SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 6666
รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555
หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง การเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงาน((((FlowchartFlowchartFlowchartFlowchart))))โปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายการเขียนผังงาน(Flowchart)โปรแกรมได้
การเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงาน((((FlowchartFlowchartFlowchartFlowchart)))) โปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรม
คือคือคือคือ การแสดงขั้นตอนการทํางานโดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพ เพื่อแสดงลําดับการควบคุมการทํางาน
โดยใช้สัญลักษณ์ที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางานด้วยลูกศรเพื่อกําหนดทิศทางการ
ทํางานในแต่ละขั้นตอน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ มีดังนี้
ลําดับลําดับลําดับลําดับ สัญลักษณ์สัญลักษณ์สัญลักษณ์สัญลักษณ์ หน้าที่การใช้งานหน้าที่การใช้งานหน้าที่การใช้งานหน้าที่การใช้งาน
1 จุดเริ่มต้น(Start) หรือ สิ้นสุด(Stop)
2 รับข้อมูล(Input) หรือ แสดงผลข้อมูล(Output)
3 ประมวลผลหรือคํานวณ(Process)
4 รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์
5 แสดงการตัดสินใจ(Decision) หรือ เปรียบเทียบ
(Compare)
6 แสดงข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์(Printer)
7 การทํางานย่อย(Subroutine Processing)
8 จุดต่อเนื่องการทํางาน ต่อหน้าอื่น (Connect Symbol)
9 ทิศทาง (Flow line)
การออกแบบผังงานการออกแบบผังงานการออกแบบผังงานการออกแบบผังงาน ((((Flowchart)Flowchart)Flowchart)Flowchart) จะมีจะมีจะมีจะมี 3333 แบบ ดังนี้แบบ ดังนี้แบบ ดังนี้แบบ ดังนี้
1.... แบบเรียงลําดับแบบเรียงลําดับแบบเรียงลําดับแบบเรียงลําดับ จะเป็นลักษณะการทํางานที่เรียงกันไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการวนซ้ํา ดังรูป
2. แบบทางเลือกแบบทางเลือกแบบทางเลือกแบบทางเลือก จะเป็นลักษณะการทํางานที่มีทางเลือก พบในเรื่องคําสั่งเงื่อนไข เช่น คําสั่ง if…else ดังรูป
3.... แบบการทํางานซ้ําแบบการทํางานซ้ําแบบการทํางานซ้ําแบบการทํางานซ้ํา จะเป็นลักษณะการทํางานที่วนการทํางานแบบเดิม จนครบตามจํานวนที่ต้องการ ซึ้งจะพบ
ในเรื่องคําสั่ง วนลูป เช่น คําสั่ง do….while ดังรูป
หลักในการเขียนผังงานหลักในการเขียนผังงานหลักในการเขียนผังงานหลักในการเขียนผังงาน
ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อ่านระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้ง่าย ไม่สับสน
มีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
2. ใช้ชื่อหน่วยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น
4. เส้นทางการทํางานห้ามมีจุดตัดการทํางาน
5. ต้องไม่มีลูกศรลอยๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทํางานใดๆ
6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายใช้งาน
7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน์ ดังนี้
1. ทําให้มองเห็นรุปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
ตัวอย่างที่ตัวอย่างที่ตัวอย่างที่ตัวอย่างที่ 1111 จงเขียนผังาน(Flowchart)แสดงขั้นตอนการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
1. การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา
1.1 ปัญหา คือ ต้องการคํานวณหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จากสูตร
พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง x ยาว
1.2 ตัวแปรที่ใช้ คือ
x ใช้เก็บความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
y ใช้เก็บความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
Area ใช้เก็บพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
1.3 ข้อมูลนําเข้า คือ ค่าของ x,y,Area
1.4 ผลลัพธ์ คือ คํานวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า จากสูตร
Area = x * y
2.2.2.2. ขั้นตอนการทํางานขั้นตอนการทํางานขั้นตอนการทํางานขั้นตอนการทํางาน
2.1. รับข้อมูล x,y,Area เข้ามาในโปรแกรม
2.2 คํานวณหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จากสูตร
Area = x * y
2.3 แสดงผลการคํานวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า
3333.... ขั้นตอนการเขียนผังงานขั้นตอนการเขียนผังงานขั้นตอนการเขียนผังงานขั้นตอนการเขียนผังงาน((((Flowchart)Flowchart)Flowchart)Flowchart)
STOP
START
INPUT x,y
PRINT
Area= x+y

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรPawaputanon Mahasarakham
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdflohkako kaka
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 

Mais procurados (20)

90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 

Mais de dechathon

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1dechathon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นdechathon
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นdechathon
 

Mais de dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 

ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม

  • 1. ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 6666 รายวิชารายวิชารายวิชารายวิชา งงงง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555 หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง การเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงาน((((FlowchartFlowchartFlowchartFlowchart))))โปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายการเขียนผังงาน(Flowchart)โปรแกรมได้ การเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงานการเขียนผังงาน((((FlowchartFlowchartFlowchartFlowchart)))) โปรแกรมโปรแกรมโปรแกรมโปรแกรม คือคือคือคือ การแสดงขั้นตอนการทํางานโดยใช้สัญลักษณ์รูปภาพ เพื่อแสดงลําดับการควบคุมการทํางาน โดยใช้สัญลักษณ์ที่กําหนดความหมายใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทํางานด้วยลูกศรเพื่อกําหนดทิศทางการ ทํางานในแต่ละขั้นตอน สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็นส่วนใหญ่ มีดังนี้ ลําดับลําดับลําดับลําดับ สัญลักษณ์สัญลักษณ์สัญลักษณ์สัญลักษณ์ หน้าที่การใช้งานหน้าที่การใช้งานหน้าที่การใช้งานหน้าที่การใช้งาน 1 จุดเริ่มต้น(Start) หรือ สิ้นสุด(Stop) 2 รับข้อมูล(Input) หรือ แสดงผลข้อมูล(Output) 3 ประมวลผลหรือคํานวณ(Process) 4 รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 5 แสดงการตัดสินใจ(Decision) หรือ เปรียบเทียบ (Compare) 6 แสดงข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์(Printer) 7 การทํางานย่อย(Subroutine Processing) 8 จุดต่อเนื่องการทํางาน ต่อหน้าอื่น (Connect Symbol) 9 ทิศทาง (Flow line)
  • 2. การออกแบบผังงานการออกแบบผังงานการออกแบบผังงานการออกแบบผังงาน ((((Flowchart)Flowchart)Flowchart)Flowchart) จะมีจะมีจะมีจะมี 3333 แบบ ดังนี้แบบ ดังนี้แบบ ดังนี้แบบ ดังนี้ 1.... แบบเรียงลําดับแบบเรียงลําดับแบบเรียงลําดับแบบเรียงลําดับ จะเป็นลักษณะการทํางานที่เรียงกันไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการวนซ้ํา ดังรูป 2. แบบทางเลือกแบบทางเลือกแบบทางเลือกแบบทางเลือก จะเป็นลักษณะการทํางานที่มีทางเลือก พบในเรื่องคําสั่งเงื่อนไข เช่น คําสั่ง if…else ดังรูป
  • 3. 3.... แบบการทํางานซ้ําแบบการทํางานซ้ําแบบการทํางานซ้ําแบบการทํางานซ้ํา จะเป็นลักษณะการทํางานที่วนการทํางานแบบเดิม จนครบตามจํานวนที่ต้องการ ซึ้งจะพบ ในเรื่องคําสั่ง วนลูป เช่น คําสั่ง do….while ดังรูป หลักในการเขียนผังงานหลักในการเขียนผังงานหลักในการเขียนผังงานหลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อ่านระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้ง่าย ไม่สับสน มีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทํางานต้องเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหน่วยความจํา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกํากับทิศทางใช้หัวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น 4. เส้นทางการทํางานห้ามมีจุดตัดการทํางาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอยๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทํางานใดๆ 6. ใช้สัญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายใช้งาน 7. หากมีคําอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไว้ด้านขวาของสัญลักษณ์นั้น ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ทําให้มองเห็นรุปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนําไปเขียนคําสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว
  • 4. ตัวอย่างที่ตัวอย่างที่ตัวอย่างที่ตัวอย่างที่ 1111 จงเขียนผังาน(Flowchart)แสดงขั้นตอนการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1. การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา 1.1 ปัญหา คือ ต้องการคํานวณหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จากสูตร พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง x ยาว 1.2 ตัวแปรที่ใช้ คือ x ใช้เก็บความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า y ใช้เก็บความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า Area ใช้เก็บพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 1.3 ข้อมูลนําเข้า คือ ค่าของ x,y,Area 1.4 ผลลัพธ์ คือ คํานวณพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า จากสูตร Area = x * y 2.2.2.2. ขั้นตอนการทํางานขั้นตอนการทํางานขั้นตอนการทํางานขั้นตอนการทํางาน 2.1. รับข้อมูล x,y,Area เข้ามาในโปรแกรม 2.2 คํานวณหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จากสูตร Area = x * y 2.3 แสดงผลการคํานวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า 3333.... ขั้นตอนการเขียนผังงานขั้นตอนการเขียนผังงานขั้นตอนการเขียนผังงานขั้นตอนการเขียนผังงาน((((Flowchart)Flowchart)Flowchart)Flowchart) STOP START INPUT x,y PRINT Area= x+y