments in
the thread.
http://slideshare.net/denpong
denpong@kku.ac.th
http://facebook.com/denpong.s

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a 21st century learning skills

lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal doc
letterbox 17
 
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
Tapp Pov
 
Chapter 05
Chapter 05Chapter 05
Chapter 05
Bunsasi
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
piyamon
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
Pacharaporn087-3
 
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0yPrefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
Aon Narinchoti
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
patitadarakorn
 

Semelhante a 21st century learning skills (20)

lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal doc
 
genius and autism
genius and autismgenius and autism
genius and autism
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
3
33
3
 
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
06550146 โซเชียลมีเดียเพื่อการศึกษา
 
Chapter 05
Chapter 05Chapter 05
Chapter 05
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Social problem analysis - Workshop
Social problem analysis - WorkshopSocial problem analysis - Workshop
Social problem analysis - Workshop
 
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0yPrefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 

Mais de Denpong Soodphakdee

Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
Denpong Soodphakdee
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Denpong Soodphakdee
 

Mais de Denpong Soodphakdee (20)

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKU
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKU
 
New Media in Digital Age
New Media in Digital AgeNew Media in Digital Age
New Media in Digital Age
 
ICT in Modern Education
ICT in Modern EducationICT in Modern Education
ICT in Modern Education
 
New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 
Innovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in EducationInnovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in Education
 
KKU Google Apps - Case Study
KKU Google Apps - Case StudyKKU Google Apps - Case Study
KKU Google Apps - Case Study
 

21st century learning skills

  • 1. Digital Intelligence +DENPONG SOODPHAKDEE, Ph.D. VP.ACAD.COMM @KKU 21st Century Learning Skills
  • 2. ประเวศ วะสี การทางานไม่ควรใช้วิชาการอย่างเดียว จะทาให้คิดแต่เรื่องเทคนิค คิดแยกส่วน คิดแต่หน่วยงานของตนเอง มนุษย์มี social brain อยู่ส่วนหน้าของสมอง เป็นส่วนของใจ จิตสานึก เมื่อใช้ social brain มนุษย์จะมีความเห็นใจเพื่อนมนุษย์ (Empathy) มนุษย์จะต้องการทางานเพื่อผู้อื่น (Altruism)
  • 3. “ตาบอด คลาช้าง” มีที่มาจากคาสอนเชิงอุปมาของพระพุทธเจ้าใน ปฐมกิรสูตร สอนปริญญาตรี ให้มีฐานแน่น ติดอันดับโลก ทางานวิจัยให้มาก ใช้ e-Learning ฝึกอบรมระยะสั้น ส่งเสริมการรับใช้ชุมชน ปฐมกิรสูตร • ทะเลาะวิวาท • ทิ่มตากันด้วยโวหาร • ไม่หาสาเหตุ • ขาดการมองในองค์รวม การบริหารที่ดี ต้องลืมตา มองให้เห็นช้างทั้งตัว
  • 5. 2400 2420 2440 2460 2480 2500 โรงเรียนแรก สาหรับราษฏร (2428) โรงเรียนหลวง โรงเรียนภาษาอังกฤษ โรงเรียนทหารมหาดเล็ก พระตาหนักสวนกุหลาบ โรงเรียนทาแผนที่ โรงเรียนราชกุมาร โรงเรียนพระปริยัติธรรม กรมศึกษาธิการ (2430) โรงเรียนเชลยศักดิ์ กระทรวงศึกษาธิการ (2435) โรงเรียนฝึกหัด อาจารย์ 2435 โครงการศึกษาชาติ 2541 โรงเรียนข้าราชการพลเรือน 2453 พรบ.ประถมศึกษา โครงการศึกษา 2464 “..ประเทศไทยยังมีอาชีพอย่างอื่นอีกหลายอาชีพ หากมุ่งแต่จะยึดเอาอาชีพราชการแต่อย่างเดียว การ เศรษฐกิจของชาติก็จะตกอยู่ในมือของต่างด้าว เพราะฉะนั้นจึงต้องวาง “การศึกษาสาหรับชาติ” (National Education) ขึ้นไว้ให้ทุกคนได้รับ การศึกษาตามควรแก่อัตภาพ ให้มีวิสามัญศึกษาอันเป็นการศึกษา สาหรับไปประกอบอาชีพ.... สงครามโลก ครั้งที่สองยุติ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และการเมือง มหาวิทยาลัย เฉพาะทาง เปลี่ยนแปลงการปกครอง แผนการศึกษาชาติ 2475 ศึกษาพฤกษ์ (พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5 พฤศจิกายน 2555 แผนการศึกษาชาติ 2445 มหาวิทยาลัยภูมิภาค Initial and Boundary Conditions พ.ศ. 2238 - โรงเรียนคาทอลิค สมัยสมเด็จพระนารายณ์ สมัยอยุธยา
  • 7. Equalization of Thai Higher Education อุดมศึกษากับการเปิดโอกาสเพื่อความทัดเทียม Professionalization of Thai Higher Education อุดมศึกษาเพื่อสร้างคนประกอบวิชาชีพ Liberalization of Thai Higher Education อุดมศึกษากับการเปิดกว้างตามแนวเสรีนิยมอแมริกา Corporatization of Thai Higher Education อุดมศึกษากับการจัดการเชิงบรรษัท ????? S-Curve การศึกษาไทย ไม่ต่างกับ S-Curve อุดมศึกษาไทย ทศวรรษ 2450 – 2490 เริ่มจากการตั้งโรงเรียนประถมศึกษาแห่งแรกในรัชกาลที่ 5 ออกแบบให้ผู้จบประถมศึกษาประกอบอาชีพได้ ทศวรรษ 2490 -2510 ต้นรัชกาลที่ 9 ให้เอกชนจัดการศึกษาได้ การขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 4 เป็น 7 ปี อุดมศึกษาภูมิภาค ทศวรรษ 2510 - 2540 การขยายตัวการศึกษารัฐ-เอกชน การเปิดโรงเรียนในชนบท การเพิ่มโรงเรียนขยายโอกาส ขยายอุดมศึกษาเอกชน ราชภัฏ ราชมงคล ทศวรรษ 2540 จนถึงปัจจุบัน การนาแนวคิดการบริหารองค์กรธุรกิจภาคเอกชน มาใช้บริการสถานศึกษา การศึกษาเปลี่ยนจากวิทยาทานเป็นสินค้า การเติบโตของหลักสูตรนานาชาติ การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ศาสตราจารย์ไพฑูรย์ สินลารัตน์
  • 8.
  • 9.
  • 10. มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์ • หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม (ครั้งแรก 1750- เครื่องจักรไอน้้า, ครั้งที่สอง 1850- เครื่องยนต์ สันดาปภายใน เครื่องก้าเหนิดไฟฟ้า) คนในยุโรปอยู่ในเมืองมากกว่าชนบท • การปฏิวัติอุตสาหกรรมขับดันด้วยไอน้า (mechanical principle) - ก้าลังเครื่องจักรแทนก้าลังคนและสัตว์ ไม่ใช่ด้วยปรัชญา - สมอง • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ไม่ใช่สงคราม) ลดความทุกข์ยาก และสร้างความมั่งคั่ง • มีการต่อสู้ทางความคิด ระหว่างมหาวิทยาลัยที่เน้น liberal arts/classics และ มหาวิทยาลัยที่เน้นวิทยาศาสตร์ Education 2.0
  • 11. • การสอนในมหาวิทยาลัยใช้ศาสตราจารย์ ไม่ใช่ติวเตอร์เช่นใน วิชา classics • การวัดผลใช้ข้อสอบข้อเขียนเท่านั้น • อาจารย์เป็นทั้งผู้สอนและผู้แสวงหาความรู้ใหม่โดยการวิจัย • เยอรมันเป็นต้นแบบของมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ เริ่มจากการ พัฒนาห้องปฏิบัติการเคมี เป็นผู้น้าตั้งสถาบันวิจัยทางเภสัชวิทยาและเคมี ศิษย์จากมหาวิทยาลัย ในเยอรมันมาสร้างต้าแหน่งศาสตราจารย์ทางวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยอังกฤษ มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์ Education 2.0
  • 12. •ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยเยอรมันนีเป็นทั้งครูและนักวิจัยทางวิทยาศาสตร์ •มหาวิทยาลัยเยอรมันนีพัฒนาต้นแบบของห้องปฏิบัติการทางเคมีวิเคราะห์ สร้าง อุตสาหกรรมเภสัชวิทยาและเคมี •อิทธิพลจาก Charles Darwin ตามแนวคิด Survival of the Fittest น้ามาซึ่งการแข่งขัน ระหว่างประเทศ ความห่วงใยของอังกฤษที่เยอรมันล้้าหน้าทางเหล็กและไฟฟ้า •ศิษย์จากมหาวิทยาลัยเยอรมันนีมาจัดตั้งต้าแหน่งทางวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยอังกฤษที่มี ไม่กี่แห่ง มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์ Education 2.0
  • 13. กล่าวโดยรวม มหาวิทยาลัยรุ่นใหม่ในยุโรป มีการผสมผสานระหว่าง •Arts เป็นฐานของการสื่อสารและความเข้าใจ •Mathematics กุญแจของการคิดเชิงตรรกะ •History เพื่ออธิบายเหตุการณ์ของมนุษย์และเป็นฐานของความยืนยาวของสังคมในอนาคต •Sciences เพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งของธรรมชาติและเพื่อการหาประโยชน์ส้าหรับมนุษย์ มหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 19 - ยุควิทยาศาสตร์ Education 2.0
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 18. ปัญหาการเรียนรู้แต่ละช่วงวัย ทุกวัย ลงทุนมาก แต่ได้ผลน้อย ปฐมวัย (0-5 ปี) “โง่ตั้งแต่ยังไม่เข้าเรียน” หญิงตั้งครรภ์ขาดไอโอดีน เด็กโง่ก่อนเกิด เด็กเล็กขาดการ ดูแล วัยเรียนรู้พื้นฐาน (6-14 ปี) “เรียนมาก แต่ไม่ฉลาดในการใช้ชีวิต ขาดทักษะชีวิต” แม่วัยรุ่นคลอดปีละ100,000 คน เด็กแว้น เด็กซิ่ง วัยเตรียมทางาน (15-24 ปี) “เรียนมาก แต่ได้ใช้ประโยชน์น้อย” จบปริญญาตรี ไม่ใครจ้าง รับค่าแรงรายวันขั้นต่าต่า วัยทางาน (25 - …… ปี ) “ผลพวงสะสม ...สู่แรงงานไร้ฝีมือ ” ทางาน 30-40ปี ขาดกลไกพัฒนาความรู้ ฝีมือ อาชีพ 18 วัยเรียนพื้นฐานและวัยเตรียมทางาน ความเหลื่อมล้า ความไม่เป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษา การเรียนรู้ การศึกษา มากกว่าการไปโรงเรียน (วิทยาลัย มหาวิทยาลัย) การเรียนรู้ ไม่ได้เกิดขึ้นที่โรงเรียนเท่านั้น ครอบครัว ชุมชน สังคม มีบทบาทส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต อมรวิชช์ นาครทรรพ
  • 19.
  • 20. 1 . คนไทยรู้จักหน้าที่ของตัวเองต่ามาก โดยเฉพาะหน้าที่ต่อสังคม คือ เป็นประเภทมือใครยาว สาวได้สาวเอา เกิดเป็น ธุรกิจการเมือง ธุรกิจราชการ ธุรกิจการศึกษา ทาให้ประเทศชาติ ล้าหลังไป เรื่อยๆ 2. การศึกษายังไม่ทันสมัย คนไทยจะเก่งแต่ภาษาของตัวเอง ทาให้ขาดโอกาสในการแข่งขัน กับต่างชาติในเวทีต่างๆ ไม่กล้าแสดงออก ขี้อายไม่มั่นใจในตัวเอง จึงตามหลังชาติอื่น คนมีฐานะจะ ส่งลูกไปเรียนเมืองนอก เพื่อโอกาสที่ดีกว่า 3. มองอนาคตไม่เป็น คนไทยมากกว่า 70% ทางานแบบไร้อนาคตทาแบบวันต่อวันแก้ปัญหา เฉพาะหน้าไปวันๆ น้อยคนนักที่จะทางาน แบบเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน มีเป้าหมายในอนาคตที่ ชัดเจน 4. ไม่จริงจังในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ทาแบบผักชีโรยหน้า หรือทาด้วยความเกรงใจ ต่างกับคนญี่ปุ่นหรือยุโรปที่จะให้ความสาคัญกับ สัญญาหรือข้อตกลงอย่างเคร่งครัดเ พราะหมายถึง ความเชื่อถือในระยะยาว ปัจจุบันคนไทยถูกลดเครดิตความน่าเชื่อถือด้านนี้ลงเรื่อย ๆ ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นของประธาน JETRO กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
  • 21. 5. การกระจายความเจริญยังไม่เต็มที่ ประชากรประมาณ 60-70% ที่อยู่ห่างไกลจะขาด โอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตัวเองและชุมชน ซึ่งเป็นหน้าที่ของภาครัฐที่ต้องส่งเสริม 6. การบังคับกฎหมายไม่เข้มแข็ง และดาเนินการ ไม่ต่อเนื่อง ทางานแบบลูบหน้าปะจมูก ปราบปรามไม่จริงจัง การดาเนินการตามกฎหมายกับผู้มีอานาจ หรือบริวารจะทาแบบเอาตัวรอดไป ก่อน ไม่มีมาตรฐาน 7. อิจฉาตาร้อน สังคมไทยไม่ค่อยเป็นสุภาพบุรุษ เลี่ยงเป็น ศรีธนญชัย ยกย่องคนมีอานาจ มีเงิน โดยไม่สนใจภูมิหลัง โดยเฉพาะคนที่ล้มบนฟูก แล้วไปเกาะผู้มี อานาจเอาตัวรอด คนพวกนี้ร้ายยิ่งกว่าผู้ก่อการร้าย ดีแต่พูด มือไม่พายเอาเท้าราน้า ทาให้คนดีไม่ กล้าเข้ามาเพราะกลัวเปลืองตัว ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นของประธาน JETRO กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
  • 22. 8. เอ็นจีโอค้านลูกเดียว เอ็นจีโอบางกลุ่มอิงอยู่กับผลประโยชน์ บ่อยครั้งที่ต้องเสียโอกาสอย่าง มหาศาล เพราะการค้านหัวชนฝา เหตุผล จริง ๆ ไม่ได้พูดกัน 9. ยังไม่พร้อมในเวทีโลก การสร้างความน่าเชื่อถือ ในเวทีการค้าระดับโลกยังขาดทักษะและ ทีมเวิร์คที่ดี ทาให้สู้ประเทศเล็ก ๆ อย่างสิงคโปร์ไม่ได้ 10. เลี้ยงลูกไม่เป็น ปัจจุบัน เด็กไทยขาดความอดทน ไม่มีภูมิคุ้มกันเป็นขี้โรคทางจิตใจ ไม่ เข้มแข็งเพราะการเลี้ยงลูกแบบไข่ในหิน ไม่สอนให้ลูกช่วยตัวเอง ไม่กระตือรือร้นในการช่วยตนเอง ขวนขวายแสวงหาค้นหาตัวเอง และไม่สอนให้สานึกรับผิดชอบต่อสังคม ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นของประธาน JETRO กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
  • 23. สถานทูตจีน เขียนรายงาน (เป็นภาษาจีน) ระบุว่า 1. การศึกษาบ้านเรา เน้นแต่ด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การตลาด บริหารธุรกิจ ซึ่งจบมาแล้ว ไม่มีงานทา ความรู้กระจอก สักแต่ให้มีปริญญา ไม่ได้สร้าง value-added ใดๆ นักวิทยาศาสตร์ การวิจัย แทบจะเป็นศูนย์ Guanmu อดีตเอกอัครทูตจีน บอกว่า 25 ปีที่ผ่านมา ไทยผลิตยาง อย่างไงก็ยังทาแบบนั้น ไม่ สร้างมูลค่าเพิ่ม ทาเป็นยางรถยนต์ หรือสิ่งประดิษฐ์ อะไรเองไม่เป็น 2. มหาวิทยาลัยไทยรวมไปถึงธรรมศาสตร์จุฬาฯ กิจกรรมเน้นเต้น หลีดโชว์ หล่อสวย แต่โง่ ไม่มีการฝึกงานอะไร ที่เป็นประโยชน์ ขอเงินพ่อแม่เที่ยวกลางคืน เย่อกันไปวันๆ โชว์วัตถุนิยม ว่ารถกู ขับรถอะไร สังคมมันวัดกันแค่นี้ (เห็นมากับตา) พวกดีๆ ก็มี แต่มันน้อย ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นจากสถานทูตจีน กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
  • 24. เอาจริงๆนะ ผมว่ามีแค่10% ในขณะที่เด็กสหรัฐฯ พวก MIT Stanford หรือเด็กจีนชิงหัว ปิดเทอมพยายามหางานทา ฝึกงาน UN, World Bank, JP Morgan, หรือมาค่ายผู้ลี้ภัยชาว โรฮิงญาในไทย 3. จ่ายครบจบแน่ ปริญญาขยะเต็มบ้าน คือ หางานทาไม่ได้ มีแต่อยากจะรวย "ผมจะทา ธุรกิจ" คือมันคิดอะไรไม่ออก นอกจากขายของ นอกจากนี้ยังทุจริต ผันงบกระทรวงศึกษาให้ทุน กู้ยืมมหาวิทยาลัย เอกชนที่มีนักการเมืองเป็นเจ้าของ สุดท้ายหนี้สูญ เพราะเด็กบ้านนอก ได้มาเข้า กรุง สักว่าจบปริญญาประดับบ้าน แต่มันหางานทาไม่ได้ ปีหนี่งหมดเงิน ภาษีประเทศชาติ ไปหลายหมื่นล้าน เรื่องเลวๆนี้ ไม่เคยถูกตรวจสอบ 4. ภาษาอังกฤษห่วยแตกขั้นเทพ จริงๆ อาจารย์จุฬาฯส่วนใหญ่ ก็ลอกบทความฝรั่งมาแปล ไม่มีความคิดอะไรใหม่ หาน้อยคนที่จบระดับโลก ไปดูCVเอาเอง ได้จบมหาลัยห้องแถว B-class ทั้งนั้น งานวิจัยขยะ copy/paste เต็มไปหมด ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นจากสถานทูตจีน กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
  • 25. ครูมัธยม เอาแค่โรงเรียนในกรุงเทพฯ ผมเคยถูกเชิญไปพูด ยังออกเสียง สะกดศัพท์ไม่ถูกเลย จะสอนเด็กให้ถูกอย่างไร แล้วโรงเรียนในอ.ปัว จังหวัดน่าน มัน จะห่วยแตก ขนาดไหน 5.ความรู้ใหม่ๆหรือเทคโนโลยี มันหมุนเวียนเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งคนไทยรู้แต่ภาษาไทย ตัวเอง ไม่มีความสามารถแข่งขันอะไรในระดับโลก โลกทัศน์สุดจะแคบ สานักข่าวไทย รายงานแต่เรื่องเส็งเคร็ง ไม่ได้สร้างคุณค่าความรู้อะไร คนนั้นท้องกับคนนี้ ตารวจตั้งด่านไถตังค์ไปวันๆ ไปทางานมาหลายประเทศ เช่น ฮ่องกง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ บอกได้เลย นักเรียนไทยโคตรจะขี้ เกียจ ไม่รู้ปีหนึ่งๆ อ่านหนังสือกันกี่เล่ม? ข้อความที่ส่งในไลน์ - อ้างว่าเป็นความเห็นจากสถานทูตจีน กรุงเทพ แต่มีการปฏิเสธ
  • 26. 21st Century Skills ( Cisco-, Intel- and Microsoft funded Assessment and Teaching of the 21st Century Skills - AT21CS Consortium ) • Way of Thinking : creativity and innovation, critical thinking, problem solving, decision making, and learning to learn (meta cognition) • Way of Working : communication and teamwork • Tools of Working : general knowledge and information communication technology (ICT) literacy • Living in the World : citizenship, life and career, and personal and social responsibility, including cultural awareness and competence.
  • 27. การสร้าง 21st Century Skills เปลี่ยนสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทั้งปวงในบริบทของผู้เรียนให้เป็น “ห้องเรียน” หรือ “แหล่งเรียนรู้” ให้เกิดพื้นที่กระบวนการเรียนรู้ (Learning space) ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น : การเรียนบนฐานโครงการ (Project-Based Learning) เพื่อเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และการมองเชิงบูรณาการ : การเรียนบนฐานปัญหา (Problem-Based Learning) เพื่อเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา : การเรียนรู้บนฐานวิจัย (Research-Based Learning) เพื่อกระตุ้นความใฝ่รู้และทักษะการเรียนรู้ : การเรียนรู้คู่การทางาน (Work-Based Learning) เพื่อเสริมทักษะความพร้อมด้านอาชีพ : การเรียนรู้คู่การบริการ (Service Learning) เพื่อสร้างทั้งทักษะชีวิตและจิตส้านึกในหน้าที่ต่อสังคม
  • 28. Ten Skills for the Future Workforce (Higher Order Thinking and Working Skills) ความสานึกในความหมายที่ลุ่มลึก (Sense making) ความสามารถที่จะเข้าใจความหมาย หรือนัยยะที่ลุ่มลึก ของสิ่งที่มีการแสดงออก (ability to determine the deeper meaning or significance of what is being expressed) ความฉลาดหรือปัญญาเชิงสังคม (Social intelligence) ความสามารถที่จะเข้าใจและเข้าถึงมนุษย์ผู้อื่นได้ อย่างถ่องแท้ กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยา การโต้ตอบ หรือการกระทาที่ต้องการ ( ability to connect to others in a deep and direct way, to sense and stimulate interactions and desired interactions) ระบบคิดที่ปรับตัวได้คล่องและใหม่แตกต่าง (Novel and adaptive thinking) สมรรถนะของระบบคิด และ การได้คาตอบรูปแบบใหม่ที่ไม่ได้อาศัยประสพการณ์หรือความรู้เดิม และนอกกรอบกติกาปรกติ (proficiency at thinking and coming up with solutions and beyond what is rote or ruled based). Future Workforce Skills 2020
  • 29. Ten Skills for the Future Workforce (Higher Order Thinking and Working Skills) พหุวัฒนธรรม (Cross cultural) ความสามารถที่จะทางานในปริบทหรือสภาพแวดล้อมต่างวัฒนธรรม (ability to operate in different cultural settings) ระบบคิดเชิงตรรกะการคานวณ (Computational thinking) ความสามารถที่สร้างกรอบแนวคิดที่เป็น นามธรรมจากข้อมูลจานวนมาก และสามารถหาเหตุผลจากฐานข้อมูลนี้ (ability to translate large amount of data into abstract concepts and to understand data-based reasoning) การรู้เท่าทันและมีอานาจควบคุมสื่อแบบใหม่ (New media literacy) ความ สามารถที่จะรู้เท่าทัน ประเมินสื่อแบบใหม่ เพื่อประมวลประเด็นสาระ รวมทั้งใช้สื่อแบบใหม่นี้เพื่อการสื่อสารที่โน้มน้าวคนได้ (ability to translate large amount of data into abstract concepts and to understand data-based reasoning) การก้าวข้ามสาขาวิชา (Transdisciplinary) ความรู้และความเข้าใจประเด็นสาคัญขององค์ความรู้ในพหุ สาขาวิชาและสหสาขาวิชา (literacy in and understand concepts across multiple discipline) Future Workforce Skills 2020
  • 30. Ten Skills for the Future Workforce (Higher Order Thinking and Working Skills) มโนทัศน์การออกแบบ (Design mindset) ความสามารถที่เข้าใจและกาหนดงานและกระบวนการให้ได้ผล ผลิตที่ต้องการ (ability to represent and develop task and work process to design outcomes) การจัดการระบบความรู้ (Cognitive load management) ความสามารถจาแนกแยกแยะ เลือกข้อมูลที่ สาคัญ เข้าใจการใช้กระบวนการคิดและใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยเทคนิคและเครื่องมือต่างๆ (ability to discriminate and filter information for importance, and to understand how to maximize cognitive functioning using a variety of tools and techniques) ความร่วมมือเสมือน (Virtual collaboration) มีความสามารถทางาน ขับดันพันธะกิจได้ด้วยกัน แม้ทางานอยู่ คนละที่ (ability to work collectively, drive engagement, and an demonstrate presence as a member of a virtual team) Future Workforce Skills 2020
  • 31. John Couch, Vice President of Education, Apple, Inc.
  • 32. John Couch, Vice President of Education, Apple, Inc.
  • 33. Ref : Institute for the Future for Apollo Research Institute
  • 34. • Sense-Making : มีทักษะในความคิดระดับสูงที่เครื่องจักรไม่สามารถด้าเนินการได้ มีทักษะที่ช่วยในการ ตัดสินใจได้ในภาวะวิกฤติ • Social Intelligence : มีความสามารถในการปรับตัวที่รวดเร็ว ในการสร้างความร่วมมือและ ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและหน่วยงานภายนอก • Novel & Adaptive Thinking : มีความสามารถในการคิดและหาค้าตอบรวมถึงการตอบสนอง มากกว่า การท่องจ้าหรือการท้าตามกฏ • Cross-cultural Competency : มีความสามารถในการท้างานในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งวัฒนธรรม ของพื้นถิ่น / ภูมิภาค วัฒนธรรมองค์กร • Computational Thinking : มีความสามารถในการแปลของความหมายของข้อมูลให้เกิดความเข้าใจได้ โดยง่าย การเลือกใช้แบบจ้าลองเพื่อประมาณการที่แม่นย้า • New-media Literacy : มีความสามารถในการวิเคราะห์ ประเมิน และพัฒนาเนื้อหาที่สร้างสรรค์โดยการ ใช้สื่อรูปแบบใหม่
  • 35. •Transdisciplinarity : มีความสามารถในการเรียนรู้และความเข้าใจในเนื้อหาข้าม ศาสตร์ “รู้ลึกในศาสตร์หนึ่ง และรู้กว้างในอีกหลายศาสตร์ (T-shaped)” •Design Mindset : มีความสามารถในการพัฒนาทักษะของการคิดและปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมของการท้างานให้บรรลุตามเป้าหมาย •Cognitive Load Management : มีความสามารถในการแยกแยะและคัดกรอง ข้อมูลที่ส้าคัญที่จะน้าไปใช้ประโยช์ และความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือและ เทคนิคที่หลากหลาย •Virtual Collaboration : มีความสามารถในการท้างาน การขับเคลื่อนความสัมพันธ์ และการน้าเสนอในลักษณะทีมเสมือน (Virtual team)
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 40. Digital Intelligence Digital Intelligence (DQ) is the sum of social, emotional, and cognitive abilities essential to digital life. It is having the necessary knowledge, skills and ability to adapt one’s emotions and adjust one’s behavior to deal with the challenges and demands of the digital era.
  • 41. Digital Intelligence Digital identity: The ability to create and manage one’s online identity and reputation. This includes an awareness of one's online persona and management of the short-term and long-term impact of one's online presence. • Digital citizen • Digital co-creator • Digital entrepreneur
  • 42. Digital Intelligence Digital use: The ability to use digital devices and media, including the mastery of control in order to achieve a healthy balance between life online and offline. • Screen time • Digital health • Community participation
  • 43. Digital Intelligence Digital safety: The ability to manage risks online (e.g. cyberbullying, grooming, radicalization) as well as problematic content (e.g. violence and obscenity), and to avoid and limit these risks. • Behavioral risks • Content risks • Contact risks
  • 44. Digital Intelligence Digital security: The ability to detect cyber threats (e.g. hacking, scams, malware), to understand best practices and to use suitable security tools for data protection. • Password protection • Internet security • Mobile security
  • 45. Digital Intelligence Digital emotional intelligence: The ability to be empathetic and build good relationships with others online. • Social & emotional awareness • Emotional awareness/regulation • Empathy
  • 46. Digital Intelligence Digital communication: The ability to communicate and collaborate with others using digital technologies and media. • Online collaboration • Online communication • Digital footprints
  • 47. Digital Intelligence Digital literacy: The ability to find, evaluate, utilize, share and create content as well as competency in computational thinking. • Computational thinking • Content creation • Critical thinking
  • 48. Digital Intelligence Digital rights: The ability to understand and uphold personal and legal rights, including the rights to privacy, intellectual property, freedom of speech and protection from hate speech. • Freedom of speech • Intellectual property rights • Privacy
  • 49. Digital Citizen Identity Understands the nature of the digital world; uses digital technologies and media with proficiency Has the knowledge and skills to build and manage a healthy congruent identity, on-and offline identities with self-efficacy Aware of global citizenship in the digital space (as the digital world is global in nature). Screen Time Management Able to balance between the physical and virtual realities Has the self-control to use digital technology and understands the various side effects of excessive screen time, multi-tasking and addictive usage of digital media Able to manage time and set limits on personal digital use; does not allow digital use to take over his/her life.
  • 50. Digital Footprint Management Understands the nature of online communication Knows that everything he/she says and does online leaves trails called digital footprints Aware of the persistent nature of the digital footprints and their real-life consequences, including creating unintended online reputation Has the skills to manage digital footprints responsibly; aware of the short- and long-term impact of his/her digital footprints. Cyber Bullying Management Has the personal discipline to use digital media safely and responsibly Knows how to detect a cyber bullying situation and how to handle the situation calmly Knows how to handle a problem with wisdom and safely seek help before it goes out of control.
  • 51. Digital Empathy  Sensitive to the needs and feelings of self and others when online, even without face-to-face interaction  Willing to lend a voice to those who need help and to speak out for them  Not easily judgemental online and not swayed by online herd mentality  Builds good relationships with parents, teachers and friends, both on- and off- line  Keeps communication honest and open with parents, teachers and friends about his/her digital life. Critical Thinking  Has knowledge and skills to evaluate information, content and contacts on the Internet with discernment  Understands the harmful effects of false information, violence, inappropriate content and the risks associated with online strangers  Uses critical thinking to distinguish true and false information, good and harmful content, and trustworthy and questionable contacts online.
  • 52. Privacy Management  Has the knowledge and skills to handle personal information shared online with discretion  Ensures and protects the privacy for self and his contacts  Aware that privacy is a basic human right. Cyber Security Management  Is able to spot and protect oneself and others from various cyber attacks such as spam, scams and phishing  Has practical skills such as creating strong passwords and keeping them confidential.
  • 55. Tasks Apply your digital intelligence skill on the hot topic posted on pantip.com by reviewing the post and comments. Use the DQ skills item to specify good/bad intelligence of comments in the thread.