SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
1
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะ
ชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบรรเทาและแก้ไข
(Impact of Global Climate Change: A Case Study of
Coastal Erosion in Central Region of Thailand With
Corresponding Mitigation and Adaptation Measures)
โดย
เชิญ ไกรนรา
สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง
9 กันยายน 2556
2
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบรรเทาและแก้ไข
1.สภาวะโลกร้อน (Global Warming) คือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือนกระจก (Green house effect)
ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่นๆ (ก๊าซมีเทน ไนตรัสออกไซด์ ก๊าซไฮโดรฟลูโร
คาร์บอน ก๊าซเปอร์ฟลูโรคาร์บอนและก๊าซซัลเฟอร์เฮกซ่าฟลูโอไรด์) จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่งและการผลิตใน
โรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งการตัดและทาลายป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกให้แก่มนุษย์ เมื่อก๊าซ
เหล่านี้ลอยตัวไปรวมอยู่บนชั้นบรรยากาศทาให้รังสีของดวงอาทิตย์ถูกกับเก็บไว้ทาให้อุณหภูมิของโลกค่อยๆสูงขึ้น ส่งผลให้
กลไกในการดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิภาพลงทาให้เกิดเป็นภาวะโลกร้อน
โดยผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนได้แก่ การเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้าทะเล การรุกล้าของน้าทะเลตามแนวชายฝั่ง น้าทะเลกัด
เซาะตลิ่งและชายหาดทั่วโลกเป็นบริเวณกว้าง ภัยธรรมชาติที่รุนแรงและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ฝนตกมากขึ้น สภาพภูมิอากาศที่
ไม่สม่าเสมอ น้าแปรสภาพเป็นกรดและผลกระทบด้านสุขภาพ
2. กรณีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลาง การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดชายฝั่งทะเล
พื้นที่ภาคกลางถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผลกระทบที่จากสภาวะโลกร้อน
2.1 สาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่งทะเล การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้น
ตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลมตะกอนจากที่หนึ่งไปตกทับถมในอีกบริเวณหนึ่ง ทาให้แนวของชายฝั่งเดิม
เปลี่ยนแปลงไปบริเวณที่มีตะกอนเคลื่อนเข้ามาน้อยกว่าปริมาณที่ตะกอนเคลื่อนออกไปถือว่าเป็นบริเวณที่มีการกัดเซาะชายฝั่ง
ซึ่งเกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ 1) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกระบวนการตามธรรมชาติ เช่น ลมพายุและมรสุม กระแสน้า
และภาวะน้าขึ้น-น้าลงและลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งทะเลที่แตกต่างกัน และ 2) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกิจกรรม
ของมนุษย์ โดยกิจกรรมที่เร่งกระบวนการกัดเซาะชายฝั่งให้รุนแรงมากขึ้น ได้แก่ การพัฒนาขนาดใหญ่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล
การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง การสร้างเขื่อน ฝายหรืออ่างเก็บน้าต้นน้าโครงสร้างเหล่านี้มีผลให้ตะกอนที่ไหล
ตามแม่น้ามาสะสมบริเวณปากแม่น้ามีปริมาณลดลงขาดตะกอนที่จะเติมทดแทน ส่วนตะกอนเก่าที่ถูกพัดพาไปบริเวณอื่นโดย
กระแสน้าทาให้เกิดการกัดเซาะแนวชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง เช่น ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียน เป็นต้น การบุกรุกทาลายพื้นที่ป่าชาย
เลนเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า การสูบน้าบาดาลทาให้เกิดการทรุดตัวของแผ่นดิน ส่งผลให้การกัดเซาะชายฝั่งเกิด
ความรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่งและปะการัง
2.2 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเล ในพื้นที่ภาคกลาง ประเทศไทยมีแนวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอด
แนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งตลอดแนว
ชายฝั่งทั้ง 23 จังหวัด โดยชายฝั่งทะเลของไทยมีจุดวิกฤติที่ประสบปัญหากัดเซาะรุนแรงที่สุดของประเทศจานวน 30 แห่ง
แผนที่แสดงการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยและระดับความรุนแรง
กัดเซาะปานกลาง 1 - 5 เมตรต่อปี กัดเซาะรุนแรง>5 เมตรต่อปี
ที่มา : ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
3
(รายละเอียดปรากฏตามแผนที่ ) สาหรับพื้นที่ภาคกลางมีจังหวัดชายฝั่งทะเล 11 จังหวัด เป็นระยะทางยาว 1,041.57
กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51 ของความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีระดับการกัดเซาะปานกลาง 292.09 กิโลเมตร และการ
กัดเซาะรุนแรง 81.11 กิโลเมตร รวมพื้นที่ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นระยะทางยาว 373.21 กิโลเมตร หรือคิดเป็น
ร้อยละ 51.12 ของพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งทั้งประเทศ โดยมีพื้นที่ถูกกัดเซาะที่สาคัญและรุนแรงรวม 8 จุด คือ (1) ชายฝั่งทะเล
ตารางที่ 1: ระดับความรุนแรงของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่ภาคกลาง
จังหวัด ความยาวชายฝั่ง
(กม.)
ระดับความรุนแรงของการกัดเซาะ (กม.) รวมพื้นที่ประสบปัญหาการ
กัดเซาะชายฝั่ง(กม.)
ปานกลาง
1-5 เมตร/ปี
รุนแรง
มากกว่า 5 เมตร/ปี
1.ตราด
2.จันทบุรี
3.ระยอง
4.ชลบุรี
5.ฉะเชิงเทรา
6.สมุทรปราการ
7.กรุงเทพมหานคร
8.สมุทรสาคร
9.สมุทรสงคราม
10.เพชรบุรี
11.ประจวบคีรีขันธ์
รวมพื้นที่ภาคกลาง
184.3
102.25
104.48
171.78
16.28
50.21
5.81
42.78
25.2
91.73
246.75
1,041.57
46.63
23.21
53.66
25.14
2.04
3.22
0
19.69
2.96
39.35
76.19
292.09
0
12
0
0
5.85
31.47
5.71
13.76
0
10.39
1.93
81.11
46.63
35.21
53.66
25.14
7.89
34.69
5.71
33.45
2.96
49.75
78.12
373.21
17 จังหวัดชายฝั่งอ่าวไทย 2,055.18 730.03 501.81 228.22
6 จังหวัดชายฝั่งอันดามัน 1,093.04 100.04 74.98 25.06
รวม 23 จังหวัดชายฝั่งทะเล 3,148 830.07 576.79 253.28
ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2554
เกาะแมว-แหลมหญ้า อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี (2) มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง (3) บ้านคลองเจริญไว-บ้านคลองสีล้ง อ.
บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา (4) ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของคลองสีล้ง-บ้านบางสาราญ จ.สมุทรปราการ (5) บ้านแหลมสิงห์-
ปากคลองขุนราชพินิตใจ จ.สมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 12.5 กม.ปัจจุบันพื้นที่ชายฝั่งถอยร่นเข้ามาประมาณ 700-
800 เมตร บางแห่ง เช่นบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 พื้นที่ถูกกัดเซาะหายไปประมาณ 1 กิโลเมตร ในช่วง 28 ปีด้วยอัตราการกัด
เซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี (6) ปากคลองราชพินิจใจ-บ้านท่าตะโก เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานครระยะทางประมาณ
5.5 กิโลเมตร มีอัตราการกัดเซาะ 20-25 เมตรต่อปี ช่วง 28 ปีที่ผ่านมาพื้นที่หายไป 400-800 เมตร (7) บ้านดอนมะขาม-บ้าน
ทาเนียบ อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี (8) บ้านบางเกตุ จ.เพชรบุรี บ้านหนองเก่า-บ้านหนองเสือ จ.ประจวบคีรีขันธ์
2.4 ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง จาแนกออกเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านเศรษฐกิจ ซึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือ
ภาคการท่องเที่ยวจากชายฝั่งถูกกัดเซาะจนเกิดสภาพเสื่อมโทรมและสูญเสียแนวชายหาดที่สวยงาม สูญเสียโอกาสการพัฒนา
พื้นที่ท่องเที่ยวชายฝั่งรวมทั้งต้องสูญเสียงบประมาณและทรัพยากรจานวนมากเพื่อการป้องกันการกัดเซาะแนวชายฝั่ง 2) ด้าน
สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศชายฝั่งได้รับผลกระทบโดยตรงเนื่องจากการกัดเซาะและเปลี่ยนแปลงทับถมของตะกอนสูญเสียแนว
ชายหาดเดิมที่เคยมีซึ่งส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพรวมทั้งสมดุลของระบบนิเวศในบริเวณนั้น 3) ด้านสังคม
ชุมชนริมฝั่งทะเลต้องอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังพื้นที่อื่นจากพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะทาให้สูญเสียวิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม
ของชุมชน ไม่มีที่อยู่อาศัยและที่ทากินทาให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติ และ 4) ด้านคุณภาพชีวิต ชุมชนที่ได้รับ
ผลกระทบจากการกัดเซาะ สูญเสียที่ดินและทรัพย์สินของตนต้องปรับเปลี่ยนวิถีดารงชีวิตไปจากเดิม เกิดความวิตกกังวลใน
การประกอบอาชีพใหม่อาจส่งผลถึงสภาพจิตใจและความสัมพันธ์ในครอบครัวทาให้คุณภาพชีวิตตกต่าลงหรือไม่ดีเหมือนเดิม
2.5 การดาเนินงานที่ผ่านมา หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติงานในพื้นที่ตามหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเพื่อ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลมาแล้วอย่างต่อเนื่อง แต่มีลักษณะต่างคนต่างทา เน้นการแก้ไขปัญหาการกัด
เซาะชายฝั่งทะเลและการตกตะกอนในบริเวณชายฝั่งทะเลเฉพาะจุดและส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้รูปแบบโครงสร้าง
ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลทางวิศวกรรม เช่น กาแพงกันคลื่นชายฝั่งทะเล (Sea wall) รอดักตะกอน (Groin) และเขื่อน
ป้องกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล (Offshore breakwater) โดยมีรูปแบบและวัสดุที่แตกต่างกันและมีค่าใช้จ่ายสูงแต่ไม่สามารถ
ป้องกันการกัดเซาะได้ ด้วยเหตุนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึง เป็นแกนหลักในการจัดทา “ยุทธศาสตร์การ
4
จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล” เมื่อปี พ.ศ. 2550 โดยกาหนดวิสัยทัศน์ให้แนวชายฝั่งทะเลทั่ว
ประเทศมีการจัดการพื้นที่เชิงบูรณาการโดยคานึงถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ การรักษาคุณค่าของระบบนิเวศ
ชายฝั่งและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กาหนดเป้าหมายหลักให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยทั้งหมดมีระบบป้องกันและ
แก้ไขเพื่อไม่ให้ถูกกัดเซาะภายในปี พ.ศ. 2570 มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเล การจัดสรรบทบาท หน้าที่
ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการ การกาหนดนโยบาย แนวทางและ
มาตรการดาเนินงานระดับพื้นที่ที่ชัดเจน มีองค์ความรู้ที่เผยแพร่แก่ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชน ตลอดทั้งกาหนดแนวทางในการ
ป้องกันแก้ไขปัญหารวม 5 แนวทาง อย่างไรก็ตามยังประสบปัญหาในกระบวนการการแปลงยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติ ได้แก่
การขาดระบบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่บริเวณชายฝั่งของ ประเทศ ขาดการมีส่วนร่วมของภาค
ประชาชนในท้องถิ่น และขาดความเชื่อมโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการควบคุมการพัฒนา ในพื้นที่ต้นน้าและปลายน้า
บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและผู้ประกอบการชายฝั่งขาดความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
พื้นที่ชายฝั่งโดยเฉพาะด้านวิศวกรรมชายฝั่ง เป็นต้น
3. กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ : ขุนสมุทรจีน 49A2 โมเดลสู้โลกร้อนกัดเซาะ
ชายฝั่ง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่โดยให้ชุมชนเป็นฐานของการบูรณาการการจัดการและบรรเทาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง
ทะเลมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งและผลกระทบต่อชุมชน ในช่วง 30 ปี บ้านขุนสมุทรจีน ต.แหลมฟ้าผ่า อ.พระ
สมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ประสบปัญหาพื้นที่ถูกกัดเซาะวิกฤตที่สุดลึกหายไปประมาณ1 ก.ม. อัตรากัดเซาะมากกว่า 25
เมตรต่อปี ส่วนหนึ่งของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเกิดจากปัญหาสภาวะโลกร้อนและระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นรวมทั้งเกิดจากการ
เปลี่ยนทิศทางของคลื่นลมทะเลตามแนวชายฝั่งซึ่งเป็นตัวพัดพาตะกอนโคลนหรือทรายออกจากแนวชายฝั่ง ในขณะที่มีปัจจัย
เสริมอื่นๆ เนื่องจากปริมาณตะกอนปากแม่น้าลดลงเพราะการสร้างเขื่อนบริเวณต้นน้าทั้งเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ตลอดจน
ผลกระทบจากแผ่นดินทรุด สถานการณ์ที่รุนแรงทาให้ชาวบ้านตื่นตัวกับปัญหาและนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งกระ
ต่อสภาพจิตใจและหวาดกลัวเพราะย้ายบ้านหนีน้ามาแล้วหลายครั้ง ไม่มีที่ทากิน วิถีชีวิตหลายด้านสูญหายไปกับทะเลทาให้
คนในพื้นที่มีความเคลื่อนไหวที่จะบรรเทาปัญหานี้อย่างต่อเนื่อง
3.2 การจัดทาโครงการก่อสร้างอาคารสลายกาลังคลื่น "ขุนสมุทรจีน 49A2" ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างจังหวัด
สมุทรปราการ และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสนับสนุนให้หน่วยศึกษาพิบัติภัยและข้อสนเทศเชิงพื้นที่ ภาควิชา
ธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดทา "การศึกษาการบูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะ
ชายฝั่งทะเลของจังหวัดสมุทรปราการ"โดยใช้กรณี จ.สมุทรปราการเป็นต้นแบบ จากการประเมินการกัดเซาะชายฝั่งทั่ว
ประเทศไทย พบว่าบริเวณจ.สมุทรปราการ เกิดปัญหากัดเซาะอย่างรุนแรง มีพื้นที่หายไปประมาณ 11,104 ไร่เมื่อเทียบกับ
38 ปีที่แล้ว ถ้าปัญหานี้ไม่ได้รับการแก้ไขในอีก 20 ปีจะสูญเสียชายฝั่งเพิ่มขึ้นอีก 37,657 ไร่
3.3 การออกแบบขุนสมุทรจีน 49A2 หลักการออกแบบหลังจากผ่านการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านพื้นท้องทะเล กระแสน้า
คลื่น การตกตะกอน รวมทั้งชนิดชายฝั่งนามาศึกษาและวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อจับภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็น
แนวกันคลื่นนี้เป็นการใช้โครงการสร้างทางวิศวกรรมชายฝั่งทะเลในการป้องกันเพื่อสลายพลังคลื่น ไม่ใช่กาแพงกันคลื่นแบบ
ปะทะเต็มๆ ตลอดความยาว 250 เมตรใช้เสาคอนกรีตพิเศษรูปทรงสามเหลี่ยมยึดเป็นแถว มีแถว A, B และ C สูง 10, 8
และ 6 เมตรตามลาดับ วางห่างกัน 1.50 เมตรในลักษณะสลับฟันปลาเมื่อคลื่นถาโถมมาจะช่วยลดความแรง สาหรับตะกอนจะ
ตกหลังแนวกันคลื่นการดาเนินการต่อจากนั้นเมื่อชายฝั่งเริ่มตื้นเขินก็มีแนวทางปลูกป่าชายเลนเพื่อยึดผิวดินทาให้ชุมชนบ้านขุน
สมุทรจีนมีทรัพยากรอุดมสมบูรณยิ่งขึ้นในช่วง 6 เดือน ถึง 1 ปีจะปล่อยแนวกันคลื่นให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด ขึ้นปีที่ 2 อาจ
นาตะกอนดินมาเติมหน้าแนวกันคลื่น แล้วให้คลื่นเป็นตัวพัดพาเร่งการงอกของแผ่นดินเป็นการปรับสมดุลชายฝั่งอีกจุดหนึ่ง
4. ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวและแก้ไขผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ภาคกลาง มีความแตกต่างกัน
5
ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์หรือลักษณะของชายฝั่งทะเลและอิทธิพลของลมมรสุมประจาท้องถิ่น โดยทั่วไปอาจแบ่งแนวทางการ
แก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลออกเป็น 3 รูปแบบคือ 1) วิธีการป้องกันและแก้ไขทางธรรมชาติ ได้แก่การฟื้นฟูและ
อนุรักษ์ป่าชายเลน ป่าชายหาด แหล่งหญ้าทะเลและแนวปะการังเพื่อลดความรุนแรงของคลื่นที่กระทบฝั่งถือเป็นวิธีป้องกัน
การกัดเซาะโดยเลียนแบบธรรมชาติซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างความมั่นคงแข็งแรงให้กับชายฝั่ง การปักไม้ไผ่ลดกระแส
ความแรงของคลื่นและทาให้เกิดตะกอนดินเพิ่มขึ้นและการปลูกหญ้าหรือต้นไม้ขนาดเล็กชนิดที่มีรากยาวให้ช่วยยึดเกาะพื้น
ทรายให้แน่นขึ้นหรืออาจเสริมขนาดสันทรายริมชายฝั่งให้กว้างขึ้น รวมทั้งการควบคุมสิ่งปลูกสร้างไม่ให้ชิดขอบชายฝั่งทะเล
มากเกินไป 2) วิธีการทางวิศวกรรม โดยใช้โครงสร้างทางวิศวกรรมดักตะกอนทรายและสลายพลังงานคลื่นหรือสร้างหาด
ทรายเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและรักษาสภาพชายฝั่ง โดยใช้หลักการทางวิชาการที่มีการศึกษาวิเคราะห์ครอบคลุมทุกมิติ เช่น
เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) หรือแนวกันคลื่นนอกชายฝั่ง ( Offshore breakwater) กาแพงกันตลิ่ง (Revetment) รอดัก
ทราย (Groin) ไส้กรอกทราย (Sand sausage) การเติมทราย (Sand nourishment) หรือการสร้างเนินทราย (Dune
nourishment) และ 3) การใช้วิธีผสมผสาน โดยใช้ทั้งวิธีทางธรรมชาติและทางวิศวกรรมร่วมกัน เช่น การดาเนินการป้องกัน
การกัดเซาะชายฝั่งของ ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยการปักไม้ไผ่รวกเป็นกาแพงลดความรุนแรงของคลื่น เมื่อ
มีการตกตะกอนและทับถมมากขึ้นจึงปลูกไม้ชายเลนไว้หลังแนวปักไม้ไผ่ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าชายเลนตามธรรมชาติ ซึ่งพบว่าไม้
ชายเลนมีการเจริญเติบโตได้ดี
5. สรุป การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่กาลังดาเนินอยู่ในปัจจุบันได้ส่งผลกระทบในหลายมิติโดยเฉพาะด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งหนึ่งในผลกระทบที่สาคัญจากภาวะโลกร้อนต่อประเทศไทยและ
พื้นที่ภาคกลางคือปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งซึ่งถือได้ว่าเป็นปัญหาสาคัญระดับชาติ เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นที่ชายฝั่งทะเล
ทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอดแนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพบปัญหา
การกัดเซาะชายฝั่งตลอดแนวทั้ง 23 จังหวัด โดยมีระยะทางชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะทั้งสิ้นยาว 830.07กิโลเมตร แม้ว่าได้มีการ
จัดทายุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เมื่อปี 2550 แต่ยังพบปัญหาในการแปลงแผน
ไปสู่การปฏิบัติหลายประการโดยเฉพาะปัญหาด้านค่อนข้างขาดการประสานงานและการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่
รับผิดชอบในส่วนกลางและหน่วยงานส่วนท้องถิ่น ขาดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการแก้ไขปัญหา ตลอดทั้ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนขาดองค์ความรู้ทางวิชาการในการบรรเทาและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ดังนั้นเพื่อ
ส่งเสริมให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลยังคงมีบทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศจึงควรจัดทาแผนแม่บทเพื่อบรรเทาและแก้ไข
ปัญหาการกัดเซาะเชิงพื้นที่ ระดับจังหวัดที่มุ่งเน้นการบูรณาการการดาเนินงานและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียทุกภาคส่วน รวมทั้งการสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการการกัดเซาะชายฝั่งแก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นและสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อ
นาไปสู่เป้าหมายการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลอย่างสมดุลตลอดทั้งรักษาฐานรายได้และอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน
เอกสารอ้างอิง
สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ค้นหาจาก http://www.mkh.in.th/index.php/2010-
03-22-18-05-34/2010-03-26-07-58-17 เข้าถึงเมื่อวันที่28 มิถุนายน 2556
แผ่นดินที่หายไป ค้นหาจาก http://www.saveoursea.net/boardsmf/index.php?topic=718.20;wap2 เข้าถึงเมื่อวันที่
2 กรกฎาคม 2556
ปัญหาที่เกิดกับชายฝั่งทะเลของประเทศไทยค้นหาจาก http://www.md.go.th/interest/coast.php เข้าถึงเมื่อ 28
มิถุนายน 2556
ยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ค้นหาจาก
http://www.dmcr.go.th/elibrary/elibraly/book_file/Book20110208142503.pdf เข้าถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2556
ผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนค้นหาจาก
http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=131&cno=2757 27 มิถุนายน 2556เข้าถึงเมื่อ 4
กรกฎาคม 2556
สภาวะโลกร้อน (Global Warming) ค้นหาจาก http://www.dol.go.th/sms/interesting.htm 27 มิถุนายน 2556เข้าถึง
เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2556

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in ThailandPolicy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Dr.Choen Krainara
 
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
Dr.Choen Krainara
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
Dr.Choen Krainara
 

Destaque (10)

Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in ThailandPolicy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand
 
การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...
การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...
การบรรเทาผลกระทบและการปรับตัวจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเนื่องจากสภาวะโลกร้...
 
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน:กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทาง...
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
 
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
 
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
 
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
 
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
 
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
 
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ... การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 

Mais de Dr.Choen Krainara

Mais de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบ

  • 1. 1 ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบรรเทาและแก้ไข (Impact of Global Climate Change: A Case Study of Coastal Erosion in Central Region of Thailand With Corresponding Mitigation and Adaptation Measures) โดย เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง 9 กันยายน 2556
  • 2. 2 ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน: กรณีศึกษาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่ภาคกลางและแนวทางการบรรเทาและแก้ไข 1.สภาวะโลกร้อน (Global Warming) คือการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือนกระจก (Green house effect) ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่นๆ (ก๊าซมีเทน ไนตรัสออกไซด์ ก๊าซไฮโดรฟลูโร คาร์บอน ก๊าซเปอร์ฟลูโรคาร์บอนและก๊าซซัลเฟอร์เฮกซ่าฟลูโอไรด์) จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่งและการผลิตใน โรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งการตัดและทาลายป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวกให้แก่มนุษย์ เมื่อก๊าซ เหล่านี้ลอยตัวไปรวมอยู่บนชั้นบรรยากาศทาให้รังสีของดวงอาทิตย์ถูกกับเก็บไว้ทาให้อุณหภูมิของโลกค่อยๆสูงขึ้น ส่งผลให้ กลไกในการดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิภาพลงทาให้เกิดเป็นภาวะโลกร้อน โดยผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนได้แก่ การเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้าทะเล การรุกล้าของน้าทะเลตามแนวชายฝั่ง น้าทะเลกัด เซาะตลิ่งและชายหาดทั่วโลกเป็นบริเวณกว้าง ภัยธรรมชาติที่รุนแรงและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ฝนตกมากขึ้น สภาพภูมิอากาศที่ ไม่สม่าเสมอ น้าแปรสภาพเป็นกรดและผลกระทบด้านสุขภาพ 2. กรณีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลพื้นที่ภาคกลาง การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดชายฝั่งทะเล พื้นที่ภาคกลางถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผลกระทบที่จากสภาวะโลกร้อน 2.1 สาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่งทะเล การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้น ตลอดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลมตะกอนจากที่หนึ่งไปตกทับถมในอีกบริเวณหนึ่ง ทาให้แนวของชายฝั่งเดิม เปลี่ยนแปลงไปบริเวณที่มีตะกอนเคลื่อนเข้ามาน้อยกว่าปริมาณที่ตะกอนเคลื่อนออกไปถือว่าเป็นบริเวณที่มีการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งเกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ 1) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกระบวนการตามธรรมชาติ เช่น ลมพายุและมรสุม กระแสน้า และภาวะน้าขึ้น-น้าลงและลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งทะเลที่แตกต่างกัน และ 2) การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งโดยกิจกรรม ของมนุษย์ โดยกิจกรรมที่เร่งกระบวนการกัดเซาะชายฝั่งให้รุนแรงมากขึ้น ได้แก่ การพัฒนาขนาดใหญ่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเล การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง การสร้างเขื่อน ฝายหรืออ่างเก็บน้าต้นน้าโครงสร้างเหล่านี้มีผลให้ตะกอนที่ไหล ตามแม่น้ามาสะสมบริเวณปากแม่น้ามีปริมาณลดลงขาดตะกอนที่จะเติมทดแทน ส่วนตะกอนเก่าที่ถูกพัดพาไปบริเวณอื่นโดย กระแสน้าทาให้เกิดการกัดเซาะแนวชายฝั่งอย่างต่อเนื่อง เช่น ชายฝั่งทะเลบางขุนเทียน เป็นต้น การบุกรุกทาลายพื้นที่ป่าชาย เลนเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า การสูบน้าบาดาลทาให้เกิดการทรุดตัวของแผ่นดิน ส่งผลให้การกัดเซาะชายฝั่งเกิด ความรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่งและปะการัง 2.2 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งทะเล ในพื้นที่ภาคกลาง ประเทศไทยมีแนวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอด แนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งตลอดแนว ชายฝั่งทั้ง 23 จังหวัด โดยชายฝั่งทะเลของไทยมีจุดวิกฤติที่ประสบปัญหากัดเซาะรุนแรงที่สุดของประเทศจานวน 30 แห่ง แผนที่แสดงการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในประเทศไทยและระดับความรุนแรง กัดเซาะปานกลาง 1 - 5 เมตรต่อปี กัดเซาะรุนแรง>5 เมตรต่อปี ที่มา : ฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
  • 3. 3 (รายละเอียดปรากฏตามแผนที่ ) สาหรับพื้นที่ภาคกลางมีจังหวัดชายฝั่งทะเล 11 จังหวัด เป็นระยะทางยาว 1,041.57 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 51 ของความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย มีระดับการกัดเซาะปานกลาง 292.09 กิโลเมตร และการ กัดเซาะรุนแรง 81.11 กิโลเมตร รวมพื้นที่ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นระยะทางยาว 373.21 กิโลเมตร หรือคิดเป็น ร้อยละ 51.12 ของพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งทั้งประเทศ โดยมีพื้นที่ถูกกัดเซาะที่สาคัญและรุนแรงรวม 8 จุด คือ (1) ชายฝั่งทะเล ตารางที่ 1: ระดับความรุนแรงของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่ภาคกลาง จังหวัด ความยาวชายฝั่ง (กม.) ระดับความรุนแรงของการกัดเซาะ (กม.) รวมพื้นที่ประสบปัญหาการ กัดเซาะชายฝั่ง(กม.) ปานกลาง 1-5 เมตร/ปี รุนแรง มากกว่า 5 เมตร/ปี 1.ตราด 2.จันทบุรี 3.ระยอง 4.ชลบุรี 5.ฉะเชิงเทรา 6.สมุทรปราการ 7.กรุงเทพมหานคร 8.สมุทรสาคร 9.สมุทรสงคราม 10.เพชรบุรี 11.ประจวบคีรีขันธ์ รวมพื้นที่ภาคกลาง 184.3 102.25 104.48 171.78 16.28 50.21 5.81 42.78 25.2 91.73 246.75 1,041.57 46.63 23.21 53.66 25.14 2.04 3.22 0 19.69 2.96 39.35 76.19 292.09 0 12 0 0 5.85 31.47 5.71 13.76 0 10.39 1.93 81.11 46.63 35.21 53.66 25.14 7.89 34.69 5.71 33.45 2.96 49.75 78.12 373.21 17 จังหวัดชายฝั่งอ่าวไทย 2,055.18 730.03 501.81 228.22 6 จังหวัดชายฝั่งอันดามัน 1,093.04 100.04 74.98 25.06 รวม 23 จังหวัดชายฝั่งทะเล 3,148 830.07 576.79 253.28 ที่มา: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2554 เกาะแมว-แหลมหญ้า อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุรี (2) มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง (3) บ้านคลองเจริญไว-บ้านคลองสีล้ง อ. บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา (4) ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของคลองสีล้ง-บ้านบางสาราญ จ.สมุทรปราการ (5) บ้านแหลมสิงห์- ปากคลองขุนราชพินิตใจ จ.สมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 12.5 กม.ปัจจุบันพื้นที่ชายฝั่งถอยร่นเข้ามาประมาณ 700- 800 เมตร บางแห่ง เช่นบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 พื้นที่ถูกกัดเซาะหายไปประมาณ 1 กิโลเมตร ในช่วง 28 ปีด้วยอัตราการกัด เซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี (6) ปากคลองราชพินิจใจ-บ้านท่าตะโก เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานครระยะทางประมาณ 5.5 กิโลเมตร มีอัตราการกัดเซาะ 20-25 เมตรต่อปี ช่วง 28 ปีที่ผ่านมาพื้นที่หายไป 400-800 เมตร (7) บ้านดอนมะขาม-บ้าน ทาเนียบ อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี (8) บ้านบางเกตุ จ.เพชรบุรี บ้านหนองเก่า-บ้านหนองเสือ จ.ประจวบคีรีขันธ์ 2.4 ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง จาแนกออกเป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านเศรษฐกิจ ซึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือ ภาคการท่องเที่ยวจากชายฝั่งถูกกัดเซาะจนเกิดสภาพเสื่อมโทรมและสูญเสียแนวชายหาดที่สวยงาม สูญเสียโอกาสการพัฒนา พื้นที่ท่องเที่ยวชายฝั่งรวมทั้งต้องสูญเสียงบประมาณและทรัพยากรจานวนมากเพื่อการป้องกันการกัดเซาะแนวชายฝั่ง 2) ด้าน สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศชายฝั่งได้รับผลกระทบโดยตรงเนื่องจากการกัดเซาะและเปลี่ยนแปลงทับถมของตะกอนสูญเสียแนว ชายหาดเดิมที่เคยมีซึ่งส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพรวมทั้งสมดุลของระบบนิเวศในบริเวณนั้น 3) ด้านสังคม ชุมชนริมฝั่งทะเลต้องอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังพื้นที่อื่นจากพื้นที่ที่ถูกกัดเซาะทาให้สูญเสียวิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม ของชุมชน ไม่มีที่อยู่อาศัยและที่ทากินทาให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ตามปกติ และ 4) ด้านคุณภาพชีวิต ชุมชนที่ได้รับ ผลกระทบจากการกัดเซาะ สูญเสียที่ดินและทรัพย์สินของตนต้องปรับเปลี่ยนวิถีดารงชีวิตไปจากเดิม เกิดความวิตกกังวลใน การประกอบอาชีพใหม่อาจส่งผลถึงสภาพจิตใจและความสัมพันธ์ในครอบครัวทาให้คุณภาพชีวิตตกต่าลงหรือไม่ดีเหมือนเดิม 2.5 การดาเนินงานที่ผ่านมา หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติงานในพื้นที่ตามหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเพื่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลมาแล้วอย่างต่อเนื่อง แต่มีลักษณะต่างคนต่างทา เน้นการแก้ไขปัญหาการกัด เซาะชายฝั่งทะเลและการตกตะกอนในบริเวณชายฝั่งทะเลเฉพาะจุดและส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้รูปแบบโครงสร้าง ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลทางวิศวกรรม เช่น กาแพงกันคลื่นชายฝั่งทะเล (Sea wall) รอดักตะกอน (Groin) และเขื่อน ป้องกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล (Offshore breakwater) โดยมีรูปแบบและวัสดุที่แตกต่างกันและมีค่าใช้จ่ายสูงแต่ไม่สามารถ ป้องกันการกัดเซาะได้ ด้วยเหตุนี้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึง เป็นแกนหลักในการจัดทา “ยุทธศาสตร์การ
  • 4. 4 จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล” เมื่อปี พ.ศ. 2550 โดยกาหนดวิสัยทัศน์ให้แนวชายฝั่งทะเลทั่ว ประเทศมีการจัดการพื้นที่เชิงบูรณาการโดยคานึงถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ การรักษาคุณค่าของระบบนิเวศ ชายฝั่งและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กาหนดเป้าหมายหลักให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยทั้งหมดมีระบบป้องกันและ แก้ไขเพื่อไม่ให้ถูกกัดเซาะภายในปี พ.ศ. 2570 มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเล การจัดสรรบทบาท หน้าที่ ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการ การกาหนดนโยบาย แนวทางและ มาตรการดาเนินงานระดับพื้นที่ที่ชัดเจน มีองค์ความรู้ที่เผยแพร่แก่ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชน ตลอดทั้งกาหนดแนวทางในการ ป้องกันแก้ไขปัญหารวม 5 แนวทาง อย่างไรก็ตามยังประสบปัญหาในกระบวนการการแปลงยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติ ได้แก่ การขาดระบบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่บริเวณชายฝั่งของ ประเทศ ขาดการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชนในท้องถิ่น และขาดความเชื่อมโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการควบคุมการพัฒนา ในพื้นที่ต้นน้าและปลายน้า บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนและผู้ประกอบการชายฝั่งขาดความรู้เกี่ยวกับการจัดการ พื้นที่ชายฝั่งโดยเฉพาะด้านวิศวกรรมชายฝั่ง เป็นต้น 3. กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ : ขุนสมุทรจีน 49A2 โมเดลสู้โลกร้อนกัดเซาะ ชายฝั่ง ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่โดยให้ชุมชนเป็นฐานของการบูรณาการการจัดการและบรรเทาปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ทะเลมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งและผลกระทบต่อชุมชน ในช่วง 30 ปี บ้านขุนสมุทรจีน ต.แหลมฟ้าผ่า อ.พระ สมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ประสบปัญหาพื้นที่ถูกกัดเซาะวิกฤตที่สุดลึกหายไปประมาณ1 ก.ม. อัตรากัดเซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี ส่วนหนึ่งของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเกิดจากปัญหาสภาวะโลกร้อนและระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นรวมทั้งเกิดจากการ เปลี่ยนทิศทางของคลื่นลมทะเลตามแนวชายฝั่งซึ่งเป็นตัวพัดพาตะกอนโคลนหรือทรายออกจากแนวชายฝั่ง ในขณะที่มีปัจจัย เสริมอื่นๆ เนื่องจากปริมาณตะกอนปากแม่น้าลดลงเพราะการสร้างเขื่อนบริเวณต้นน้าทั้งเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ตลอดจน ผลกระทบจากแผ่นดินทรุด สถานการณ์ที่รุนแรงทาให้ชาวบ้านตื่นตัวกับปัญหาและนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งกระ ต่อสภาพจิตใจและหวาดกลัวเพราะย้ายบ้านหนีน้ามาแล้วหลายครั้ง ไม่มีที่ทากิน วิถีชีวิตหลายด้านสูญหายไปกับทะเลทาให้ คนในพื้นที่มีความเคลื่อนไหวที่จะบรรเทาปัญหานี้อย่างต่อเนื่อง 3.2 การจัดทาโครงการก่อสร้างอาคารสลายกาลังคลื่น "ขุนสมุทรจีน 49A2" ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างจังหวัด สมุทรปราการ และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสนับสนุนให้หน่วยศึกษาพิบัติภัยและข้อสนเทศเชิงพื้นที่ ภาควิชา ธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดทา "การศึกษาการบูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่งทะเลของจังหวัดสมุทรปราการ"โดยใช้กรณี จ.สมุทรปราการเป็นต้นแบบ จากการประเมินการกัดเซาะชายฝั่งทั่ว ประเทศไทย พบว่าบริเวณจ.สมุทรปราการ เกิดปัญหากัดเซาะอย่างรุนแรง มีพื้นที่หายไปประมาณ 11,104 ไร่เมื่อเทียบกับ 38 ปีที่แล้ว ถ้าปัญหานี้ไม่ได้รับการแก้ไขในอีก 20 ปีจะสูญเสียชายฝั่งเพิ่มขึ้นอีก 37,657 ไร่ 3.3 การออกแบบขุนสมุทรจีน 49A2 หลักการออกแบบหลังจากผ่านการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านพื้นท้องทะเล กระแสน้า คลื่น การตกตะกอน รวมทั้งชนิดชายฝั่งนามาศึกษาและวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อจับภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็น แนวกันคลื่นนี้เป็นการใช้โครงการสร้างทางวิศวกรรมชายฝั่งทะเลในการป้องกันเพื่อสลายพลังคลื่น ไม่ใช่กาแพงกันคลื่นแบบ ปะทะเต็มๆ ตลอดความยาว 250 เมตรใช้เสาคอนกรีตพิเศษรูปทรงสามเหลี่ยมยึดเป็นแถว มีแถว A, B และ C สูง 10, 8 และ 6 เมตรตามลาดับ วางห่างกัน 1.50 เมตรในลักษณะสลับฟันปลาเมื่อคลื่นถาโถมมาจะช่วยลดความแรง สาหรับตะกอนจะ ตกหลังแนวกันคลื่นการดาเนินการต่อจากนั้นเมื่อชายฝั่งเริ่มตื้นเขินก็มีแนวทางปลูกป่าชายเลนเพื่อยึดผิวดินทาให้ชุมชนบ้านขุน สมุทรจีนมีทรัพยากรอุดมสมบูรณยิ่งขึ้นในช่วง 6 เดือน ถึง 1 ปีจะปล่อยแนวกันคลื่นให้เป็นธรรมชาติมากที่สุด ขึ้นปีที่ 2 อาจ นาตะกอนดินมาเติมหน้าแนวกันคลื่น แล้วให้คลื่นเป็นตัวพัดพาเร่งการงอกของแผ่นดินเป็นการปรับสมดุลชายฝั่งอีกจุดหนึ่ง 4. ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวและแก้ไขผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่ภาคกลาง มีความแตกต่างกัน
  • 5. 5 ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์หรือลักษณะของชายฝั่งทะเลและอิทธิพลของลมมรสุมประจาท้องถิ่น โดยทั่วไปอาจแบ่งแนวทางการ แก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลออกเป็น 3 รูปแบบคือ 1) วิธีการป้องกันและแก้ไขทางธรรมชาติ ได้แก่การฟื้นฟูและ อนุรักษ์ป่าชายเลน ป่าชายหาด แหล่งหญ้าทะเลและแนวปะการังเพื่อลดความรุนแรงของคลื่นที่กระทบฝั่งถือเป็นวิธีป้องกัน การกัดเซาะโดยเลียนแบบธรรมชาติซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างความมั่นคงแข็งแรงให้กับชายฝั่ง การปักไม้ไผ่ลดกระแส ความแรงของคลื่นและทาให้เกิดตะกอนดินเพิ่มขึ้นและการปลูกหญ้าหรือต้นไม้ขนาดเล็กชนิดที่มีรากยาวให้ช่วยยึดเกาะพื้น ทรายให้แน่นขึ้นหรืออาจเสริมขนาดสันทรายริมชายฝั่งให้กว้างขึ้น รวมทั้งการควบคุมสิ่งปลูกสร้างไม่ให้ชิดขอบชายฝั่งทะเล มากเกินไป 2) วิธีการทางวิศวกรรม โดยใช้โครงสร้างทางวิศวกรรมดักตะกอนทรายและสลายพลังงานคลื่นหรือสร้างหาด ทรายเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและรักษาสภาพชายฝั่ง โดยใช้หลักการทางวิชาการที่มีการศึกษาวิเคราะห์ครอบคลุมทุกมิติ เช่น เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) หรือแนวกันคลื่นนอกชายฝั่ง ( Offshore breakwater) กาแพงกันตลิ่ง (Revetment) รอดัก ทราย (Groin) ไส้กรอกทราย (Sand sausage) การเติมทราย (Sand nourishment) หรือการสร้างเนินทราย (Dune nourishment) และ 3) การใช้วิธีผสมผสาน โดยใช้ทั้งวิธีทางธรรมชาติและทางวิศวกรรมร่วมกัน เช่น การดาเนินการป้องกัน การกัดเซาะชายฝั่งของ ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โดยการปักไม้ไผ่รวกเป็นกาแพงลดความรุนแรงของคลื่น เมื่อ มีการตกตะกอนและทับถมมากขึ้นจึงปลูกไม้ชายเลนไว้หลังแนวปักไม้ไผ่ เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าชายเลนตามธรรมชาติ ซึ่งพบว่าไม้ ชายเลนมีการเจริญเติบโตได้ดี 5. สรุป การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศที่กาลังดาเนินอยู่ในปัจจุบันได้ส่งผลกระทบในหลายมิติโดยเฉพาะด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งหนึ่งในผลกระทบที่สาคัญจากภาวะโลกร้อนต่อประเทศไทยและ พื้นที่ภาคกลางคือปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งซึ่งถือได้ว่าเป็นปัญหาสาคัญระดับชาติ เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นที่ชายฝั่งทะเล ทั้งสิ้น 3,148 กิโลเมตร ตลอดแนว 23 จังหวัด มีประชากรอาศัยอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลประมาณ 12 ล้านคน และพบปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งตลอดแนวทั้ง 23 จังหวัด โดยมีระยะทางชายฝั่งที่ถูกกัดเซาะทั้งสิ้นยาว 830.07กิโลเมตร แม้ว่าได้มีการ จัดทายุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เมื่อปี 2550 แต่ยังพบปัญหาในการแปลงแผน ไปสู่การปฏิบัติหลายประการโดยเฉพาะปัญหาด้านค่อนข้างขาดการประสานงานและการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ รับผิดชอบในส่วนกลางและหน่วยงานส่วนท้องถิ่น ขาดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการแก้ไขปัญหา ตลอดทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนขาดองค์ความรู้ทางวิชาการในการบรรเทาและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ดังนั้นเพื่อ ส่งเสริมให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลยังคงมีบทบาทสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศจึงควรจัดทาแผนแม่บทเพื่อบรรเทาและแก้ไข ปัญหาการกัดเซาะเชิงพื้นที่ ระดับจังหวัดที่มุ่งเน้นการบูรณาการการดาเนินงานและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคส่วน รวมทั้งการสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการการกัดเซาะชายฝั่งแก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อ นาไปสู่เป้าหมายการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลอย่างสมดุลตลอดทั้งรักษาฐานรายได้และอาชีพให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน เอกสารอ้างอิง สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ค้นหาจาก http://www.mkh.in.th/index.php/2010- 03-22-18-05-34/2010-03-26-07-58-17 เข้าถึงเมื่อวันที่28 มิถุนายน 2556 แผ่นดินที่หายไป ค้นหาจาก http://www.saveoursea.net/boardsmf/index.php?topic=718.20;wap2 เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ปัญหาที่เกิดกับชายฝั่งทะเลของประเทศไทยค้นหาจาก http://www.md.go.th/interest/coast.php เข้าถึงเมื่อ 28 มิถุนายน 2556 ยุทธศาสตร์การจัดการป้องกันและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ค้นหาจาก http://www.dmcr.go.th/elibrary/elibraly/book_file/Book20110208142503.pdf เข้าถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2556 ผลกระทบหลักของภาวะโลกร้อนค้นหาจาก http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=131&cno=2757 27 มิถุนายน 2556เข้าถึงเมื่อ 4 กรกฎาคม 2556 สภาวะโลกร้อน (Global Warming) ค้นหาจาก http://www.dol.go.th/sms/interesting.htm 27 มิถุนายน 2556เข้าถึง เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2556