SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ภาควิชาพยาธิวิทยา
สถานที่ตั้ง ตึก อปร. ชั้น 12-14 โทรศัพท์ 02-256-4581, 02-256-4235
โทรสาร 02-652-4208
1. ขั้นตอนการส่งตรวจสิ่งส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
1. แพทย์ที่ผ่าตัด หรือ biopsy สิ่งส่งตรวจ จากผู้ป่วยให้ส่งสิ่งส่งตรวจทางพยาธิทุกราย ยกเว้น ชิ้น
เนื้อของสูติ – นรีเวชฯ
2. พยาบาลจัดเตรียมภาชนะบรรจุที่ใส่ Fixative ปริมาณอย่างน้อย 10 เท่า ของปริมาตรสิ่งส่งตรวจ
หรือถ้าสิ่งส่งตรวจเป็นน้า ปริมาณอย่างน้อย 5 CC. และรับสิ่งส่งตรวจจากแพทย์พร้อมติดสลากด้านข้างที่
ใส่ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ และ เลขที่ทั่วไปของผู้ป่วย
3. แพทย์ผู้ส่งตรวจจะต้องกรอกข้อมูลผู้ป่วยในแบบฟอร์มการขอส่งตรวจให้ถูกต้องและครบถ้วน
สมบูรณ์
4. ส่งแบบฟอร์มการขอส่งตรวจที่กรอกข้อมูลครบถ้วนแล้วให้แก่พยาบาล
5. กรณีเป็นชิ้นเนื้อให้พยาบาลจัดเตรียมและนาสิ่งส่งตรวจพร้อมแบบฟอร์มการขอส่งตรวจและ
ชิ้นเนื้อให้เจ้าหน้าที่หรือญาติผู้ป่วยนาส่งที่ จุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 (ในวันทาการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา
08.00 – 15.30 น.)
6. กรณีเป็นคนไข้ที่ทาผ่าตัดหรือหัตถการภายในโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่เดินชิ้นเนื้อฝ่ายพยาธิวิทยา
มีหน้าที่ไปรับชิ้นเนื้อตามห้องผ่าตัดต่างๆ ภายในโรงพยาบาล ดังนี้ ห้องผ่าตัด ตึกสิรินธร , ตึก สก ชั้น 5 , ตึก
ภปร ชั้น 5 , ตึก ภปร ชั้น 4 ณ ห้องปฏิบัติการ และตึก ภปร 13 คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ พร้อม
แบบฟอร์มการขอส่งตรวจมายังจุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13
7. กรณีเป็นพาราฟินบล็อกหรือสไลด์จากภายนอกโรงพยาบาล ให้นาส่งที่จุดรับชิ้นเนื้อตึก อปร.
ชั้น 13 พร้อมใบรายงานผลทางพยาธิเดิม
8. กรณีที่ผู้ป่วยนาสิ่งส่งตรวจมาส่งด้วยตนเอง ที่จุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 เจ้าหน้าที่จะออกใบ
นัดรับผล 5 วันทาการ สาหรับชิ้นเนื้อขนาดเล็ก (พาราฟิน 2 block) ยกเว้น ชิ้นเนื้อ Bone marrow , Kidney ,
Liver และ 10 วันทาการสาหรับชิ้นเนื้อขนาดใหญ่และการสั่งย้อมพิเศษ Immuno, EM, Molecular study
9. เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนรับสิ่งส่งตรวจ ได้ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ – นามสกุล จานวนและ
ขนาดของสิ่งส่งตรวจ กรณีไม่ถูกต้อง จะติดต่อกับพยาบาลห้องผ่าตัดที่ทาการส่งตรวจโดยทันที แต่หากไม่
สามารถแก้ไขความผิดพลาดได้ให้รายงานลงบันทึกการนาส่งสิ่งส่งตรวจผิดพลาด และส่งคืนสิ่งส่งตรวจ
ดังกล่าวให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้นาส่ง พร้อมแจ้งให้พยาธิแพทย์ผู้รับผิดชอบรับทราบ
10. สิ่งส่งตรวจที่ตรวจสอบความถูกต้องแล้ว เจ้าหน้าที่ได้ลงทะเบียน พร้อมกาหนดหมายเลขศัลย
พยาธิวิทยา ผ่านระบบคอมพิวเตอร์
11. เจ้าหน้าที่นาสิ่งส่งตรวจติดสลากข้างภาชนะที่กาหนดหมายเลขศัลยพยาธิวิทยา พร้อม
แบบฟอร์มการขอส่งตรวจไปยังห้องตัดชิ้นเนื้อ
2.ขั้นตอนการส่ง Frozen section
1. ให้แจ้งการขอตรวจ Frozen section ลงในตารางการผ่าตัด และส่งมายังธุรการของภาค วิชา
พยาธิวิทยาล่วงหน้าก่อนการผ่าตัดอย่างน้อย 1 วัน
2. กรณีที่ต้องการส่งตรวจ Frozen section นอกเหนือจากระบุไว้ในตารางการผ่าตัด ต้องแจ้ง
ให้เจ้าหน้าที่จุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 หรือ พยาธิแพทย์ผู้รับผิดชอบบทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
โทรแจ้ง 3510 หรือ โทร 4581 , 4235 ต่อ 304
3. สิ่งส่งตรวจควรมีขนาดน้อยกว่า 0.5 x 0.5 x 0.5 ซม. โดยบรรจุในภาชนะและติดฉลาก
4. ส่งสิ่งส่งตรวจสด/แช่เย็น พร้อมกับใบขอส่งตรวจ ที่กรอกรายละเอียดเรียบร้อยมายังจุดรับชิ้น
เนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 ทันที พร้อมระบุเบอร์และชื่อแพทย์ที่ต้องการให้ติดต่อกลับให้ชัดเจนเพื่อรายงานผลการ
ตรวจ
5. กรณีที่ต้องการตรวจเพิ่มเติมโดยวิธีย้อมอิมมูโนฮีสโตเคมี เช่น Hormone receptor ให้ส่งสิ่งส่ง
ตรวจพร้อมใบขอส่งตรวจ โดยระบุลงในช่องขอย้อมอิมมูโนฮีสโตเคมี
3.ขั้นตอนการยืม Slide และการขอ Review slide
1. ถ้าต้องการ Review Slide เพื่อทาการวินิจฉัยให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่จุดรับชิ้นเนื้อและกรอก
แบบฟอร์ม ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ติดต่อ และประสานงานกับพยาธิแพทย์ผู้รับผิดชอบ ตามระเบียบปฏิบัติของ
ฝ่ายพยาธิวิทยา
2. ถ้าต้องการขอยืม Slide ออกภายนอกภาควิชาพยาธิ ให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่จุดรับชิ้นเนื้อ โดย
กรอกแบบฟอร์มขอยืม slide
3. ถ้าต้องการขอ slide และ Paraffin block จะต้องให้ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยนาบัตรประชาชนมา
ติดต่อที่จุดรับชิ้นเนื้อ กรณีต้องการสไลด์จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการตัดสไลด์เพิ่มเติม และนัดมารับใน
ภายหลัง
4.ขั้นตอนการ Consult Block และSlide
1. เมื่อเจ้าหน้าที่ได้รับ Block หรือ Slide พร้อมใบรายงานผลชิ้นเนื้อจากโรงพยาบาลเดิม
เจ้าหน้าที่จะเช็ดดูความถูกต้องของหมายเลข Block และ Slide ว่าตรงกับใบรายงานผลเดิมหรือไม่
2. นาจดหมายพร้อม Block และ Slide ลงทะเบียนทางพยาธิ
3. เมื่อลงทะเบียนเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่จะส่ง Block และ Slide พร้อมใบรายงานผลให้ทางหเอง
ปฏิบัติการกลางย้อม H & E และส่งให้พยาธิแพทย์ที่รับผิดชอบอ่านตามเวรศัลยพยาธิวิทยา (จะไม่มีการระบุ
ชื่อ)
5.ขั้นตอนการรายงานผลทางพยาธิวิทยา
1. รายงานผลทางพยาธิวิทยา
กรณีชิ้นเนื้อขนาดเล็ก (กาหนดโดย Block slide คือAและB)จะได้รับภายใน 5วันทาการ
กรณีชิ้นเนื้อขนาดใหญ่ (กาหนดโดย Block slide C-Z) จะได้รับภายใน 10 วันทาการ หลังจาก
วันที่ได้รับชิ้นเนื้อก่อนเวลา 14.00 น.
2. แพทย์และพยาบาล สามารถตรวจสอบดูผลและพิมพ์รายงานพยาธิวิทยา ได้ทางคอมพิวเตอร์ ที่
หอผู้ป่วยที่ผู้ป่วยอยู่ ส่วนผู้ป่วยนอกสามารถตรวจสอบผลได้ทางคอมพิวเตอร์ที่ฝ่ายผู้ป่วยนอกที่ผู้ป่วยไป
ตรวจ
6. การส่งตรวจศพพยาธิวิทยา
วัตถุประสงค์
เพื่อให้การบริการของหน่วยตรวจศพของภาควิชาพยาธิวิทยาดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนทั้งในระดับนิสิตแพทย์และแพทย์ประจาบ้านทางหน่วยตรวจศพจึง
ได้จัดทาคู่มือสาหรับผู้ใช้บริการฉบับนี้ขึ้นมา
สถานที่ทาการ
ตึกพยาธิวิทยา หมายเลขโทรศัพท์ 02- 256-4484, 02-256-4317
เวลาที่รับใบรายงานขอทาการตรวจศพ - ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
เวลาทาการตรวจศพโดยพยาธิแพทย์ - ในเวลาราชการ
ระเบียบการตรวจศพ
1. หน้าที่การลงความเห็นว่าคนไข้นั้นถึงแก่กรรมเป็นของแพทย์ผู้รักษา หรือแพทย์ประจาบ้านทาง
คลินิก
2. การส่งศพไปยังห้องศพ จะต้องมีใบส่งศพ ( ซึ่งเจ้าหน้าที่พยาบาลเป็นผู้บันทึกข้อความ) และ
มอบศพพร้อมใบส่งศพให้เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจศพลงชื่อเป็นหลักฐานทั้งผู้มอบและผู้รับในใบ
ส่งศพ
3. การขออนุญาตตรวจศพเป็นหน้าที่ของแพทย์ฝ่ายการรักษาเป็นผู้ขอจากญาติผู้เสียชีวิต
(ควรขอตรวจศพทุกส่วนของร่างกาย *ดูเพิ่มเติม ขั้นตอนการดาเนินการขอตรวจศพทางพยาธิ
วิทยา ข้อ 6 )
ผู้มีสิทธิอนุญาตให้ทาการตรวจศพได้ คือ ญาติซึ่งเรียงตามลาดับความใกล้ชิดดังต่อไปนี้
1. คู่สมรส 2. บุตร ธิดา
3. บุตรบุญธรรม 4. บิดา มารดา (อันดับ1 ถ้าผู้ตายยังไม่ บรรลุนิติภาวะ)
5. พี่น้องร่วมบิดา มารดา 6. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
7. ปู่ ย่า ตา ยาย 8. ลุง ป้า น้า อา
9. ญาติที่รับผิดชอบเป็นผู้ปกครองดูแลกัน มาตลอดเป็นเวลานาน เช่น ลูกสะไภ้ลูกเขย
ผู้เซ็นอนุญาตที่กล่าวมาทั้งหมด 9 ประเภท ต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว
4. เมื่อได้รับการอนุญาตแล้ว ให้แพทย์ผู้ขออนุญาตเป็นผู้กรอกข้อความในใบรายงานขอทาการ
ตรวจศพ และให้ญาติลงนามในช่องผู้อนุญาต โดยต้องมีพยานจานวน 2 คน ลงนามต่อหน้าผู้
อนุญาต ทั้งนี้การขออนุญาตจะต้องไม่เป็นการบีบบังคับให้ญาติยินยอม
หมายเหตุ ถ้ามีปัญหาทางคลินิกหรือมีปัญหาที่ต้องการให้พยาธิแพทย์ตรวจสอบอวัยวะหรือ
ระบบใดเป็นพิเศษ ขอให้แพทย์ผู้ขออนุญาตเขียนระบุไว้ในใบขออนุญาตทาการตรวจศพให้
ชัดเจนด้วย
5. ทางหน่วยจะทาการตรวจศพเฉพาะที่ขอตรวจทั้งตัวเท่านั้น จะไม่ตรวจในกรณีที่ขอเป็นบาง
อวัยวะ เช่น ขอตรวจเฉพาะปอด ตับ ฯลฯ เป็นต้น ในรายที่ญาติไม่อนุญาตให้ตรวจสมอง ทาง
หน่วยจะทา Autopsy ก็ต่อเมื่อผู้ป่วยไม่มีอาการทางสมองเท่านั้น หากมีอาการทางสมองจะไม่
ทา
6. แพทย์ผู้ขออนุญาตตรวจศพควรเขียนสรุปรายละเอียดประวัติ ผลการตรวจร่างกาย การ
วินิจฉัยโรคและผลการรักษาโดยละเอียด ถ้าเป็นไปได้ควรส่งหน้าป้ ายที่ครบถ้วนสมบูรณ์มาให้
ด้วยพร้อมการส่งศพ เพื่อมิให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติ
7. ศพทุกรายต้องได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าหรือรองหัวหน้าหน่วยตรวจศพของภาควิชาฯ ก่อน
จึงสามารถทาการตรวจได้
ในวันหยุดราชการผู้ที่มีสิทธิอนุมัติการตรวจศพมี จานวน 3 ท่าน ตามลาดับดังนี้ คือ
1. ศาสตราจารย์นายแพทย์พิเชษฐ สัมปทานุกุล
2. ศาสตราจารย์นายแพทย์ชนพ ช่วงโชติ
3. รองศาสตราจารย์นายแพทย์ธรรมธร อาศนะเสน
หมายเหตุ ขอความกรุณาแพทย์ที่ส่ง case ได้ติดต่อโดยตรงกับอาจารย์ท่านใดท่านหนึ่งใน
จานวน 3 ท่าน โดยให้เจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพเป็นผู้ประสานให้แพทย์ผู้ขอ Autopsy
ได้รายงานอาจารย์ด้วยตนเอง ถ้าสามารถกระทาได้เพื่อให้ข้อมูลที่ครบถ้วนก่อนทาการตรวจ
8. ผู้ป่วยที่ผลการตรวจเลือดเป็นบวกต่อเชื้อ HIV จะไม่มีการทา Autopsy กรณีที่เป็น case severe
infection เช่น miliary tuberculosis, MRSA ฯลฯ กรุณแจ้งให้เจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพทราบด้วย
เพื่อป้ องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคมายังบุคลากรเหล่านี้ เพราะเป็ น
ผู้สัมผัสผู้ป่วยก่อนพยาธิแพทย์
9. หากแพทย์ผู้รักษาต้องการทา necropsy ผู้ป่วยที่เสียชีวิต ให้ตัดชิ้นเนื้อบริเวณที่ต้องการทราบ
พยาธิสภาพส่งมาที่ภาควิชาพยาธิเหมือนกับการส่งตรวจทางศัลยกรรมทั่วไป ทางห้องตรวจศพ
ไม่มีบริการในส่วนนี้
10. ผลการตรวจศพ ทางหน่วยตรวจศพสามารถแจ้งผลการตรวจศพขั้นต้นได้ภายใน
24 ชั่วโมงหลังการตรวจ โดยขอดูได้จากเจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพ หรือติดต่อโดยตรงที่พยาธิ
แพทย์ผู้ทาการตรวจศพ ผลการตรวจศพขั้นสุดท้าย (final anatomical diagnosis) จะออกภายใน
6-8 สัปดาห์หลังจากการตรวจศพ ติดต่อขอข้อมูลที่ห้องธุรการภาควิชาฯ (หน่ายการเรียนการ
สอน) ตึก อปร. ชั้น 13 โทร.3614,4581,4235 ต่อ 306
11. Case ที่ต้องการผลด่วนเพื่อนาไปทา CPC หรือ Dead case conference ให้ติดต่อโดยตรงกับ
หน่วยการเรียนการสอน ห้องธุรการภาควิชาฯ ตึก อปร. ชั้น 13
12. กรณีที่ญาติต้องการรับศพด่วน กรุณาให้แพทย์ผู้ขอ Autopsy ติดต่อกับอาจารย์ ท่านใดท่านหนึ่ง
ใน 3 ท่านข้างต้นเพื่ออานวยความสะดวกในการดาเนินการก่อนเสมอ ทางหน่วยจะไม่ทา
Autopsy เร่งด่วนถ้าไม่มีการประสานของแพทย์ที่ขอทา Autopsy และควรปฏิบัติในข้อ 6 ให้
ครบถ้วนด้วย เพื่อมิให้ขาดรายละเอียดข้อมูลที่จะได้จากการตรวจศพก่อนส่งศพคืนญาติ
ขั้นตอนการดาเนินการขอตรวจศพทางพยาธิวิทยา
1. ขออนุญาตจากญาติสายตรงให้เซ็นยินยอมในใบขอทาการตรวจศพ
2. โทรแจ้ง เจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพ หมายเลขภายใน 4484
3. ถ้าผู้ป่วยมีผลบวกต่อเชื้อ HIV หรือโรคติดต่อร้ายแรง ต้องรีบรายงานให้ทางหน่วยตรวจศพ
ทราบ
4. สรุปประวัติการดาเนินโรคและประเด็นปัญหาที่สนใจให้พยาธิแพทย์ตรวจเป็นพิเศษในการทา
Autopsy ลงในใบขอทาการตรวจศพ
5. ถ้าหากเป็นไปได้แพทย์ผู้ขอ autopsy ควรลงมาดูกการทา Autopsy ด้วยเพื่อให้ข้อมูลที่มี
ความสาคัญบางอย่างแก่พยาธิแพทย์ให้ครบถ้วน
6. แพทย์ผู้ขอ autopsy ควรชี้แจงข้อมูลวิธีการตรวจศพที่แท้จริงให้กับญาติในกรณีที่ญาติสงสัยไม่
ควรบิดเบือนข้อมูลเพื่อให้ญาติยินยอมให้ตรวจศพ ซึ่งอาจเกิดปัญหาในภายหลัง
7. การนัดเวลารับศพควรติดต่อกับทางห้องตรวจศพหรือแพทย์ผู้ทา ก่อนตกลงกับญาติ หากมี
ข้อจากัดในเรื่องเวลาควรรีบติดต่อหัวหน้าหน่วยตรวจศพโดยด่วน
8. ศพที่ไม่มีญาติมาติดต่อเกิน 24 ชั่วโมง หากต้องการทา autopsy ให้ทาบันทึกถึงผู้อานวยการ
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เพื่อขออนุมัติ
9. ควรส่งเวชระเบียนผู้เสียชีวิตพร้อมใบรายงานขอทาการตรวจศพมายังห้องศพโดยเร็วที่สุด
เนื่องจากการทา autopsy ต้องใช้เวลาประมาณ 1-3 ชั่วโมง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)Mahidol University, Thailand
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

Mais procurados (9)

การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา9.ภาควิชารังสิวิทยา
9.ภาควิชารังสิวิทยา
 
OPD System with ZK Grails
OPD System with ZK GrailsOPD System with ZK Grails
OPD System with ZK Grails
 

Semelhante a 4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา

แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรKamol Khositrangsikun
 
Occ พฤษภาคม
Occ พฤษภาคมOcc พฤษภาคม
Occ พฤษภาคมBeer Berry
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60Suthee Saritsiri
 
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019CharinNoppakaobelser
 
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559 Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลKamol Khositrangsikun
 

Semelhante a 4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา (14)

2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
2.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
3.ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับงานเวชระเบียน
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
Occ พฤษภาคม
Occ พฤษภาคมOcc พฤษภาคม
Occ พฤษภาคม
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
 
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559 Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 

Mais de งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 

Mais de งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (19)

7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
7.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
6.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
4.12 ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
4.11 ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
4.9 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
4.8 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ฝ่ายธนาคารเลือด
 
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
4.7 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชารังสิวิทยา
 
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
4.1 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
16.การปฏิบัติงานระบบเภสัชกรรม
 
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
14.ระเบียบหอพักคณะแพทยศาสตร์
 
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
13.ระเบียบหอสมุดคณะแพทย์
 
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
12.คำประกาศของผู้ป่วยและคู่มือพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย
 
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
11.ฝ่ายสวัสดิการสังคม
 
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด10.ฝ่ายธนาคารเลือด
10.ฝ่ายธนาคารเลือด
 
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
3.หน่วยฉุกเฉิน ฝ่ายผู้ป่วยนอก
 

4.4 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาพยาธิวิทยา

  • 1. ภาควิชาพยาธิวิทยา สถานที่ตั้ง ตึก อปร. ชั้น 12-14 โทรศัพท์ 02-256-4581, 02-256-4235 โทรสาร 02-652-4208 1. ขั้นตอนการส่งตรวจสิ่งส่งตรวจทางพยาธิวิทยา 1. แพทย์ที่ผ่าตัด หรือ biopsy สิ่งส่งตรวจ จากผู้ป่วยให้ส่งสิ่งส่งตรวจทางพยาธิทุกราย ยกเว้น ชิ้น เนื้อของสูติ – นรีเวชฯ 2. พยาบาลจัดเตรียมภาชนะบรรจุที่ใส่ Fixative ปริมาณอย่างน้อย 10 เท่า ของปริมาตรสิ่งส่งตรวจ หรือถ้าสิ่งส่งตรวจเป็นน้า ปริมาณอย่างน้อย 5 CC. และรับสิ่งส่งตรวจจากแพทย์พร้อมติดสลากด้านข้างที่ ใส่ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ และ เลขที่ทั่วไปของผู้ป่วย 3. แพทย์ผู้ส่งตรวจจะต้องกรอกข้อมูลผู้ป่วยในแบบฟอร์มการขอส่งตรวจให้ถูกต้องและครบถ้วน สมบูรณ์ 4. ส่งแบบฟอร์มการขอส่งตรวจที่กรอกข้อมูลครบถ้วนแล้วให้แก่พยาบาล 5. กรณีเป็นชิ้นเนื้อให้พยาบาลจัดเตรียมและนาสิ่งส่งตรวจพร้อมแบบฟอร์มการขอส่งตรวจและ ชิ้นเนื้อให้เจ้าหน้าที่หรือญาติผู้ป่วยนาส่งที่ จุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 (ในวันทาการ จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.00 – 15.30 น.) 6. กรณีเป็นคนไข้ที่ทาผ่าตัดหรือหัตถการภายในโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่เดินชิ้นเนื้อฝ่ายพยาธิวิทยา มีหน้าที่ไปรับชิ้นเนื้อตามห้องผ่าตัดต่างๆ ภายในโรงพยาบาล ดังนี้ ห้องผ่าตัด ตึกสิรินธร , ตึก สก ชั้น 5 , ตึก ภปร ชั้น 5 , ตึก ภปร ชั้น 4 ณ ห้องปฏิบัติการ และตึก ภปร 13 คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ พร้อม แบบฟอร์มการขอส่งตรวจมายังจุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 7. กรณีเป็นพาราฟินบล็อกหรือสไลด์จากภายนอกโรงพยาบาล ให้นาส่งที่จุดรับชิ้นเนื้อตึก อปร. ชั้น 13 พร้อมใบรายงานผลทางพยาธิเดิม 8. กรณีที่ผู้ป่วยนาสิ่งส่งตรวจมาส่งด้วยตนเอง ที่จุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 เจ้าหน้าที่จะออกใบ นัดรับผล 5 วันทาการ สาหรับชิ้นเนื้อขนาดเล็ก (พาราฟิน 2 block) ยกเว้น ชิ้นเนื้อ Bone marrow , Kidney , Liver และ 10 วันทาการสาหรับชิ้นเนื้อขนาดใหญ่และการสั่งย้อมพิเศษ Immuno, EM, Molecular study 9. เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนรับสิ่งส่งตรวจ ได้ตรวจสอบความถูกต้อง ชื่อ – นามสกุล จานวนและ ขนาดของสิ่งส่งตรวจ กรณีไม่ถูกต้อง จะติดต่อกับพยาบาลห้องผ่าตัดที่ทาการส่งตรวจโดยทันที แต่หากไม่ สามารถแก้ไขความผิดพลาดได้ให้รายงานลงบันทึกการนาส่งสิ่งส่งตรวจผิดพลาด และส่งคืนสิ่งส่งตรวจ ดังกล่าวให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้นาส่ง พร้อมแจ้งให้พยาธิแพทย์ผู้รับผิดชอบรับทราบ
  • 2. 10. สิ่งส่งตรวจที่ตรวจสอบความถูกต้องแล้ว เจ้าหน้าที่ได้ลงทะเบียน พร้อมกาหนดหมายเลขศัลย พยาธิวิทยา ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ 11. เจ้าหน้าที่นาสิ่งส่งตรวจติดสลากข้างภาชนะที่กาหนดหมายเลขศัลยพยาธิวิทยา พร้อม แบบฟอร์มการขอส่งตรวจไปยังห้องตัดชิ้นเนื้อ 2.ขั้นตอนการส่ง Frozen section 1. ให้แจ้งการขอตรวจ Frozen section ลงในตารางการผ่าตัด และส่งมายังธุรการของภาค วิชา พยาธิวิทยาล่วงหน้าก่อนการผ่าตัดอย่างน้อย 1 วัน 2. กรณีที่ต้องการส่งตรวจ Frozen section นอกเหนือจากระบุไว้ในตารางการผ่าตัด ต้องแจ้ง ให้เจ้าหน้าที่จุดรับชิ้นเนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 หรือ พยาธิแพทย์ผู้รับผิดชอบบทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โทรแจ้ง 3510 หรือ โทร 4581 , 4235 ต่อ 304 3. สิ่งส่งตรวจควรมีขนาดน้อยกว่า 0.5 x 0.5 x 0.5 ซม. โดยบรรจุในภาชนะและติดฉลาก 4. ส่งสิ่งส่งตรวจสด/แช่เย็น พร้อมกับใบขอส่งตรวจ ที่กรอกรายละเอียดเรียบร้อยมายังจุดรับชิ้น เนื้อ ตึก อปร ชั้น 13 ทันที พร้อมระบุเบอร์และชื่อแพทย์ที่ต้องการให้ติดต่อกลับให้ชัดเจนเพื่อรายงานผลการ ตรวจ 5. กรณีที่ต้องการตรวจเพิ่มเติมโดยวิธีย้อมอิมมูโนฮีสโตเคมี เช่น Hormone receptor ให้ส่งสิ่งส่ง ตรวจพร้อมใบขอส่งตรวจ โดยระบุลงในช่องขอย้อมอิมมูโนฮีสโตเคมี 3.ขั้นตอนการยืม Slide และการขอ Review slide 1. ถ้าต้องการ Review Slide เพื่อทาการวินิจฉัยให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่จุดรับชิ้นเนื้อและกรอก แบบฟอร์ม ซึ่งเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ติดต่อ และประสานงานกับพยาธิแพทย์ผู้รับผิดชอบ ตามระเบียบปฏิบัติของ ฝ่ายพยาธิวิทยา 2. ถ้าต้องการขอยืม Slide ออกภายนอกภาควิชาพยาธิ ให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่จุดรับชิ้นเนื้อ โดย กรอกแบบฟอร์มขอยืม slide 3. ถ้าต้องการขอ slide และ Paraffin block จะต้องให้ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยนาบัตรประชาชนมา ติดต่อที่จุดรับชิ้นเนื้อ กรณีต้องการสไลด์จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการตัดสไลด์เพิ่มเติม และนัดมารับใน ภายหลัง 4.ขั้นตอนการ Consult Block และSlide 1. เมื่อเจ้าหน้าที่ได้รับ Block หรือ Slide พร้อมใบรายงานผลชิ้นเนื้อจากโรงพยาบาลเดิม เจ้าหน้าที่จะเช็ดดูความถูกต้องของหมายเลข Block และ Slide ว่าตรงกับใบรายงานผลเดิมหรือไม่ 2. นาจดหมายพร้อม Block และ Slide ลงทะเบียนทางพยาธิ
  • 3. 3. เมื่อลงทะเบียนเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่จะส่ง Block และ Slide พร้อมใบรายงานผลให้ทางหเอง ปฏิบัติการกลางย้อม H & E และส่งให้พยาธิแพทย์ที่รับผิดชอบอ่านตามเวรศัลยพยาธิวิทยา (จะไม่มีการระบุ ชื่อ) 5.ขั้นตอนการรายงานผลทางพยาธิวิทยา 1. รายงานผลทางพยาธิวิทยา กรณีชิ้นเนื้อขนาดเล็ก (กาหนดโดย Block slide คือAและB)จะได้รับภายใน 5วันทาการ กรณีชิ้นเนื้อขนาดใหญ่ (กาหนดโดย Block slide C-Z) จะได้รับภายใน 10 วันทาการ หลังจาก วันที่ได้รับชิ้นเนื้อก่อนเวลา 14.00 น. 2. แพทย์และพยาบาล สามารถตรวจสอบดูผลและพิมพ์รายงานพยาธิวิทยา ได้ทางคอมพิวเตอร์ ที่ หอผู้ป่วยที่ผู้ป่วยอยู่ ส่วนผู้ป่วยนอกสามารถตรวจสอบผลได้ทางคอมพิวเตอร์ที่ฝ่ายผู้ป่วยนอกที่ผู้ป่วยไป ตรวจ 6. การส่งตรวจศพพยาธิวิทยา วัตถุประสงค์ เพื่อให้การบริการของหน่วยตรวจศพของภาควิชาพยาธิวิทยาดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนทั้งในระดับนิสิตแพทย์และแพทย์ประจาบ้านทางหน่วยตรวจศพจึง ได้จัดทาคู่มือสาหรับผู้ใช้บริการฉบับนี้ขึ้นมา สถานที่ทาการ ตึกพยาธิวิทยา หมายเลขโทรศัพท์ 02- 256-4484, 02-256-4317 เวลาที่รับใบรายงานขอทาการตรวจศพ - ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ เวลาทาการตรวจศพโดยพยาธิแพทย์ - ในเวลาราชการ ระเบียบการตรวจศพ 1. หน้าที่การลงความเห็นว่าคนไข้นั้นถึงแก่กรรมเป็นของแพทย์ผู้รักษา หรือแพทย์ประจาบ้านทาง คลินิก 2. การส่งศพไปยังห้องศพ จะต้องมีใบส่งศพ ( ซึ่งเจ้าหน้าที่พยาบาลเป็นผู้บันทึกข้อความ) และ มอบศพพร้อมใบส่งศพให้เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจศพลงชื่อเป็นหลักฐานทั้งผู้มอบและผู้รับในใบ ส่งศพ 3. การขออนุญาตตรวจศพเป็นหน้าที่ของแพทย์ฝ่ายการรักษาเป็นผู้ขอจากญาติผู้เสียชีวิต (ควรขอตรวจศพทุกส่วนของร่างกาย *ดูเพิ่มเติม ขั้นตอนการดาเนินการขอตรวจศพทางพยาธิ วิทยา ข้อ 6 ) ผู้มีสิทธิอนุญาตให้ทาการตรวจศพได้ คือ ญาติซึ่งเรียงตามลาดับความใกล้ชิดดังต่อไปนี้
  • 4. 1. คู่สมรส 2. บุตร ธิดา 3. บุตรบุญธรรม 4. บิดา มารดา (อันดับ1 ถ้าผู้ตายยังไม่ บรรลุนิติภาวะ) 5. พี่น้องร่วมบิดา มารดา 6. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน 7. ปู่ ย่า ตา ยาย 8. ลุง ป้า น้า อา 9. ญาติที่รับผิดชอบเป็นผู้ปกครองดูแลกัน มาตลอดเป็นเวลานาน เช่น ลูกสะไภ้ลูกเขย ผู้เซ็นอนุญาตที่กล่าวมาทั้งหมด 9 ประเภท ต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว 4. เมื่อได้รับการอนุญาตแล้ว ให้แพทย์ผู้ขออนุญาตเป็นผู้กรอกข้อความในใบรายงานขอทาการ ตรวจศพ และให้ญาติลงนามในช่องผู้อนุญาต โดยต้องมีพยานจานวน 2 คน ลงนามต่อหน้าผู้ อนุญาต ทั้งนี้การขออนุญาตจะต้องไม่เป็นการบีบบังคับให้ญาติยินยอม หมายเหตุ ถ้ามีปัญหาทางคลินิกหรือมีปัญหาที่ต้องการให้พยาธิแพทย์ตรวจสอบอวัยวะหรือ ระบบใดเป็นพิเศษ ขอให้แพทย์ผู้ขออนุญาตเขียนระบุไว้ในใบขออนุญาตทาการตรวจศพให้ ชัดเจนด้วย 5. ทางหน่วยจะทาการตรวจศพเฉพาะที่ขอตรวจทั้งตัวเท่านั้น จะไม่ตรวจในกรณีที่ขอเป็นบาง อวัยวะ เช่น ขอตรวจเฉพาะปอด ตับ ฯลฯ เป็นต้น ในรายที่ญาติไม่อนุญาตให้ตรวจสมอง ทาง หน่วยจะทา Autopsy ก็ต่อเมื่อผู้ป่วยไม่มีอาการทางสมองเท่านั้น หากมีอาการทางสมองจะไม่ ทา 6. แพทย์ผู้ขออนุญาตตรวจศพควรเขียนสรุปรายละเอียดประวัติ ผลการตรวจร่างกาย การ วินิจฉัยโรคและผลการรักษาโดยละเอียด ถ้าเป็นไปได้ควรส่งหน้าป้ ายที่ครบถ้วนสมบูรณ์มาให้ ด้วยพร้อมการส่งศพ เพื่อมิให้เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติ 7. ศพทุกรายต้องได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าหรือรองหัวหน้าหน่วยตรวจศพของภาควิชาฯ ก่อน จึงสามารถทาการตรวจได้ ในวันหยุดราชการผู้ที่มีสิทธิอนุมัติการตรวจศพมี จานวน 3 ท่าน ตามลาดับดังนี้ คือ 1. ศาสตราจารย์นายแพทย์พิเชษฐ สัมปทานุกุล 2. ศาสตราจารย์นายแพทย์ชนพ ช่วงโชติ 3. รองศาสตราจารย์นายแพทย์ธรรมธร อาศนะเสน หมายเหตุ ขอความกรุณาแพทย์ที่ส่ง case ได้ติดต่อโดยตรงกับอาจารย์ท่านใดท่านหนึ่งใน จานวน 3 ท่าน โดยให้เจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพเป็นผู้ประสานให้แพทย์ผู้ขอ Autopsy ได้รายงานอาจารย์ด้วยตนเอง ถ้าสามารถกระทาได้เพื่อให้ข้อมูลที่ครบถ้วนก่อนทาการตรวจ 8. ผู้ป่วยที่ผลการตรวจเลือดเป็นบวกต่อเชื้อ HIV จะไม่มีการทา Autopsy กรณีที่เป็น case severe infection เช่น miliary tuberculosis, MRSA ฯลฯ กรุณแจ้งให้เจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพทราบด้วย เพื่อป้ องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคมายังบุคลากรเหล่านี้ เพราะเป็ น ผู้สัมผัสผู้ป่วยก่อนพยาธิแพทย์
  • 5. 9. หากแพทย์ผู้รักษาต้องการทา necropsy ผู้ป่วยที่เสียชีวิต ให้ตัดชิ้นเนื้อบริเวณที่ต้องการทราบ พยาธิสภาพส่งมาที่ภาควิชาพยาธิเหมือนกับการส่งตรวจทางศัลยกรรมทั่วไป ทางห้องตรวจศพ ไม่มีบริการในส่วนนี้ 10. ผลการตรวจศพ ทางหน่วยตรวจศพสามารถแจ้งผลการตรวจศพขั้นต้นได้ภายใน 24 ชั่วโมงหลังการตรวจ โดยขอดูได้จากเจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพ หรือติดต่อโดยตรงที่พยาธิ แพทย์ผู้ทาการตรวจศพ ผลการตรวจศพขั้นสุดท้าย (final anatomical diagnosis) จะออกภายใน 6-8 สัปดาห์หลังจากการตรวจศพ ติดต่อขอข้อมูลที่ห้องธุรการภาควิชาฯ (หน่ายการเรียนการ สอน) ตึก อปร. ชั้น 13 โทร.3614,4581,4235 ต่อ 306 11. Case ที่ต้องการผลด่วนเพื่อนาไปทา CPC หรือ Dead case conference ให้ติดต่อโดยตรงกับ หน่วยการเรียนการสอน ห้องธุรการภาควิชาฯ ตึก อปร. ชั้น 13 12. กรณีที่ญาติต้องการรับศพด่วน กรุณาให้แพทย์ผู้ขอ Autopsy ติดต่อกับอาจารย์ ท่านใดท่านหนึ่ง ใน 3 ท่านข้างต้นเพื่ออานวยความสะดวกในการดาเนินการก่อนเสมอ ทางหน่วยจะไม่ทา Autopsy เร่งด่วนถ้าไม่มีการประสานของแพทย์ที่ขอทา Autopsy และควรปฏิบัติในข้อ 6 ให้ ครบถ้วนด้วย เพื่อมิให้ขาดรายละเอียดข้อมูลที่จะได้จากการตรวจศพก่อนส่งศพคืนญาติ ขั้นตอนการดาเนินการขอตรวจศพทางพยาธิวิทยา 1. ขออนุญาตจากญาติสายตรงให้เซ็นยินยอมในใบขอทาการตรวจศพ 2. โทรแจ้ง เจ้าหน้าที่ห้องตรวจศพ หมายเลขภายใน 4484 3. ถ้าผู้ป่วยมีผลบวกต่อเชื้อ HIV หรือโรคติดต่อร้ายแรง ต้องรีบรายงานให้ทางหน่วยตรวจศพ ทราบ 4. สรุปประวัติการดาเนินโรคและประเด็นปัญหาที่สนใจให้พยาธิแพทย์ตรวจเป็นพิเศษในการทา Autopsy ลงในใบขอทาการตรวจศพ 5. ถ้าหากเป็นไปได้แพทย์ผู้ขอ autopsy ควรลงมาดูกการทา Autopsy ด้วยเพื่อให้ข้อมูลที่มี ความสาคัญบางอย่างแก่พยาธิแพทย์ให้ครบถ้วน 6. แพทย์ผู้ขอ autopsy ควรชี้แจงข้อมูลวิธีการตรวจศพที่แท้จริงให้กับญาติในกรณีที่ญาติสงสัยไม่ ควรบิดเบือนข้อมูลเพื่อให้ญาติยินยอมให้ตรวจศพ ซึ่งอาจเกิดปัญหาในภายหลัง 7. การนัดเวลารับศพควรติดต่อกับทางห้องตรวจศพหรือแพทย์ผู้ทา ก่อนตกลงกับญาติ หากมี ข้อจากัดในเรื่องเวลาควรรีบติดต่อหัวหน้าหน่วยตรวจศพโดยด่วน 8. ศพที่ไม่มีญาติมาติดต่อเกิน 24 ชั่วโมง หากต้องการทา autopsy ให้ทาบันทึกถึงผู้อานวยการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เพื่อขออนุมัติ 9. ควรส่งเวชระเบียนผู้เสียชีวิตพร้อมใบรายงานขอทาการตรวจศพมายังห้องศพโดยเร็วที่สุด เนื่องจากการทา autopsy ต้องใช้เวลาประมาณ 1-3 ชั่วโมง