SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 108
Baixar para ler offline
นายแพทย์จรัส สิงห์แก้ว
การจัดบริการทางสุขภาพ หมายถึง การให้บริการทางสุขภาพ
ครอบคลุมทั้งการให้บริการส่งเสริม ป้ องกัน รักษา และฟื้ นฟู
สภาพ ซึ่งการให้บริการดังกล่าวจะต้องมีการตรวจสุขภาพ
เสียก่อน
การตรวจสุขภาพ หมายถึง การตรวจร่างกายและสภาวะทาง
จิตใจตามวิธีทางการแพทย์ เพื่อให้ทราบถึงความเหมาะสม และ
ผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานอันเกิดจากการทางาน
ระหว่าง
ทางาน
หลัง
ทางาน
ก่อน
ทางาน
ค้นหา
หรือ
ตั้งรับ
ตรวจ
วินิจฉัย
รักษาฟื้นฟู
เฝ้ าระวัง
ส่งเสริม
สุขภาพ
ได้เงิน
ได้กล่อง
ต้องได้แต้มด้วย
สุขภาพจิต
สถานะทาง
สังคม
คนทางาน
สุขภาพกาย
1. การบรรจุ ความเสี่ยง คือ คุณลักษณะบุคคลไม่เหมาะสมกับงาน มี
โรคประจาตัว มาบรรจุด้วยเส้นสาย
2. เริ่มทางาน ความเสี่ยงคือ การไม่ได้รับรู้รายละเอียดของอันตรายใน
งานและการป้ องกันที่ถูกต้องเหมาะสม ไม่ปฐมนิเทศ
3. ขณะทางาน ความเสี่ยงคือ การไม่ใช้อุปกรณ์ป้ องกัน การทางาน
ซ้าซาก การสัมผัสสารเคมีและ สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม การทางาน
หนักเกินไป บ้าOT ขาดการส่งเสริมสุขภาพ การใช้สารเสพติด
ระบบสวัสดิการไม่เพียงพอ ความเครียดในงาน กฎระเบียบที่
เคร่งครัดเกินไป
4. ขาดหรือตรวจสุขภาพประจาปีไม่ได้มาตรฐาน
ความเสี่ยงคือ
1. ไม่ได้ตรวจ
2. หรือไม่ได้ตรวจตามความเสี่ยงที่สัมผัสและตามความ
เสี่ยงทางสุขภาพ
3. การไม่แก้ไขกรณีมีความผิดปกติเริ่มเกิด ไม่เยียวยา ไม่
รักษา
ตนเอง
งาน
สิ่งแวดล้อม
ทัศนคติ ร่างกาย
จิตสังคม สิ่งเสพติด
ใจ
1. กินมาก กินหวาน กินเค็ม
2. ขาดการออกกาลังกาย
3. นอนน้อย
4. ลงพุง น้าหนักเกิน
5. โรคเรื้อรังกิน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง
หลอดเลือดสมองหัวใจ มะเร็ง
6. เพศ วัย สังขาร
พุทธ
กระทิง
หมี
หนู
อินทรี โมหะ
กระทิง
หมี
หนู
อินทรี
กลับด้าน
1. หนู ขี้ น้อยใจ ขาดความอีด ไม่มีความอดทน เสี่ยงต่อการใช้ยา
ระงับประสาท
2. หมี อนุรักษ์นิยม เครียดในการเปลี่ยนแปลง ทะเลากับกลุ่มอินทรี
3. อินทรี ไม่เครียด ไม่สนใจดูแลสุขภาพตนเอง เน้นแนวคิด
4. กระทิง บู้ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในงาน
5. พุทธ มองโลกเชิงบวก มีสติ แต่อาจไม่ฟิ ตทางกาย
6. โมหะ ประมาท ไม่รอบคอบ เกิดความผิดพลาดในงานบ่อย
1. ภาระหนี้ สิน
2. ครอบครัวไม่อบอุ่น หย่าร้าง
3. ติดอบายมุข
การพักผ่อน การเกิดอุบัติเหตุ
เครียด
1. บุหรี่
2. สุรา
3. ยาบ้า
11/15/2014 นายแพทย์จรัส สิงห์แก้ว 16
จาแนกตามเวลาการขึ้นทางาน
1. งานปกติ
2. งานกะ
ความเสี่ยงจากสภาพงาน
การบริหาร
จัดการ
ความยาก
ง่าย
ปริมาณ
งาน
ความรู้
ทักษะ
ช่วงเวลา
ทางาน
สวัสดิการ
กฎ
ระเบียบ
กายภาพ
ชีวภาพ
เคมีการยศาสตร์
จิตสังคม
ระบบ5 ส.
1. Office syndrome : myalgia / LBP / โรคสายตาคอมพิวเตอร์
2. Tuberculosis / Aids / HBV infection / Influenza etc.
3. Carcinoma : radiation , chemical [ formalin ,
ethylene oxide ]
4. Hearing loss
5. Contact dermatitis
6. Stress / depression
7. Accident
8. Etc.
ระบบเฝ้ าระวังด้านอาชีวอนามัย
การเฝ้ าระวัง
สิ่งคุกคาม
Hazard
surveillance
การเฝ้ าระวัง
ด้านสุขภาพ
Healthy
surveillance
การเฝ้ าระวัง
ทางการแพทย์
Medical
surveillance
นโยบายอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
การมีส่วนร่วม
โครงการเฝ้ าระวัง
ระบบการ
จัดการ
1. ลดการได้รับอันตรายจากการทางาน โดยการจัดการ
ความเสี่ยงและ near miss
2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และสวยงาม
3. พัฒนามาตรฐานวิธีการทางานที่บุคลากรต้อง
เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ไม่ปลอดภัยในงาน
4. สร้างเสริมทักษะและความรู้ทางอาชีวอนามัยแก่
บุคลากรอย่างต่อเนื่อง
5. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคใน
บุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อลดการเจ็บป่ วย
6. มีการตรวจร่างกายประจาปีตามความเสี่ยงและ
จัดบริการดูแลสุขภาพตามความเหมาะสม
• การจัดการสิ่งแวดล้อมให้สวยงามเหมาะสม
ไม่ร้อนอบอ้าว
• การบริหารจัดการ ระบบการทางาน ขึ้นกะ
• การแพทย์ เช่นวัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่
ไวรัสตับอักเสบบี การตรวจร่างกายประจาปี
• การจัดการของเสีย ขยะ ของมีคม
• การใช้อุปกรณ์ป้ องกัน
• การจัดสวัสดิการที่ดี เช่น อ่างล้างมือ ห้องน้า
สบู่ การแยกโซนพักผ่อน
1.สร้างความ
ตระหนักด้าน
ความปลอดภัย
และรับทราบ
นโยบาย
หน่วยงาน
2.การวิเคราะห์และ
ประเมินความเสี่ยงจาก
กิจกรรมการบริการและ
จากการสารวจพื้นที่
ปฏิบัติงานเพื่อพิจารณา
การแก้ไข
3.การ
จัดการ
ความ
เสี่ยง
4.ตรวจ
สุขภาพ
ประจาปี
5.ส่งเสริม
ป้ องกัน
รักษา ฟื้ นฟู
- ประกาศ
นโยบาย
- สื่อสารใน
องค์กร
- อบรมกระตุ้น
จิต สานึก
- การจาแนกกิจกรรมของ
งานและสารวจพื้นที่
- การชี้บ่งอันตรายและความ
เสี่ยง ประมาณระดับความ
เสี่ยง
- การจัดลาดับระดับความ
เสี่ยงเพื่อพิจารณาการแก้ไข
จัดทาแผน
ปฏิบัติงานควบ
คุมความเสี่ยง
ดาเนินการตาม
แผน/โครงการ
ที่กาหนด
จัดบริการ
รองรับ การ
ตรวจ
สุขภาพ
- จัดทา
รูปแบบ
(Model)การ
ส่งเสริมสุขภาพ
การป้ องกันโรค
อย่างต่อเนื่อง
ลดความเสี่ยง
เฝ้ าระวัง
รักษา ฟื้ นฟู
ส่งเสริมสุขภาพ
ค้นหา
• สังเกต
• เครื่องมือวัด
แก้ไข
• งด หลีกเลี่ยง
• อุปกรณ์ป้ องกัน
• การส่งเสริมสุขภาพ
ป้ องกันโรค
ประเมินผล
• วิเคราะห์ผลตรวจ
• ทบทวนอุบัติการณ์
Overhead #11
IllustratedWorkplaces
๑. การสารวจสภาพการทางานเพื่อรวบรวมข้อมูลสิ่งคุกคามต่าง ๆ
ทั้งหมดในแต่ละขั้นตอนของการทางาน
๒. พิจารณาว่าแต่ละสิ่งคุกคามนั้นมีผลกระทบต่อสุขภาพอย่าง
รุนแรงมากน้อยแค่ไหน ทั้งผลกระทบระยะสั้นและผลกระทบ
ระยะยาว
๓. พิจารณาโอกาสที่สิ่งคุกคามนั้นๆ จะก่อให้เกิดอันตรายหรือโรค
จากการทางานในกลุ่มผู้ทางานหรือไม่อย่างไร โดยพิจารณาจาก
ระดับและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการรับสัมผัสในแต่ละสิ่งคุกคาม
๔. จัดลาดับความเสี่ยงของแต่ละสิ่งคุกคามว่าสิ่งคุกคามใดใน
ขั้นตอนกระบวนการทางานใดมีความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อ
สุขภาพของผู้ทางานหรือพนักงานสูง สิ่งคุกคามใดมีความเสี่ยง
ปานกลาง หรือมีความเสี่ยงน้อย
สารวจ
ความเสี่ยง
วิเคราะห์
กลุ่มเสี่ยง
ตรวจสวล.
ตรวจ
สุขภาพตาม
ความเสี่ยง
รักษา
แนะนา
ส่งเสริม
สุขภาพ
วัตถุประสงค์หลักของการตรวจประเมินสุขภาพก่อนการทางาน
1. เพื่อที่จะคัดกรองบุคคลที่จะเข้ามาทางานชนิดใดชนิดหนึ่ง โดย
ผู้นั้นไม่มีโรคหรือภาวะทางสุขภาพ ที่จะทาให้การทางานนั้น
เป็นไปอย่างลาบากหรือเกิดโรค ความเจ็บป่ วย
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางของโรงพยาบาลในการที่จะปรับ
สภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสมสอดคล้องกับผู้ที่จะ
เข้าไปทางาน
3. เป็นการตรวจเบื้องต้นเพื่อหาข้อมูลสาหรับใช้เป็นค่า
เปรียบเทียบพื้นฐาน สาหรับการตรวจเพื่อการเฝ้ าระวังทาง
สุขภาพต่อไปในอนาคต
๑. จากกระบวนการทางานในจุดที่มีสิ่งคุกคามที่มี
ความเสี่ยงต่อสุขภาพ ซึ่งได้จากการสารวจหรือ
วิเคราะห์ในข้อ 1 แล้ว จะต้องพิจารณาว่าสิ่งคุกคาม
ต่าง ๆ ดังกล่าว ที่สามารถก่อให้เกิดอันตรายหรือก่อ
โรคจากการทางานนั้น สามารถดาเนินการวางเกณฑ์ใน
การตรวจประเมินคัดกรองทางสุขภาพได้หรือไม่
๓.วางแผนการตรวจประเมินสุขภาพ ซึ่งจะต้องมีข้อมูล
ว่าในแต่ละแผนกตามกระบวนการทางาน จะมี
บุคลากรที่ได้รับการตรวจทั้งหมดกี่คน ตรวจอะไรบ้าง
และจะต้องตรวจเมื่อใด เวลาใด โดยหลักการแล้วการ
ตรวจสุขภาพสาหรับบุคลากรนั้น
๔. จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์และทีมงานก่อนการตรวจ เมื่อ
ทราบรายการของการตรวจสุขภาพแล้ว จะต้องจัดเตรียม
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจต่าง ๆ เช่น การเตรียม
แบบสอบถามที่จะใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ซึ่งควรจะออกแบบ
มาเป็นอย่างดี มีจานวนเพียงพอสาหรับบุคลากรที่จะเข้ารับ
การตรวจทุกคน การตรวจสภาพเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการ
ตรวจทางอาชีวเวชศาสตร์ เช่น เครื่องตรวจสายตา
เครื่องตรวจการได้ยิน เป็นต้น
๕. ชี้แจงให้ทางบุคลากรที่จะรับการตรวจให้ทราบล่วงหน้าก่อน
สิ่งที่จะต้องแจ้งให้ทราบ คือ รายละเอียดของรายการตรวจ การ
เตรียมตัวของบุคลากรก่อนการตรวจ ยกตัวอย่างเช่น บุคลากรที่
จะรับการตรวจบางอย่างอาจจะต้องหยุดงานก่อนในช่วง
ระยะเวลาหนึ่ง เช่น การตรวจการได้ยิน หรือบางคนอาจจะต้อง
งดอาหารบางประเภทในการตรวจหาระดับสารโลหะหนักบาง
ชนิด หรืออาจจะต้องตรวจก่อนที่จะเข้าทางานในกะนั้น
๖. เริ่มตรวจประเมินสุขภาพ ควรจัดเตรียมสถานที่หรือบริเวณ
ในการตรวจให้เรียบร้อย โดยความเรียงไปตามลาดับขั้นตอน
การตรวจ เช่นจุดลงทะเบียนบุคลากรที่จะเข้ารับการตรวจ
บริเวณกรอกข้อมูลแบบสอบถามและซักประวัติ บริเวณตรวจ
พิเศษทางอาชีวเวชศาสตร์ บริเวณที่จะตรวจร่างกายโดยแพทย์
และบริเวณที่เก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจทางชีวภาพ เป็นต้น
๗. การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลการตรวจ หลังจาก
ดาเนินการตรวจประเมินสุขภาพเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทีมงาน
อาชีวอนามัยที่ตรวจสุขภาพจะต้องดาเนินการวิเคราะห์แปล
ผลการตรวจต่างๆ เข้าด้วยกัน รวมทั้งผลที่ส่งตรวจทาง
ห้องปฎิบัติการด้วย เมื่อได้ผลสรุปเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้อง
จัดทาเป็นรายงานเพื่อแจ้งให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทราบต่อไป
๑.การประเมินสุขภาพก่อนหรือแรกเข้าทางานในแผนก
นั้นๆ
ผู้ปฏิบัติงานที่เริ่มเข้าทางานใหม่ หรือย้ายจาก
แผนกอื่นมาอยู่ในแผนกใหม่ ควรได้รับการตรวจและ
ประเมินสุขภาพ เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมทางด้าน
สุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจก่อนเข้าไปทางานใน
แผนกนั้นๆ
๒. การตรวจสุขภาพประจาปี
ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลแต่ละคน ควรได้รับ
การตรวจประเมินสุขภาพทั่วไปเป็นประจาอย่าง
สม่าเสมอ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
๓. การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
เป็นการตรวจสุขภาพในกลุ่มที่ปฏิบัติงานเสี่ยง
อันตราย ในการตรวจต้องคานึงถึงสภาพแวดล้อมในการ
ทางานของแต่ละกลุ่มเสี่ยงว่ามีอะไรบ้าง และมีผลกระทบ
ต่อการทางานของร่างกายอย่างไร อาจจาเป็นต้องมีการ
ตรวจพิเศษเฉพาะระบบนั้นๆอย่างสม่าเสมอ
ควรมีการรวบรวมประวัติของบุคลากรทั้งหมดได้แก่
๑. ส่วนข้อมูลทั่วไป วันเดือนปีเกิด เพศ เชื้ อชาติ
๒. ประวัติสุขภาพ : สุขภาพทั่วไป ประวัติการเจ็บป่ วย การให้
ภูมิคุ้มกัน การป่ วยทางจิต การรักษาในโรงพยาบาล การรับการผ่าตัด
การแพ้ยา วิถีชีวิตทั้งในเรื่องการกินอยู่หลับนอน การออกกาลังกาย
การดื่มกาแฟ ดื่มสุรา การใช้ยา การสูบบุหรี่
๓. ประวัติครอบครัว : สถานะสุข ภาพ สาเหตุการตายของคนใน
ครอบครัว ปัญหาสุขภาพของแต่ละคน
๔. ประวัติทางจิตสังคม :ข้อมูลที่ควรทราบได้แก่ วิธีการพักผ่อน
หย่อนใจ การใช้เวลาว่างและความเครียด และการแก้ไขปัญหาเมื่อ
รู้สึกเครียด
๕. ประวัติการทางาน :หน้าที่งานในปัจจุบัน ทามานานเท่าไร งานที่ทาอยู่
เกี่ยวข้องกับสารเคมี หรือไม่ ถ้าเกี่ยวข้อง เป็นลักษณะ
๑. การตรวจสมรรถภาพปอด บุคลากรที่ทางานในที่มีฝุ่น
เกี่ยวข้องกับสารเคมี ไอระเหยของสารต่างๆ
๒. การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน สาหรับผู้ที่ทางานในที่มี
เสียงดัง
๓. การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น สาหรับผู้ที่ทางานใช้
สายตานานๆ ใช้คอมพิวเตอร์ หรือแพทย์ผู้ทาการผ่าตัด
๔. การตรวจหาเชื้อไวรัสเอดส์ บุคลากรที่ทางานสัมผัสเลือด
สารคัดหลั่งต่างๆ
๑. การตรวจ nasal swab C/S เมื่อมีการระบาด MRSA
ของหน่วยงานที่เสี่ยง
๒. การตรวจ rectal swab C/S บุคลากรที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับ
อาหาร เช่นโภชนาการ คาเฟทีเรีย
๓. การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ โภชนาการ คาเฟทีเรีย
บุคลากรที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
๔. การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และให้วัคซีน บุคลากรที่
ทางานสัมผัสเลือด สารคัดหลั่งต่างๆ
แนวทางการออกแบบตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
แผนก ตัวอยางสิงคุกคาม การตรวจกอน ้างาน การตรวจปร จาป
อุบัติ หตุ/
ฉุก ฉิน
1. ชื้อ รค
2. รังส
3. การทางาน ปนก
4. สารคม
- ุงมือ
5. ปัจจัย ้าน
จิตวิทยา/สังคม
- ซักปร วัติภูมิคุ้มกัน
แล วัคซน
- CBC
- ซักปร วัติ รค
ปร จาตัว
- ซักปร วัติภูมิแพ้
ชนแพ้สารทา ทกซ์
- การท สอบทาง
จิตวิทยา
- ตรวจ มือมอาการ
ผิ ปกติ หรือสงสัยวา
สัมผัส ชื้อ รค
- CBC
- ซักปร วัติ รค
ภูมิแพ้ผิวหนัง
- การท สอบทาง
จิตวิทยา
ภชนาการ - ความร้อน
- กาย าสตร์
- อุบัติ หตุลืนหกล้ม
สิงทจา ปนต้องตรวจ
- ตรวจหา ชื้อ วรัส
อัก สบ
- ตรวจผิวหนังหนังท
มือ
- CXR
- Stool Exam For
Parasite
- ตรวจสมรร ภาพการ
มอง หน
- ตรวจสมรร ภาพ
ปอ
- ตรวจผิวหนังหนังท
มือ
- CXR
- Stool Exam For
Parasite
- ตรวจสมรร ภาพ
การมอง หน
- ตรวจสมรร ภาพ
ปอ
ยานพาหน -สายตา
- สยง ัง
-การนัง ับร นาน
-ความสันส ทือน
-ตรวจสมรร ภาพการ
มองหน
-ตรวจสมรร ภาพการ
้ยิน
-ซักปร วัติ รค
ปร จาตัวชน รค
ลมชัก
-
สิ่งที่ควรตรวจเพิ่ม
-ตรวจหาสารสพติ
- ตรวจสมรร ภาพ
การมองหน
- ตรวจสมรร ภาพ
การ ้ยิน
-ตรวจหาสารสพติ
การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทางาน เป็นการตรวจเพื่อเฝ้ า
ระวังป้ องกันโรค ไม่ใช่การรักษา เป็นการตรวจเพิ่มเติมจากการตรวจ
ร่างกายทั่วไปทุกระบบ
๑. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (CBC / Urine exam / C.X.R
FBS, BUN, Creatinine, L.F.T
๒. ถ้าอายุเกิน 35 ปี เพิ่มการตรวจ Cholesterol,
Triglyceride LDL/HDL Uric acid
๓. เฉพาะสตรีเพิ่มการตรวจ pap smear และมะเร็งเต้านม ปีละ 1
ครั้ง หลังมีบุตรคนแรก
๔. อายุมากกว่า 40 ปี ตรวจความดันลูกตา และ ตรวจ EKG
๑. การตรวจพิเศษทางสุขภาพตามความเสี่ยง ถ้าผลการตรวจสุขภาพปกติ
และผลการตรวจสิ่งแวดล้อมจากการ ทางานไม่เกินค่ามาตรฐาน ควรเว้น
ระยะเวลาการตรวจให้ห่างขึ้ น
๒. การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน ถ้าพบผลผิดปกติให้ส่งตรวจซ้าโดยแพทย์
อีกครั้ง และตรวจเฝ้ าระวัง ทุก 1 ปี
๓. การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น ถ้าพบผลผิดปกติให้ตรวจซ้าทุก 1 ปี
และให้ดาเนินการแก้ไข
๔. การตรวจสมรรถภาพปอด ถ้าพบผลผิดปกติให้ส่งตรวจ X-ray ปอดซ้าอีก
ครั้งและตรวจเฝ้ าระวังทุก 1 ปี ขึ้ นอยู่กับความเสี่ยงอะไร
๕. การตรวจหาสารเคมีในเลือด
๖. - การตรวจสารตะกั่ว ถ้าเกิน 40 µg/100 ml ให้ตรวจซ้าทุก 6 เดือน
ถ้าไม่เกินค่ามาตรฐานให้ตรวจเฝ้ าระวังทุก 1 ปี
• ทมหลักฐานทางวิชาการท ชือ ือ
้ปนอยาง สนับสนุนวาการ
การทา ังกลาวมปร สิทธิผล
คุ้มคา
๑. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับปร วัติการสูบบุหร ืมสุรา แล /หรือการ
ใช้สาร สพติ ทุก1 ป
๒. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับปร วัติ พ สัมพันธ์ความ สยง ทุก1-3 ป
๓. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับความ สยงตอการติ ชื้อวัณ รค ทุก 1 ป
๔. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับปัจจัย สยงแล อาการ อง รคม รง ทุก
1-3 ป
๕. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับปัจจัย สยงตอ รค บาหวาน ทุก 1-3 ป
๖. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับปัจจัย สยงตอภาว หลอ ลือ แ ง ทุก 1-
3 ป
๗. การตรวจคั กรองท กยว ้องกับปัจจัย สยงตอภาว ความผิ ปกติ อง ต
ทุก 1-3 ป
จัดบริการป้ องกันโรค
ความอ้วนมา ้วย รคภัยหลายปร การ
BMI การแปลผล
< 20 underweight
20-24.9 normal ปกติ
25.0-29.9 obesity 1a รคอ้วน1
30.0-34.99 obesity 1b รคอ้วน1
35.0-39.99 obesity 2 รคอ้วน2
>= 40 obesity 3 รคอ้วน3
• Waist/hip circumference ratio: WHR
• ใช้ตั สิน รคอ้วนลงพุง
• ผู้ชาย > 1.0 อ้วนลงพุง
• ผู้หญิง > 0.8 อ้วนลงพุง
• คนไม่เสี่ยง จะตรวจอะไรบ้าง
- ผู้ทมอายุมากกวา 35 ป ควรตรวจระดับ Total cholesterolในเลือด
(TC) อย่างเดียว
แต ้าสูงกวาหรือ ทากับ 240 mg/dl จึงตรวจ TC, triglyceride แล
HDL-C ้า มันอยูใน กณฑ์ปกติควรตรวจอยางน้อยทุก 5 ป
- ผู้ชาย > 45 ป แล ผู้หญิง > 55 ป
ควรตรวจ TC, TG และ HDL-C
• คนที่เสี่ยงคือใคร ควรตรวจอะไร
-ความ ัน ลหิตสูง รค บาหวาน สูบบุหร รคอ้วนปร วัติครอบครัว ปน รคหัวใจ า ลือ อัมพาต
อัมพฤกษ์หรือร ับ มันใน ลือ สูง แล ผู้อา ัยอยูใน มือง
-ผู้ทมภาว หลอ ลือ แ งแ ง ้แก
รคหัวใจ า ลือ อัมพาต อัมพฤกษ์
• ควรตรวจ TC, TG และ HDL-C
กลุ่มเสี่ยง
• ภาว อ้วน
• มปร วัติ บาหวานในครอบครัวสายตรง
• คลอ บุตรน้าหนักมากกวา 4000 กรัมหรือ
้รับการวินิจฉัยวา ปน บาหวาน ณ ตั้งครรภ์
• ความ ัน ลหิตสูง >= 140/90 mmHg
• HDL-C =< 35 mg/dl หรือร ับ TG >= 250 mg/dl
แนะนาให้ตรวจคัดกรองทุก 3 ปี
กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
• ผู้ปวย รคความ ัน ลหิตสูง บาหวาน มันใน ลือ สูง
• อายุมากกวา 40 ปซึงยัง มมอาการ
• ญาติสายตรง สยชวิตจาก รคหลอ ลือ หัวใจ มืออายุยังน้อย
(ชาย < 55 ป หญิง < 65 ป)
• ภาวะความผิดปกติของไต
ตรวจวิ ครา ห์ปัสสาว ในบุคคลทอยู
ในกลุม สยง
้แก ผู้ปวยโรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
เรามาตรวจคัดกรองสุขภาพเพื่อ
ค้นหาปัญหาสุขภาพในระยะเริ่มต้น
ทาการรักษาได้ทันท่วงที
๑. เก็บไว้ที่สานักงาน
๒. แยกรายบุคคล
๓. วิเคระห์แนวโน้มเทียบ๓ปี
เป็นอย่างน้อย
การบันทึกจัดทาทะเบียนประวัติสุขภาพรายบุคคลต้อง
มีรายละเอียดเกี่ยวกับ
๑. การตรวจสุขภาพทั่วไป
๒. การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
๓. การให้ภูมิคุ้มกันตามความเสี่ยงของงาน
๔. การเจ็บป่ วยและการบาดเจ็บจากการทางาน
ป้ องกันเสียง
ป้ องกันแสง
ป้ องกันรังสี
ป้ องกันความร้อน
ป้ องกันความเย็น
ป้ องกันสารเคมี ฝุ่ น
ป้ องกันการติดเชื้อ
อุปกรณ์ป้ องกันส่วนบุคคล
ความสาคัญของอุปกรณ์ป้ องกันส่วนบุคคล
ไอ ระเหย ก๊าซ ฝุ่น ฟูม และอนุภาคของสารเคมี ทาให้
บุคลากรที่เข้าไปทางานเสี่ยงต่ออันตราย
บุคลากรที่ทางานในพื้นที่จึงต้องสวมใส่อุปกรณ์ทุก
ครั้งที่เข้าไปใกล้พื้นที่นั้น
จุดมุ่งหมายเพื่อกัน หรือแยกคนจากอันตรายทางเคมี
อันตรายทางกายภาพ และอันตรายทางชีวภาพ และเป็น
การป้ องกันผู้สวมใส่จากการบาดเจ็บ หรือการได้รับ
อันตราย
อุปกรณ์ปกป้ องใบหน้าและดวงตา
เป็นอุปกรณ์สาหรับปกป้ องใบหน้าและดวงตาจากการกระทบกระแทก
จากของแข็ง การกระเด็นของของเหลว สารคัดหลั่งจากคนไข้ ความ
ระคายเคืองจากอนุภาค ก๊าซ และไอระเหยของสารเคมีที่ปนเปื้อนใน
บรรยากาศ และอันตรายจากแสงจ้าและรังสี
ชนิด
1. แว่นตานิรภัย (Safety spectacles) มีรูปร่างเหมือนแว่น
สายตาทั่วไป มีความแข็งแรง ทนแรงกระแทก แรงเจาะของวัตถุที่พุ่งเข้า
สู่ใบหน้าได้ ใช้สาหรับป้ องกันอันตรายที่มีทิศทางมาจากทั้งด้านหน้า
และด้านข้าง
2. ครอบตานิรภัย (Safety Goggles) เป็นอุปกรณ์ครอบปิด
ดวงตาทั้งสองข้าง สามารถป้ องกันอันตรายทั้งจากของแข็งและของ
ของเหลวที่พุ่งหรือกระเด็นเข้าใส่ดวงตาได้รอบด้าน เนื่องจากกรอบของ
ครอบตานิรภัยมีลักษณะอ่อนนุ่ม แนบสนิทกับรอบดวงตาได้ดี
3. กระบังหน้า (Face shields) เป็นแผ่นวัสดุโค้งครอบใบหน้า
ใช้สาหรับป้ องกันอันตรายต่อใบหน้า ดวงตา และลาคอจากการกระทบ
ของของแข็งของเหลว และการกระเด็นของของเหลวรวมทั้งโลหะ
หลอมเหลวด้วย แต่ประสิทธิภาพในการป้ องกันแรงกระแทกของกระบัง
หน้าน้อยกว่าแว่นตาและครอบตานิรภัย จึงควรใช้กระบังหน้าร่วมกับ
แว่นตาหรือครอบตานิรภัยเพื่อความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
กระบังหน้าสาหรับงานเชื่อมโลหะ (Welding shields) มัก
ทาจากวัสดุที่แสงผ่านไม่ได้ และเจาะช่องมองไว้เพื่อประกอบเข้ากับ
เลนส์กรองแสง กระบังหน้าชนิดนี้มีทั้งแบบครอบศีรษะและแบบถือด้วย
มือ
อุปกรณ์ปกป้ องระบบทางเดินหายใจ
เป็นอุปกรณ์สาหรับป้ องกันสารอันตรายที่ปะปนอยู่ในอากาศได้แก่ ฝุ่น
ละออง ฟูมโลหะ ก๊าซ และไอระเหย ไม่ให้เข้าสู่ร่างกายทางระบบ
ทางเดินหายใจ
อุปกรณ์ปกป้ องระบบทางเดินหายใจแบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามกลไก
การป้ องกันคือ
1. ชนิดกรองอากาศ หรือหน้ากากกรองอากาศ มีส่วนสาคัญคือตัว
กรอง ทาหน้าที่ดักจับสารอันตรายในอากาศ อากาศที่ผ่านจากตัว
กรองจึงไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย หน้ากากกรองอากาศยังแบ่งได้
อีกเป็น หน้ากากกรองอนุภาค (ฝุ่น ละออง ฟูมโลหะ) หน้ากากกรอง
ก๊าซและไอระเหย และหน้ากากกรองอนุภาค กรองก๊าซและไอระเหย
รวมกัน
N = NON OIL PROOVE ใช้กรองเชื้อโรค
P = PROOVE FOR OILใช้กรองสารเคมีที่มีน้ามัน
95 = ประสิทธิภาพกรองได้ 95%
99= ประสิทธิภาพกรองได้ 99%
ตระกูลป้ องกันเชื้ อโรค
ความรู้
ทัศนคติ
การปฏิบัติ
แรงจูงใจ
กิจกรรมกลุ่มย่อย คือ กลุ่มของบุคลากรระดับปฏิบัติการที่มารวมตัวกัน เพื่อ
แก้ไขปัญหาที่ต้องดูแลรับผิดชอบร่วมกัน
เน้นการมีส่วนร่วมและการทางานเป็ นทีม สามารถประยุกต์กิจกรรมกลุ่ม SGA เข้า
กับงานประจาหรือกิจกรรมเรื่องต่างๆ ที่เราดาเนินการอยู่แล้ว ทาให้บุคลากร
ติดต่อสื่อสารกันมากขึ้ น สร้างความคิดริเริ่มและกล้าแสดงออกในการแก้ปัญหางานให้
ดีขึ้ นและทาให้บุคลากรมีความรู้สึกว่า “นี่คือปัญหาของเรา” เราต้องช่วยแก้ไข
2
เน้น ความสุข สนุกสนานคู่การออกกาลังกาย
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Utai Sukviwatsirikul
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Vongsakara Angkhakhummoola
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 

Mais procurados (20)

การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
3.แนวทางตามระเบียบค่าตอบแทน1 ot
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Destaque

คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานgamut02
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]Viam Manufacturing
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีUtai Sukviwatsirikul
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยAdisorn Tanprasert
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
Fire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & CodesFire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & Codesqcstandard
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)Mahidol University, Thailand
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014Jiraporn Promsit
 
โรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างโรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างAoom Sam
 
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมีNarenthorn EMS Center
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 

Destaque (20)

คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
Ppt.office syndrome
Ppt.office syndromePpt.office syndrome
Ppt.office syndrome
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ppe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnelPpe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnel
 
Ergonomics
ErgonomicsErgonomics
Ergonomics
 
PPE Hospital
PPE HospitalPPE Hospital
PPE Hospital
 
Fire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & CodesFire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & Codes
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
ดับเพลิง
ดับเพลิงดับเพลิง
ดับเพลิง
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
โรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างโรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่าง
 
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 

Semelhante a การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล

ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...Prachoom Rangkasikorn
 
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...Prachoom Rangkasikorn
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขThanakom Saena
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3thkitiya
 

Semelhante a การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล (20)

ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67
ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพศบส.67
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap4+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
06+heap6+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ประถม 4 6 เรื่องสิ่งแวดล้อมเพ...
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไข
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3ผลงานนักเรียน 3
ผลงานนักเรียน 3
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 

Mais de โรงพยาบาลสารภี

จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่โรงพยาบาลสารภี
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังโรงพยาบาลสารภี
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลสารภี
 
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโรงพยาบาลสารภี
 

Mais de โรงพยาบาลสารภี (11)

Saraphi , From HIS to Health.
Saraphi , From HIS to Health.Saraphi , From HIS to Health.
Saraphi , From HIS to Health.
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว  ระบบยาชุมชนหมอครอบครัว  ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
 
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
จริยธรรมสำหรับบุคลากรสาธารณสุขเชียงใหม่
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
อำเภอสารภีสร้างสุข
อำเภอสารภีสร้างสุขอำเภอสารภีสร้างสุข
อำเภอสารภีสร้างสุข
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
 
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
การดูแลสุขภาพคนเชียงใหม่
 
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภีโครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
โครงการศูนย์เรียนรู้ย่ำขาง แบบแพทย์พื้นบ้านสารภี
 

การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล