SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 88
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object]
เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใช้วิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุข   แบ่งเป็น   2  ประเภท   คือ   เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์   และเครื่องมือทางสังคมศาสตร์   เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์   1.  เครื่องมือทางกายภาพ   (Physical Instrument)  2.  เครื่องมือทางเคมี   (Chemical Instrument)  3.  เครื่องมือทางชีวภาพ   (Biological Instrument)
เครื่องมือทางสังคมศาสตร์ 1.  แบบสอบถาม   (Questionnaire)  2.  แบบสัมภาษณ์   (Interview)  3.  แบบสังเกต   (Observation)  4.  แบบตรวจสอบรายการ   (Check Lists)  5.  แบบวัดทัศนคติ   (Attitude Scale)  6.  แบบทดสอบ   (Test)  7.  มาตราวัด   (Rating Scale)
1.  แบบสอบถาม   (Questionnaire)   ชุดของคำถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อนำไปให้ผู้ให้ข้อมูลตอบด้วยตนเอง   โดยอาจจะนำไปส่งด้วยตนเอง   หรือส่งทางไปรษณีย์   และ   ชุดของคำถามนี้จะครอบคลุมถึงเรื่องต่าง   ๆ   ที่ผู้วิจัยต้องการทราบ   2.   แบบสัมภาษณ์   (Interview)  ชุดของคำถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อนำไปใช้เป็นแนวทาง   (Interview   Guideline)   เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์จากกลุ่มเป้าหมาย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
5.  แบบวัดทัศนคติ   (Attitude Scale)  เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อวัดความรู้สึกความคิดเห็นของ   ตัวอย่างกลุ่มเป้าหมายวิจัยต่อ   เรื่อง   หรือสิ่งที่ต้องการศึกษา   6.   แบบทดสอบ   (Test)  เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่ง   ที่มักใช้วัด   ความรู้   ความเข้าใจ   ในเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัยนั้น   ๆ
7.   มาตรวัด   (Rating Scale) มาตราวัดเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดตัวแปร   ซึ่งอาจจะเป็นพฤติกรรมหรือคุณลักษณะบางอย่างของแต่ละบุคคลที่กำหนดไว้   เช่น   การวัดการบริการของสถานีอนามัยว่ามีคุณภาพมากน้อยเพียงใด   ก็อาจจะแบ่งเป็นหัวข้อแต่ละด้าน   น้อยที่สุด   น้อย   ปานกลาง   มาก     มากที่สุด   1    2  3  4  5
คุณภาพของเครื่องมือที่ควรตรวจสอบ   1.  ความตรง   (Validity)  2.  ความเที่ยง   (Reliability)  3.  ความยากง่าย   (Difficulty)  4.  การมีอำนาจจำแนก   (Discrimination Power) 5.  ความเป็นปรนัย   (Objectivity)
1.  ความตรง   (Validity)   หมายถึง   วัดตัวแปรได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย   วัดได้ครอบคลุมทุกตัวแปร   ครบถ้วนตามเนื้อหาที่ต้องการให้วัด   และได้วัดถูกต้องตรงตามความเป็นจริง   1.1  ตรงตามเนื้อหา   (Content Validity)   -  ให้ผู้เชี่ยวชาญ   หรือชำนาญการในเรื่องนั้น   ๆ   ช่วยพิจารณา   -  วิเคราะห์เชิงเหตุผล   โดยใช้ทฤษฎีหรือความรู้ทางวิชาการเป็นเกณฑ์วัดว่าเครื่องมือที่ออกแบบนี้ครอบคลุมเนื้อหาครบทุกประเด็นที่ต้องการจะวัดหรือไม่ 1.2  ตรงตามโครงสร้าง  (Construct Validity)   พิจารณาดูว่าเครื่องมือนั้นมีรูปแบบ   หรือ   โครงสร้างที่ควรจะเป็นตามทฤษฎีหรือไม่
2.  ความเที่ยง   (Reliability)   หมายถึง   เครื่องมือที่ให้ผลการวัด สม่ำเสมอ แน่นอน คงที่  ให้ผลการวัดที่ใกล้เคียงกันไม่ว่าจะนำไปวัดกี่ครั้งก็ตาม การทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือ 2.1  วิธีทดสอบซ้ำ   (Test-Retest Method)  ใช้เครื่องมือชุดเดียวทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง  2  ครั้งขึ้นไปในเวลาต่างกัน โดยการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์   แบบเพียร์สัน   (Pearson Product Moment Correlation  Coefficient) 2.2  การทดสอบโดยวิธีแบ่งครึ่ง   (Split-Half Method)  เครื่องมือแบ่งครึ่งเป็น  2  ส่วน ( ข้อคู่ และข้อคี่ )  เนื้อหาทั้ง  2  ส่วนต้องมลักษณะคู่ขนานกันในสิ่งที่ถาม ความยากง่าย รูปแบบคำถาม
2.3  การทดสอบโดยวิธีของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน   (Kuder-Richardson) ใช้เครื่องมือชุดเดียวทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างครั้งเดียว ใช้สำหรับข้อคำถามที่มีคำตอบได้เพียง  2  อย่าง   (   Dichotomous)   เช่น   ตอบถูก  = 1  ตอบผิด   =  2 R tt  =  ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับ n  =  จำนวนข้อ   p  =   สัดส่วนของคนที่ตอบถูก  q  =  สัดส่วนของคนที่ตอบผิด  (1-p)   S t 2  =  ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ สูตร   KR 21
2.4  การทดสอบโดยวิธีครอนบาซ   แอลฟา   (CRONBACH'S ALPHA COEFFICIENT)     =  ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับ n  =  จำนวนข้อ   S i 2  =  ความแปรปรวนของคะแนนในแต่ละข้อ S t 2  =  ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ 
3.   ความยากง่าย   (Difficulty)  เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่ดี   จะต้องมีความยากง่ายพอเหมาะกับผู้ตอบโดยเฉพาะเครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบที่วัดผลออกมาเป็นคะแนน   4.  อำนาจจำแนก   (Discrimination Power)   เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องมีอำนาจในการจำแนกสิ่งที่ต้องการวัดได้ออกเป็นกลุ่ม   เป็นประเภทได้อย่างชัดเจน 5.  ความเป็นปรนัย   (Objectivity)    เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องมีความเป็นปรนัยสูง   5.1  ความถูกต้องทางวิชาการ   5.2  การให้คะแนนจะต้องมีเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่แน่นอน   5.3  ภาษา   ภาษาที่ใช้จะต้องชัดเจน   ให้ความหมายได้ตรงกันเสมอ
ระดับของการวัด   ,[object Object],[object Object]
ระดับของการวัด ,[object Object],[object Object]
ระดับของการวัด ,[object Object],[object Object]
ระดับของการวัด ,[object Object],[object Object]
ระดับการวัด ลักษณะ วิธีใช้ สถิติ นามบัญญัติ หรือ  Nominal บอกความแตกต่างของแต่ละกลุ่ม ในแต่ละกลุ่มใช้ตัวเลขแทนค่า ร้อยละ ฐานนิยม สถิติที่ไม่ใช่พารามิเตอร์ เรียงอันดับหรือ  Ordinal เรียงลำดับความมากน้อยระหว่างกลุ่ม ใช้ตัวเลขกำหนดอันดับความมากน้อย มัธยฐาน เปอร์เซนต์ไทล์สถิติที่ไม่ใช่พารามิเตอร์ อันตรภาค หรือ  Interval บอกปริมาณความแตกต่างระหว่างกลุ่ม สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างค่าที่วัด ค่าเฉลี่ย ค่าแปรปรวน  และ สถิติพารามิเตอร์ อัตราส่วน หรือ  Ratio บอกขนาดหรือจำนวนที่แน่นอนของการวัด ใช้วัดข้อมูลเกี่ยวกับเงินเดือน รายได้ ต้นทุนรายจ่าย หรือความสูง ค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน และ สถิติพารามิเตอร์
หลักการสร้างแบบสอบถาม  ,[object Object],[object Object]
หลักการสร้างแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม   ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object]
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object]
ประเภทของแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object]
ประเภทของแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object]
ประเภทคำถามในแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประเภทคำถามในแบบสอบถาม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เครื่องมือประเมินความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการสร้างข้อคำถามหรือข้อความ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวทางการสร้างคำตอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวอย่าง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Beliefs, Attitudes, Values, Personality
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เครื่องมือประเมินเจตคติ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ข้อความ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง ผู้ป่วยโรคเอดส์เป็นบุคคลที่ควรได้รับความเห็นใจ
แนวทางการสร้าวมาตรวัดเจตคติของลิเคอร์ท ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แบบสำรวจความคิดเห็นหรือเจตคติ ,[object Object],[object Object],[object Object]
เครื่องมือประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือสำหรับการวิจัย   ,[object Object],[object Object],[object Object]
เครื่องมือการวิจัยที่ดี   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสอดคล้องหรือความเหมาะสมของผลการวัดกับเนื้อเรื่อง หรือเกณฑ์ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับลักษณะที่มุ่งวัด จำแนกเป็น  4  ประเภท   : ความตรง  (Validity)    ความตรงตามเนื้อหา  (Content Validity)  ความสามารถในการวัดกลุ่มเนื้อหาที่ต้องการจะวัดได้ครอบคลุมและเป็นตัวแทนของสิ่งที่ต้องการวัด เช่น วัดความสามารถในการท่องศัพท์ วัดทักษะด้านต่าง ๆ
การหาความตรงเชิงเนื้อหา ทำได้โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง  (Index of Item-Objective Congruence:  IOC  )   โดยผู้เชี่ยวชาญ R =  ผลรวมคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ N =  จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ค่า  IOC    0.5 IOC  ที่เหมาะสม =0.5  ขึ้นไป
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัยโดยใช้สถิติ ,[object Object],[object Object],[object Object]
การหาอัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหา ,[object Object],[object Object],[object Object]
อัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหาต่ำสุดที่ผ่านเกณฑ์ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า CVR   ต่ำสุด จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า CVR   ต่ำสุด จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า CVR  ต่ำสุด 5 .99 11 .59 25 .37 6 .99 12 .56 30 .33 7 .75 13 .54 35 .31 8 .78 14 .51 40 .29 9 .78 15 .49 10 .62 20 .42
ความตรง  (Validity)  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความตรง  (Validity)     ความตรงตามสภาพ  ( Concurrent Validity) :  ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามสภาพของสิ่งนั้น เช่น ผู้ที่เรียนเก่งที่สุดต้องทำแบบทดสอบได้คะแนนสูงสุด การหาความตรงตามสภาพ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นได้ในสภาพปัจจุบัน
ความตรง  (Validity)     ความตรงเชิงพยากรณ์  (Predictive Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามลักษณะของสิ่งนั้นที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การหาความตรงเชิงพยากรณ์  การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นที่จะเกิดในอนาคต
ความเชื่อมั่น  (Reliability)  การทดสอบซ้ำ  Test-Retest Reliability ความคงเส้นคงวาของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาที่ต่างกันโดยวิธีสอบซ้ำด้วยแบบทดสอบเดิม   การหาค่าความเชื่อมั่น :  การทดสอบซ้ำ ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือเดียวกัน โดยทำการวัดสองครั้งในเวลาที่ต่างกัน
ความเชื่อมั่น  (Reliability)  การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน  ( Equivalent-Forms Reliability)   ความสอดคล้องกันของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาเดียวกันโดยใช้แบบทดสอบที่สมมูลกัน การหาค่าความเชื่อมั่น :  การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน  ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือ  2  ฉบับที่ทัดเทียมกัน
ความเชื่อมั่น  (Reliability)  การทดสอบแบบการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง   (Split-Half Reliability ) เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการหาความคงที่ภายใน โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวและสอบครั้งเดียวแต่แบ่งข้อสอบเป็น  2  ส่วน คือ ข้อคู่ และข้อคี่ การหาค่าความเชื่อมั่น :  การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากการแบ่งครึ่งข้อสอบที่สมมูลกันโดยใช้สูตร  (Spearman Brown)
ความเชื่อมั่น  (Reliability)  การทดสอบโดยการหาความคงที่ภายใน   (Kuder-Richardson Reliability) เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ การหาค่าความเชื่อมั่น :   การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ  ( ให้คะแนนแบบ  0-1)  และคะแนนรวมใช้สูตร  Kuder-Richardson (KR-20, KR-21)
ความเชื่อมั่น  (Reliability)  การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า   (Alpha Coefficient Reliability)   เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่  ( คะแนนตั้งแต่  0-...) การหาค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามทั้งฉบับ การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรวมทั้ง ฉบับ โดยใช้สูตรคำนวณสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ( Cronbach  Alpha Coefficient Reliability  )
ความยากง่าย  ( Difficulty )  ระดับความยากง่ายของข้อสอบ  หากผู้เรียนทำได้มาก  แสดงว่าง่าย  หากผู้เรียนทำได้น้อย แสดงว่ายาก  ค่า  P  ที่ใช้ได้ก็คือ  .20 - .80  ค่า  P  ที่เหมาะสม คือ  .50  สูตรที่ใช้คือ P =  ความ ยากง่าย  R =  จำนวนผู้เรียนที่ตอบคำถามข้อนั้นถูกต้อง  N =  จำนวนผู้เรียนทั้งหมด
การหาค่าอำนาจจำแนก การตรวจให้คะแนน นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา  25%   จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก  25% จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตร   r  หรือ  D R u  =  จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มเก่ง  R L  =  จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มอ่อน  N  =  จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
การหาค่าอำนาจจำแนก การใช้ตารางสำเร็จรูปของจุงเตฟาน นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา  27 %   จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก  27% จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตรการใช้สัดส่วน จากนั้นเปิดตารางสำเร็จรูปเพื่อหาค่าอำนาจจำแนก
การหาค่าอำนาจจำแนก การหาค่าสหสัมพันธ์  Point-Biserial Correlation  คำตอบถูกเป็น  1  และผิดเป็น  0  แล้วนำมาแทนค่าในสูตร =  ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้  =  ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้  =  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  =  สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้  =  สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ S t p q
ความสามารถของแบบทดสอบ ในการจำแนกกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น เก่ง - อ่อน เห็นด้วย - ไม่เห็นด้วย เขียนแทนด้วย  D  มีค่าระหว่าง  -1.00  ถึง  +1.00  มีความหมายดังนี้  :  D > .40  :  ดีมาก  D > .30 - .39 : ดี  D > .20 - .29 : พอใช้ได้  D < .19  : ยังต้องปรับปรุง  D  ติดลบ  : ใช้ไม่ได้ ต้องตัดทิ้ง ค่าอำนาจจำแนก  (Discrimination)
สรุปคุณภาพ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การแปลความหมายของความเที่ยง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเพิ่มความเที่ยง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเก็บรวบรวมข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเก็บข้อมูล   ( DATA COLLECTION )  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรวบรวมข้อมูล  ( DATA COMPILATION ) ,[object Object]
การจำแนกข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อแตกต่างของการจำแนกข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อมูลปฐมภูมิ  ( PRIMARY DATA ) ,[object Object],[object Object]
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อมูลทุติยภูมิ  ( SECONDARY DATA ) ,[object Object],[object Object]
ข้อมูลทุติยภูมิ  ( SECONDARY DATA ) ,[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อมูลเชิงปริมาณ  ( QUANTITATIVE DATA ) ,[object Object],[object Object]
ข้อมูลเชิงปริมาณ  ( QUANTITATIVE DATA ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ข้อมูลเชิงคุณภาพ  ( QUALITATIVE DATA ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การจำแนกการวัดระดับตัวแปรตามข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object]
เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
   กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยต้องเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมกับลักษณะของตัวแปร   และจุดประสงค์ของการวิจัย   สามารถแบ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลได้   6  วิธี   ดังต่อไปนี้    การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ทดสอบ    การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์      การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม    การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต      การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทดลอง    การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการนับและการวัด
   การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์   การสัมภาษณ์เป็นการเผชิญหน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์   และผู้ถูกสัมภาษณ์   บุคลิกของผู้สัมภาษณ์และบรรยากาศของการสัมภาษณ์จึงมีผลอย่างยิ่งต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จะได้รับ การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์อาจแบ่งได้เป็น   2  ลักษณะ   ได้แก่      การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง   (Structured interview)  เป็นการสัมภาษณ์ที่กำหนดคำถามการสัมภาษณ์ไว้อย่างแน่นอนตายตัว   มีข้อดีคือจะได้ประเด็นที่ต้องการตามข้อคำถามต่าง   ๆ   ครบถ้วน   ในรูปแบบเดียวกัน   จากผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคน   ทำให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ข้อมูล   แต่ก็มีข้อจำกัดตรงการที่ได้ข้อมูลภายในกรอบเท่าที่มีคำถามเท่านั้น
   การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์      การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง   (Un   -   sturctured interview)  เป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่ได้กำหนดคำถามการสัมภาษณ์ไว้แบบตายตัว   อาจกำหนดเฉพาะประเด็นหลัก   ๆ   ที่ต้องการผู้สัมภาษณ์จะต้องมีความชำนาญในการสัมภาษณ์พอสมควร   จึงจะยืดหยุ่นดัดแปลง   คำถามให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้  การสัมภาษณ์   แบบนี้มีข้อดีตรงที่ทำให้ได้ข้อมูลที่หลากหลายกว้างขวางลึกซึ้ง   หรือได้คำตอบในประเด็นใหม่   ๆ   ที่  ผู้วิจัยไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า   แต่ต้องอาศัยผู้สัมภาษณ์ที่มีทักษะสูง   และการวิเคราะห์ข้อมูลจะยุ่งยากกว่าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
   การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม   ต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อตกลงเบื้องต้น   3  ประการ   ได้แก่   -  ผู้ตอบมีความสามารถในการอ่าน   -  ผู้ตอบมีความรู้ในเรื่องที่ถาม   -  ผู้ตอบเต็มใจและตั้งใจที่จะตอบโดยความซื่อสัตย์   ผู้วิจัยต้องแน่ใจในข้อตกลงเบื้องต้นเหล่านี้ก่อน   จึงจะใช้แบบสอบถามได้   ข้อดีของแบบสอบถามคือ ประหยัด และสะดวกในการเก็บข้อมูลแต่มีปัญหาในเรื่องของอัตราการตอบกลับและความจริงใจในการตอบ   ซึ่งในเรื่องเทคนิคการเพิ่มอัตราการตอบกลับและความจริงใจในการตอบ   ก็ได้มีการศึกษากันอย่างกว้างขวาง
   การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตเหมาะสำหรับการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือพฤติกรรมที่ไม่อาจวัดได้โดยตรง   การสังเกตอาจแบ่งได้   2  ประเภท   ได้แก่   1.  การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม   เป็นการสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสถานการณ์ที่จะสังเกต   ซึ่งทำให้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งและเข้าใจความเป็นมาเป็นไปของสถานการณ์หรือพฤติกรรมได้   ทั้งนี้   ต้องอาศัยบุคลิกภาพและการวางตัวของนักวิจัยเป็นอย่างยิ่ง   ที่จะทำให้ผู้ถูกสังเกตไว้วางใจ   ยอมรับนักวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
   การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 2.  การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม  การสังเกตแบบนี้   ผู้สังเกตจะทำตนเป็นบุคคลภายนอก   โดยอาจให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ก็ได้   เช่น   การสังเกตการทำงานของเจ้าหน้าที่ที่ดิน   เป็นต้น   ซึ่งผู้สังเกตไม่ต้องเสียเวลาเข้าไปทำความคุ้นเคยกับผู้ถูกสังเกต   การสังเกตโดยวิธีนี้จะตอบคำถามว่า  “ อะไร ” “ อย่างไร ”  มากกว่าที่จะตอบว่า  “ เพราะเหตุใด ”

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
Tessellations
TessellationsTessellations
Tessellations
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 

Semelhante a การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล

งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzjaacllassic
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzjaacllassic
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzjaacllassic
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8honeylamon
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 

Semelhante a การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล (20)

นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzzการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ บทที่๘Zzz
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 

Mais de Ultraman Taro

อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3
อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3
อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3Ultraman Taro
 
นิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอน
นิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอนนิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอน
นิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอนUltraman Taro
 
นิเทศ ศิรินทร์และเพื่อน
นิเทศ ศิรินทร์และเพื่อนนิเทศ ศิรินทร์และเพื่อน
นิเทศ ศิรินทร์และเพื่อนUltraman Taro
 
โรงเรียนวัดนิมมานรดี
โรงเรียนวัดนิมมานรดีโรงเรียนวัดนิมมานรดี
โรงเรียนวัดนิมมานรดีUltraman Taro
 
โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม
โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐารามโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม
โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐารามUltraman Taro
 
อัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลี
อัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลีอัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลี
อัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลีUltraman Taro
 
About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2Ultraman Taro
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2Ultraman Taro
 
Quantitive Research 2
Quantitive Research 2Quantitive Research 2
Quantitive Research 2Ultraman Taro
 
Sources of Data in Public Health
Sources of Data in Public HealthSources of Data in Public Health
Sources of Data in Public HealthUltraman Taro
 
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุข
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุขการสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุข
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุขUltraman Taro
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyUltraman Taro
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 

Mais de Ultraman Taro (20)

A11
A11A11
A11
 
A1
A1A1
A1
 
อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3
อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3
อัลบั้มชุมชน นิเทศ วัดจันทร์ เขต1 ม3
 
นิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอน
นิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอนนิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอน
นิเทศ ชุมชนหน้าวัดโคนอน
 
นิเทศ ศิรินทร์และเพื่อน
นิเทศ ศิรินทร์และเพื่อนนิเทศ ศิรินทร์และเพื่อน
นิเทศ ศิรินทร์และเพื่อน
 
โรงเรียนวัดนิมมานรดี
โรงเรียนวัดนิมมานรดีโรงเรียนวัดนิมมานรดี
โรงเรียนวัดนิมมานรดี
 
โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม
โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐารามโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม
โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม
 
อัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลี
อัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลีอัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลี
อัลบั้มชุมชน โรงเรียนวัดชัยฉิมพลี
 
Al1
Al1Al1
Al1
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2
 
Functional Research
Functional ResearchFunctional Research
Functional Research
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2
 
Quantitive Research 2
Quantitive Research 2Quantitive Research 2
Quantitive Research 2
 
Sources of Data in Public Health
Sources of Data in Public HealthSources of Data in Public Health
Sources of Data in Public Health
 
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุข
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุขการสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุข
การสุ่มตัวอย่างในงานวิจัยสาธารณสุข
 
Introduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of EpidemiologyIntroduction and Role of Epidemiology
Introduction and Role of Epidemiology
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 

การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล

  • 1.
  • 2. เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใช้วิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุข แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และเครื่องมือทางสังคมศาสตร์ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ 1. เครื่องมือทางกายภาพ (Physical Instrument) 2. เครื่องมือทางเคมี (Chemical Instrument) 3. เครื่องมือทางชีวภาพ (Biological Instrument)
  • 3. เครื่องมือทางสังคมศาสตร์ 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) 2. แบบสัมภาษณ์ (Interview) 3. แบบสังเกต (Observation) 4. แบบตรวจสอบรายการ (Check Lists) 5. แบบวัดทัศนคติ (Attitude Scale) 6. แบบทดสอบ (Test) 7. มาตราวัด (Rating Scale)
  • 4. 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) ชุดของคำถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อนำไปให้ผู้ให้ข้อมูลตอบด้วยตนเอง โดยอาจจะนำไปส่งด้วยตนเอง หรือส่งทางไปรษณีย์ และ ชุดของคำถามนี้จะครอบคลุมถึงเรื่องต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการทราบ 2. แบบสัมภาษณ์ (Interview) ชุดของคำถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพื่อนำไปใช้เป็นแนวทาง (Interview Guideline) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์จากกลุ่มเป้าหมาย
  • 5.
  • 6. 5. แบบวัดทัศนคติ (Attitude Scale) เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อวัดความรู้สึกความคิดเห็นของ ตัวอย่างกลุ่มเป้าหมายวิจัยต่อ เรื่อง หรือสิ่งที่ต้องการศึกษา 6. แบบทดสอบ (Test) เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่ง ที่มักใช้วัด ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องที่กำลังศึกษาวิจัยนั้น ๆ
  • 7. 7. มาตรวัด (Rating Scale) มาตราวัดเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดตัวแปร ซึ่งอาจจะเป็นพฤติกรรมหรือคุณลักษณะบางอย่างของแต่ละบุคคลที่กำหนดไว้ เช่น การวัดการบริการของสถานีอนามัยว่ามีคุณภาพมากน้อยเพียงใด ก็อาจจะแบ่งเป็นหัวข้อแต่ละด้าน น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด 1 2 3 4 5
  • 8. คุณภาพของเครื่องมือที่ควรตรวจสอบ 1. ความตรง (Validity) 2. ความเที่ยง (Reliability) 3. ความยากง่าย (Difficulty) 4. การมีอำนาจจำแนก (Discrimination Power) 5. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
  • 9. 1. ความตรง (Validity) หมายถึง วัดตัวแปรได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย วัดได้ครอบคลุมทุกตัวแปร ครบถ้วนตามเนื้อหาที่ต้องการให้วัด และได้วัดถูกต้องตรงตามความเป็นจริง 1.1 ตรงตามเนื้อหา (Content Validity) - ให้ผู้เชี่ยวชาญ หรือชำนาญการในเรื่องนั้น ๆ ช่วยพิจารณา - วิเคราะห์เชิงเหตุผล โดยใช้ทฤษฎีหรือความรู้ทางวิชาการเป็นเกณฑ์วัดว่าเครื่องมือที่ออกแบบนี้ครอบคลุมเนื้อหาครบทุกประเด็นที่ต้องการจะวัดหรือไม่ 1.2 ตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) พิจารณาดูว่าเครื่องมือนั้นมีรูปแบบ หรือ โครงสร้างที่ควรจะเป็นตามทฤษฎีหรือไม่
  • 10. 2. ความเที่ยง (Reliability) หมายถึง เครื่องมือที่ให้ผลการวัด สม่ำเสมอ แน่นอน คงที่ ให้ผลการวัดที่ใกล้เคียงกันไม่ว่าจะนำไปวัดกี่ครั้งก็ตาม การทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือ 2.1 วิธีทดสอบซ้ำ (Test-Retest Method) ใช้เครื่องมือชุดเดียวทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง 2 ครั้งขึ้นไปในเวลาต่างกัน โดยการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) 2.2 การทดสอบโดยวิธีแบ่งครึ่ง (Split-Half Method) เครื่องมือแบ่งครึ่งเป็น 2 ส่วน ( ข้อคู่ และข้อคี่ ) เนื้อหาทั้ง 2 ส่วนต้องมลักษณะคู่ขนานกันในสิ่งที่ถาม ความยากง่าย รูปแบบคำถาม
  • 11. 2.3 การทดสอบโดยวิธีของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) ใช้เครื่องมือชุดเดียวทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างครั้งเดียว ใช้สำหรับข้อคำถามที่มีคำตอบได้เพียง 2 อย่าง ( Dichotomous) เช่น ตอบถูก = 1 ตอบผิด = 2 R tt = ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับ n = จำนวนข้อ p = สัดส่วนของคนที่ตอบถูก q = สัดส่วนของคนที่ตอบผิด (1-p) S t 2 = ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ สูตร KR 21
  • 12. 2.4 การทดสอบโดยวิธีครอนบาซ แอลฟา (CRONBACH'S ALPHA COEFFICIENT)  = ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทั้งฉบับ n = จำนวนข้อ S i 2 = ความแปรปรวนของคะแนนในแต่ละข้อ S t 2 = ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ 
  • 13. 3. ความยากง่าย (Difficulty) เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่ดี จะต้องมีความยากง่ายพอเหมาะกับผู้ตอบโดยเฉพาะเครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบที่วัดผลออกมาเป็นคะแนน 4. อำนาจจำแนก (Discrimination Power) เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องมีอำนาจในการจำแนกสิ่งที่ต้องการวัดได้ออกเป็นกลุ่ม เป็นประเภทได้อย่างชัดเจน 5. ความเป็นปรนัย (Objectivity) เครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องมีความเป็นปรนัยสูง 5.1 ความถูกต้องทางวิชาการ 5.2 การให้คะแนนจะต้องมีเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่แน่นอน 5.3 ภาษา ภาษาที่ใช้จะต้องชัดเจน ให้ความหมายได้ตรงกันเสมอ
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18. ระดับการวัด ลักษณะ วิธีใช้ สถิติ นามบัญญัติ หรือ Nominal บอกความแตกต่างของแต่ละกลุ่ม ในแต่ละกลุ่มใช้ตัวเลขแทนค่า ร้อยละ ฐานนิยม สถิติที่ไม่ใช่พารามิเตอร์ เรียงอันดับหรือ Ordinal เรียงลำดับความมากน้อยระหว่างกลุ่ม ใช้ตัวเลขกำหนดอันดับความมากน้อย มัธยฐาน เปอร์เซนต์ไทล์สถิติที่ไม่ใช่พารามิเตอร์ อันตรภาค หรือ Interval บอกปริมาณความแตกต่างระหว่างกลุ่ม สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างค่าที่วัด ค่าเฉลี่ย ค่าแปรปรวน และ สถิติพารามิเตอร์ อัตราส่วน หรือ Ratio บอกขนาดหรือจำนวนที่แน่นอนของการวัด ใช้วัดข้อมูลเกี่ยวกับเงินเดือน รายได้ ต้นทุนรายจ่าย หรือความสูง ค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน และ สถิติพารามิเตอร์
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45. ความสอดคล้องหรือความเหมาะสมของผลการวัดกับเนื้อเรื่อง หรือเกณฑ์ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับลักษณะที่มุ่งวัด จำแนกเป็น 4 ประเภท : ความตรง (Validity)  ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ความสามารถในการวัดกลุ่มเนื้อหาที่ต้องการจะวัดได้ครอบคลุมและเป็นตัวแทนของสิ่งที่ต้องการวัด เช่น วัดความสามารถในการท่องศัพท์ วัดทักษะด้านต่าง ๆ
  • 46. การหาความตรงเชิงเนื้อหา ทำได้โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence: IOC ) โดยผู้เชี่ยวชาญ R = ผลรวมคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ N = จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ค่า IOC  0.5 IOC ที่เหมาะสม =0.5 ขึ้นไป
  • 47.
  • 48.
  • 49. อัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหาต่ำสุดที่ผ่านเกณฑ์ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า CVR ต่ำสุด จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า CVR ต่ำสุด จำนวนผู้เชี่ยวชาญ ค่า CVR ต่ำสุด 5 .99 11 .59 25 .37 6 .99 12 .56 30 .33 7 .75 13 .54 35 .31 8 .78 14 .51 40 .29 9 .78 15 .49 10 .62 20 .42
  • 50.
  • 51. ความตรง (Validity)  ความตรงตามสภาพ ( Concurrent Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามสภาพของสิ่งนั้น เช่น ผู้ที่เรียนเก่งที่สุดต้องทำแบบทดสอบได้คะแนนสูงสุด การหาความตรงตามสภาพ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นได้ในสภาพปัจจุบัน
  • 52. ความตรง (Validity)  ความตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามลักษณะของสิ่งนั้นที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การหาความตรงเชิงพยากรณ์ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นที่จะเกิดในอนาคต
  • 53. ความเชื่อมั่น (Reliability) การทดสอบซ้ำ Test-Retest Reliability ความคงเส้นคงวาของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาที่ต่างกันโดยวิธีสอบซ้ำด้วยแบบทดสอบเดิม การหาค่าความเชื่อมั่น : การทดสอบซ้ำ ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือเดียวกัน โดยทำการวัดสองครั้งในเวลาที่ต่างกัน
  • 54. ความเชื่อมั่น (Reliability) การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน ( Equivalent-Forms Reliability) ความสอดคล้องกันของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาเดียวกันโดยใช้แบบทดสอบที่สมมูลกัน การหาค่าความเชื่อมั่น : การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือ 2 ฉบับที่ทัดเทียมกัน
  • 55. ความเชื่อมั่น (Reliability) การทดสอบแบบการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Split-Half Reliability ) เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการหาความคงที่ภายใน โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวและสอบครั้งเดียวแต่แบ่งข้อสอบเป็น 2 ส่วน คือ ข้อคู่ และข้อคี่ การหาค่าความเชื่อมั่น : การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากการแบ่งครึ่งข้อสอบที่สมมูลกันโดยใช้สูตร (Spearman Brown)
  • 56. ความเชื่อมั่น (Reliability) การทดสอบโดยการหาความคงที่ภายใน (Kuder-Richardson Reliability) เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ การหาค่าความเชื่อมั่น : การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ ( ให้คะแนนแบบ 0-1) และคะแนนรวมใช้สูตร Kuder-Richardson (KR-20, KR-21)
  • 57. ความเชื่อมั่น (Reliability) การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient Reliability) เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ ( คะแนนตั้งแต่ 0-...) การหาค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามทั้งฉบับ การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรวมทั้ง ฉบับ โดยใช้สูตรคำนวณสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ( Cronbach Alpha Coefficient Reliability )
  • 58. ความยากง่าย ( Difficulty ) ระดับความยากง่ายของข้อสอบ หากผู้เรียนทำได้มาก แสดงว่าง่าย หากผู้เรียนทำได้น้อย แสดงว่ายาก ค่า P ที่ใช้ได้ก็คือ .20 - .80 ค่า P ที่เหมาะสม คือ .50 สูตรที่ใช้คือ P = ความ ยากง่าย R = จำนวนผู้เรียนที่ตอบคำถามข้อนั้นถูกต้อง N = จำนวนผู้เรียนทั้งหมด
  • 59. การหาค่าอำนาจจำแนก การตรวจให้คะแนน นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา 25% จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก 25% จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตร r หรือ D R u = จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มเก่ง R L = จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มอ่อน N = จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
  • 60. การหาค่าอำนาจจำแนก การใช้ตารางสำเร็จรูปของจุงเตฟาน นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา 27 % จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก 27% จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตรการใช้สัดส่วน จากนั้นเปิดตารางสำเร็จรูปเพื่อหาค่าอำนาจจำแนก
  • 61. การหาค่าอำนาจจำแนก การหาค่าสหสัมพันธ์ Point-Biserial Correlation คำตอบถูกเป็น 1 และผิดเป็น 0 แล้วนำมาแทนค่าในสูตร = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้ = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้ = สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ S t p q
  • 62. ความสามารถของแบบทดสอบ ในการจำแนกกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น เก่ง - อ่อน เห็นด้วย - ไม่เห็นด้วย เขียนแทนด้วย D มีค่าระหว่าง -1.00 ถึง +1.00 มีความหมายดังนี้ : D > .40 : ดีมาก D > .30 - .39 : ดี D > .20 - .29 : พอใช้ได้ D < .19 : ยังต้องปรับปรุง D ติดลบ : ใช้ไม่ได้ ต้องตัดทิ้ง ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination)
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83. กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยต้องเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมกับลักษณะของตัวแปร และจุดประสงค์ของการวิจัย สามารถแบ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ 6 วิธี ดังต่อไปนี้  การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ทดสอบ  การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์  การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม  การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต  การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทดลอง  การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการนับและการวัด
  • 84. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์เป็นการเผชิญหน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์ และผู้ถูกสัมภาษณ์ บุคลิกของผู้สัมภาษณ์และบรรยากาศของการสัมภาษณ์จึงมีผลอย่างยิ่งต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จะได้รับ การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์อาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่  การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่กำหนดคำถามการสัมภาษณ์ไว้อย่างแน่นอนตายตัว มีข้อดีคือจะได้ประเด็นที่ต้องการตามข้อคำถามต่าง ๆ ครบถ้วน ในรูปแบบเดียวกัน จากผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคน ทำให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ก็มีข้อจำกัดตรงการที่ได้ข้อมูลภายในกรอบเท่าที่มีคำถามเท่านั้น
  • 85. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์  การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Un - sturctured interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่ได้กำหนดคำถามการสัมภาษณ์ไว้แบบตายตัว อาจกำหนดเฉพาะประเด็นหลัก ๆ ที่ต้องการผู้สัมภาษณ์จะต้องมีความชำนาญในการสัมภาษณ์พอสมควร จึงจะยืดหยุ่นดัดแปลง คำถามให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้ การสัมภาษณ์ แบบนี้มีข้อดีตรงที่ทำให้ได้ข้อมูลที่หลากหลายกว้างขวางลึกซึ้ง หรือได้คำตอบในประเด็นใหม่ ๆ ที่ ผู้วิจัยไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า แต่ต้องอาศัยผู้สัมภาษณ์ที่มีทักษะสูง และการวิเคราะห์ข้อมูลจะยุ่งยากกว่าข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
  • 86. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อตกลงเบื้องต้น 3 ประการ ได้แก่ - ผู้ตอบมีความสามารถในการอ่าน - ผู้ตอบมีความรู้ในเรื่องที่ถาม - ผู้ตอบเต็มใจและตั้งใจที่จะตอบโดยความซื่อสัตย์ ผู้วิจัยต้องแน่ใจในข้อตกลงเบื้องต้นเหล่านี้ก่อน จึงจะใช้แบบสอบถามได้ ข้อดีของแบบสอบถามคือ ประหยัด และสะดวกในการเก็บข้อมูลแต่มีปัญหาในเรื่องของอัตราการตอบกลับและความจริงใจในการตอบ ซึ่งในเรื่องเทคนิคการเพิ่มอัตราการตอบกลับและความจริงใจในการตอบ ก็ได้มีการศึกษากันอย่างกว้างขวาง
  • 87. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสังเกตเหมาะสำหรับการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือพฤติกรรมที่ไม่อาจวัดได้โดยตรง การสังเกตอาจแบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม เป็นการสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสถานการณ์ที่จะสังเกต ซึ่งทำให้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งและเข้าใจความเป็นมาเป็นไปของสถานการณ์หรือพฤติกรรมได้ ทั้งนี้ ต้องอาศัยบุคลิกภาพและการวางตัวของนักวิจัยเป็นอย่างยิ่ง ที่จะทำให้ผู้ถูกสังเกตไว้วางใจ ยอมรับนักวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
  • 88. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสังเกตแบบนี้ ผู้สังเกตจะทำตนเป็นบุคคลภายนอก โดยอาจให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ก็ได้ เช่น การสังเกตการทำงานของเจ้าหน้าที่ที่ดิน เป็นต้น ซึ่งผู้สังเกตไม่ต้องเสียเวลาเข้าไปทำความคุ้นเคยกับผู้ถูกสังเกต การสังเกตโดยวิธีนี้จะตอบคำถามว่า “ อะไร ” “ อย่างไร ” มากกว่าที่จะตอบว่า “ เพราะเหตุใด ”