SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 48
ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี  1
เนื้อหา ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี  1 *   ปฏิกิริยารีดอกซ์ *   การดุลสมการรีดอกซ์ *   เซลล์ไฟฟ้าเคมี *   เซลล์อิเล็กโทรไลต์
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 1.  ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายที่มีไอออนของโลหะ ที่ชิ้น  Zn  มี สารสีน้ำตาล แดงเกาะอยู่ เมื่อเคาะก็ร่วง และแท่งสังกะสี จะกร่อน ในสารละลาย CuSO 4   สีฟ้าเดิม จะจางลง  ถ้าทิ้ง ไว้นาน ๆ จะไม่มีสี CuSO 4 (aq) ZnSO 4 (aq) Cu(s) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่ชิ้น  Cu  และในสารละลาย ZnSO 4 รูปที่  1 รูปที่  2
ปฏิกิริยารีดอกซ์ บทสรุป 1.  เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายโลหะไอออนแล้ว เกิดปฏิกิริยา ได้ แสดงว่า … มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนกันได้โดย  ... 1.1  โลหะเป็นฝ่าย เสีย อิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน   ( เป็นตัว - รีดิวซ์ )  และจะกร่อนลงเรื่อย ๆ  1.2  โลหะไอออนในสารละลายจะเป็นฝ่าย รับ อิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยา รีดักชัน   ( เป็นตัวออกซิไดส์ )  1.3  เปรียบเทียบค่า  E 0   จะได้  E 0   ของโลหะไอออนมากกว่า  E 0 ของโลหะที่จุ่ม
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 2.  เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายโลหะไอออนแล้วไม่เกิดปฏิกิริยา แต่ถ้ากลับกันระหว่างโลหะทั้งสองนั้น  ( A  จุ่มใน  B 2+   เป็น B  จุ่มใน  A 2+ )  จะเกิดปฏิกิริยาได้ 3.  เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายของโลหะไอออนเดียวกัน  (A  ใน A 2+ )  จะไม่เกิดปฏิกิริยาอย่างแน่นอน 4.  นอกจากจุ่มโลหะลงในสารละลายของโลหะไอออนแล้วยังรวม ทั้งไอออนของสารละลายกรด  (H + )  ก็พิจารณาทำนองเดียวกัน
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 2.  ปฏิกิริยารีดอกซ์  :  ตัวออกซิไดส์  ตัวรีดิวซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน รับ  e - ให้  e - ลด เลขออกซิเดชัน เพิ่ม เลขออกซิเดชัน
ปฏิกิริยารีดอกซ์ ในปฏิกิริยารีดอกซ์  จะมีปฏิกิริยาย่อยเกิดขึ้น  2  ชนิดเสมอคือ 1.  ปฏิกิริยาออกซิเดชัน  (Oxidation  Reaction)   คือปฏิกิริยา ที่มีการให้อิเล็กตรอนสารที่เป็นตัว ให้ อิเล็กตรอน  เรียกว่า  ตัวรีดิวซ์ ผลของปฏิกิริยาออกซิเดชัน  ทำให้สารนั้นมีเลขออกซิเดชัน เพิ่มขึ้น ตัวอย่าง  :   Zn(s)  ฎ Zn 2+ (aq)  +  2e - 2.  ปฏิกิริยารีดักชัน  ( Reduction  Reaction)   คือปฏิกิริยาที่มี การรับอิเล็กตรอนสารที่เป็นตัว รับ อิเล็กตรอนเรียกว่า  ตัวออกซิไดส์ ผลของปฏิกิริยารีดักชัน  ทำให้สารนั้นมีเลขออกซิเดชัน ลดลง   ตัวอย่าง  :  Cu 2+ (aq)  +2e -   ฎ Cu(s)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 3.  การพิจารณา… ตัวออกซิไดส์  ตัวรีดิวซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน รับอิเล็กตรอน ถูกรีดิวซ์  (Reduced) ตัวออกซิไดส์  (Oxidizer) ให้อิเล็กตรอน ถูกออกซิไดส์  (Oxidized) ตัวรีดิวซ์  (Reducer)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 4.  การพิจารณา… ว่าปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ  เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ 1.  ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระเกี่ยวข้องอยู่ด้วย  2.  ปฏิกิริยาที่มีการสันดาปทุกชนิด 3.  ปฏิกิริยาที่มีธาตุโลหะแทรนซิชันเป็นองค์ประกอบ ของสารในปฏิกิริยา  4.  ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้า  แบตเตอรี่ 5.  ปฏิกิริยาในขบวนการเมตาบอลิซึม  (Metabolism)  ในร่างกาย 6.  เกิดในขบวนการถลุงโลหะต่าง ๆ เช่น  การถลุงเหล็ก ตัวอย่างปฏิกิริยาที่มีโอกาสเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์  มีดังต่อไปนี้
ปฏิกิริยารีดอกซ์ 7.  ปฏิกิริยาที่เกิดสนิม  หรือการสึกกร่อนของโลหะ 8.  ไม่ใช่ปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส  เกลือกับเกลือ  หรือกรดกับเกลือ ปฏิกิริยานอน - รีดอกซ์ที่ควรสังเกตได้ง่าย ๆ  เช่น  ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ,  ปฏิกิริยาระหว่าง เกลือกับเกลือ ,  ปฏิกิริยาระหว่างเกลือกับกรด  เป็นต้น ซึ่งจะมีชื่อเฉพาะสำหรับปฏิกิริยานั้น ๆ เช่น  ปฏิกิริยาสะเทิน , ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ,  ปฏิกิริยาสะพอนนิฟิเคชัน ,  ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส  เป็นต้น
การดุลสมการรีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน หลัก  1.  หาเลขออกซิเดชันของสารที่เพิ่มและลด 2.  เอาเลขออกซิเดชันที่ เพิ่ม ไว้หน้าสารที่มี เลขออกซิเดชัน ลด  และเอาเลขออกซิเดชันที่ลด ไว้หน้าสารที่เพิ่ม  ( คูณไขว้ ) 3.  จากข้อ  2.  ถ้าทำอย่างต่ำได้ให้ทำด้วย 4.  พิจารณาจำนวนอะตอมและประจุรวมทางขวา ให้เท่ากับทางซ้าย
การดุลสมการรีดอกซ์ ตัวอย่างการดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน NH 3  +  O 2   ฎ NO  +  H 2 O NH 3 (g)   +  O 2 (g)  ฎ NO(g)  +  H 2 O 3 0 +2-2 เพิ่ม  5 ลด  2  ต่อ  1  อะตอม  ( แต่  O  มี  2  อะตอม  เอา  2  คูณ ) ลด  2  x 2  =  4 4 5 NH 3  +  5O 2   ฎ 4 NO  +  6H 2 O 4NH 3
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) จากเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ พลังงานเคมี และ พลังงานไฟฟ้า จึงแบ่งชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนรูปพลังงานทั้งสองชนิดนี้ ออกเป็น  2  ประเภท  คือ 1.  อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาน เคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เรียกว่า  เซลล์กัลวานิก 2.  อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเคมี เรียกว่า  เซลล์อิเล็กโทรไลต์ เซลล์ไฟฟ้าเคมีอย่างง่าย   ซึ่งเปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็น กระแสไฟฟ้า  เรียกว่า  เซลล์กัลวานิก   หรือ  เซลล์วอลตาอิก
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 1.  เซลล์กัลวานิก 1.  เซลล์ไฟฟ้าเคมี   จะประกอบด้วย  2  ครึ่งเซลล์ที่แตกต่างกัน นำมาต่อกันให้ครบวงจร  แสดงได้ดังรูป  Zn 2+ Cu 2+ Zn(s) / Zn 2+ (aq) Cu(s) / Cu 2+ (aq) สะพานไอออน Zn Cu แอโนด ( ขั้วลบ ) แคโทด ( ขั้วบวก ) รูปที่  3
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 2.  ในครึ่งเซลล์หนึ่งประกอบด้วยแท่งโลหะ   ซึ่งทำหน้าที่เป็น ขั้วไฟฟ้า  (electrode)  จุ่มอยู่ในสารละลายที่มีไอออนของโลหะที่ เป็นขั้วไฟฟ้านั้นจุ่มอยู่ 3.  ครึ่งเซลล์ที่เป็นขั้วไฟฟ้าเฉื่อย   เช่น  โลหะพลาตินัม  ( Pt)  และแกรไฟต์  (C)  ขั้วไฟฟ้าชนิดนี้ไม่มีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใด ๆ ในเซลล์  ไม่มีการผุกร่อน  เพียงแต่ช่วย ทำหน้าที่เป็นตัวรับ - ถ่ายให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านให้ครบวงจรเท่านั้น 4.  ครึ่งเซลล์ที่มีขั้วไฟฟ้าเป็นก๊าซ  ในกรณีนี้ต้องอาศัยขั้ว ไฟฟ้าเฉื่อยเพื่อเป็นตัวนำ  โดยจุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์  โดยมี หลักว่า  เมื่อใช้ก๊าซใดผ่านเข้าไปในขั้วไฟฟ้านั้นสารละลายอิเล็ก - โทรไลต์ที่ใช้ต้องเป็นสารละลายที่มีไอออนของก๊าซนั้น
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) การต่อครึ่งเซลล์สองครึ่งเซลล์เข้าด้วยกัน 1.  ใช้ลวดตัวนำต่อจากโลหะที่เป็นขั้วไฟฟ้า ของครึ่งเซลล์หนึ่งไปยังโลหะที่เป็นขั้วไฟฟ้า ของอีกครึ่งเซลล์หนึ่ง 2.  ใช้สะพานไอออน  (Salt  bridge)  เชื่อมต่อ ระหว่างสารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์  เพื่อให้ ไอออนเคลื่อนที่ถ่ายเทระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสองได้
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 2.  ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมี :  ปฏิกิริยาแต่ละครึ่งเซลล์ ,  การพิจารณาขั้วไฟฟ้า , การพิจารณาการไหลของอิเล็กตรอน มีหลักการพิจารณาตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.  เมื่อเอาแต่ละครึ่งเซลล์มาต่อให้ครบวงจร  ก็จะเกิดเป็นเซลล์ไฟฟ้า อย่างง่ายขึ้น  แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า 2.  ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือปฏิกิริยารีดอกซ์  โดยแต่ละครึ่งเซลล์เกิด ปฏิกิริยาดังนี้ ครึ่งเซลล์ที่ให้อิเล็กตรอน  :  เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เข็มจะ เบนออก จากขั้วนี้ ครึ่งเซลล์ที่รับอิเล็กตรอน  :  เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เข็มจะ เบนเข้า ขั้วนี้
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 3.  ดังนั้น  ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี  จะต้องเกิดปฏิกิริยาทั้งสองครึ่งเซลล์ โดยเกิดปฏิกิริยาให้ - รับอิเล็กตรอนกัน  จึงทำให้มีอิเล็กตรอนไหล  เกิด กระแสไฟฟ้าขึ้น  โดยในเรื่องทางไฟฟ้าให้ถือว่า  ทิศทางของ กระแส นั้น ไหล ตรงข้าม กับทิศทางของ อิเล็กตรอน 4.  อิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจากครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน  จะ เคลื่อนที่ออก วงจรภายนอกตามตัวนำ เข้าไปยังครึ่งเซลล์รีดักชัน   ( สังเกตได้ตาม เข็มเครื่องโวลต์มิเตอร์ที่เบนไปตามทิศการไหลของอิเล็กตรอน )
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 3.  การพิจารณาขั้วไฟฟ้า  ขั้วแอโนด  ( ขั้วลบ ), ขั้วแคโทด  ( ขั้วบวก )  และชนิดของปฏิกิริยา 1.  ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน   เรียกว่า  ขั้ว แอโนด   ซึ่งมีอิเล็กตรอนไหลออกมา  จึงเรียกว่า  ขั้วลบ   ( ขั้วที่มีอิเล็กตรอนเกิดขึ้น ) 2.  ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยา รีดักชัน   เรียกว่า ขั้ว แคโทด   ซึ่งเป็นขั้วที่ รับ อิเล็กตรอน  จึงเรียกว่า ขั้วบวก   ( ขั้วที่อิเล็กตรอนวิ่งเข้าหา )
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) Zn 2+ Cu 2+ Zn(s) / Zn 2+ (aq) Cu(s) / Cu 2+ (aq) สะพานไอออน Zn Cu แอโนด ( ขั้วลบ ) แคโทด ( ขั้วบวก ) รูปที่  4 รูปแสดงเซลล์ไฟฟ้าเคมีอย่างง่าย  และสรุปปฏิกิริยา และขั้วที่เกิดขึ้นได้ดังนี้
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) จากรูปที่  4  สามารถอธิบายได้ดังนี้ ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน  ครึ่งเซลล์รีดักชัน ออกซิเดชัน   :  Zn(s)  ฎ Zn 2+ (aq)  +  2e -  รีดักชัน   :  Cu 2+ (aq)  +  2e -   ฎ Cu(s) ขั้วแอโนด  ( เพราะเกิดออกซิเดชัน )  ขั้วแคโทด   ( เพราะเกิดรีดักชัน ) ขั้วลบ  ( เพราะอิเล็กตรอนเกิดขึ้น )  ขั้วบวก   ( เพราะรับอิเล็กตรอน )  ปฏิกิริยาของเซลล์นี้   :  Zn(s)  +  Cu 2+ (aq)  ฎ Zn 2+ (aq)  +  Cu(s)  ครึ่งเซลล์รีดักชัน ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 4.  สะพานไอออน  (Salt  bridge)  และการรักษาสมดุล ระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ สะพานไอออน เป็นสารละลายอิ่มตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อม ระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสองเข้าด้วยกัน  ทำหน้าที่รักษาสมดุลระหว่าง ไอออนบวกและไอออนลบของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในแต่ละครึ่ง เซลล์  สะพานไอออนเมื่อใช้นาน ๆ จะทำให้ ปริมาณไอออนลดลง ดังนั้นเมื่อต้องการใช้สะพานไอออนควรจุ่มสารละลายอิ่มตัวใหม่ ๆ  สำหรับที่ใช้สารละลายอิ่มตัวก็เพื่อต้องการให้มีปริมาณไอออนอยู่ มากจะได้ใช้ได้นาน สารละลายที่ใช้ทำสะพานไอออนได้  เช่น  NH 4 NO 3 ,  KCl,  KNO 3
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 5.  เซลล์ความเข้มข้น เซลล์ความเข้มข้น  (Concentration  cell)   เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี อีกชนิดหนึ่ง  ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้า ชนิดเดียวกัน  2  ขั้ว  และสาร ละลายอิเล็กโทรไลต์ชนิดเดียวกันแต่ ความเข้มข้นไม่เท่ากัน หลักของเซลล์ความเข้มข้น  สรุปได้ดังนี้ 1.  แท่งอิเล็กโทรด  ( ขั้ว )  ทั้งสองเหมือนกัน 2.  สารละลายอิเล็กโทรไลต์อย่างเดียวกัน  แต่ ความเข้มข้น ของสาร ละลายต่างกัน 3.  อิเล็กตรอนจะไหลออกจากครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าไปสู่ ภายนอก  เข้าสู่ครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นมากกว่า
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 5.  ครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นของสารละลาย เจือจาง   เกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน  เป็นขั้ว แอโนด   และครึ่งเซลล์ที่ เข้มข้นกว่า   จะเกิดปฏิกิริยา รีดักชัน   เป็นขั้ว แคโทด 6.  ตัวอย่างเขียนแผนภาพของเซลล์ได้ดังนี้ M(s)/M +  ( จาง ) // M +  ( ข้น )/ M(s) Zn(s)/Zn 2+  (0.01M) // Zn 2+  (0.1M)/Zn(s)
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 6.  หลักการเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี 1.  เขียนครึ่งเซลล์โดยใช้  /  คั่นระหว่างขั้วไฟฟ้ากับไอออนในสาร ละลายครึ่งเซลล์  เช่น  Zn/Zn 2+ 2.  ระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสองให้ใช้  //  คั่น  แสดง สะพานไอออน 3.  แต่ละครึ่งเซลล์จากข้อ  (1)  เมื่อนำมาต่อกันเป็นเซลล์ไฟฟ้า  ให้ เขียนขั้วไฟฟ้า  ( โลหะ )  ไว้ว้ายสุดและขวาสุดเสมอ 4.  ให้เขียนครึ่งเซลล์ออกซิเดชันไว้ทางซ้ายมือ  คั่นด้วย  //  แล้วให้ เขียนครึ่งเซลล์รีดักชันไว้ทางขวามือเสมอ 5.  ถ้าครึ่งเซลล์ใดมีสถานะเดียวกันมากกว่า  1  ชนิด  ให้คั่นด้วย  , เช่น  Pt/Sn 2+  , Sn 4+  // Fe 3+  , Fe 2+ /Pt
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 6.  ขั้วไฟฟ้าที่เป็นก๊าซโดยมีโลหะเฉื่อยเป็นตัวนำให้เขียน เครื่องหมาย  /  คั่นระหว่างโลหะ  /  ก๊าซ  /  ไอออน ตัวอย่างเช่น  Pt/H 2 /H +   ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน H + /H 2 /Pt  ครึ่งเซลล์รีดักชัน 7.  หากจะเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าที่สมบูรณ์จะต้องระบุ สถานะของสาร  และในกรณีสารละลายจะต้องระบุ ความเข้มข้น  (M)  อีกด้วย
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) สรุปหลักการเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี A(s)/A + (aq) (1.0 mol/l) // B + (aq) (1.0 mol/l)/B(s) ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน ขั้วลบ แอโนด  ( ออก ,  OX) ให้  e -   ดีกว่า (E 0  ของ  A  น้อย ) ขั้วไฟฟ้าคือ  A ครึ่งเซลล์รีดักชัน ขั้วบวก แคโทด  รับ  e -   ดีกว่า ( E 0   ของ  B  มาก ) ขั้วไฟฟ้าคือ  B
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) ขั้วลบ  ขั้วบวก - + ศักย์ไฟฟ้าต่ำ ศักย์ไฟฟ้าสูง อิเล็กตรอน  ฎ ฌ   กระแสไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 7.  ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์  (E 0 ) ในการหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์  (E 0 )  ในทางปฏิบัติ จะต้องทำโดยการเปรียบเทียบกับครึ่งเซลล์ใดครึ่งเซลล์หนึ่งที่กำหนด เป็นครึ่งมาตรฐาน  เช่น  ครึ่งเซลล์มาตรฐานของไฮโดรเจน   (1 mol/l, 25  ๐ C,  1 atm)  (Pt)(s)/H 2 (1 atm)/H + (1 mol/l)  กำหนดให้มีค่า  E 0  =  0.00  โวลต์ ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน  เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  ขั้วไฟฟ้า ไฮโดรเจนมาตรฐาน  (Standard  Hydrogen  Electrode  ตัวย่อ  SHE)
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) ปฏิกิริยาของครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน เมื่อเป็นครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน  H 2   ฎ   2 H +   +  2e - เมื่อเป็นครึ่งเซลล์รีดักชัน  2 H +   +  2e -      ฎ   H 2  ขั้นตอนการหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน   พิจารณาดังต่อไปนี้ 1.  นำครึ่งเซลล์ที่ต้องการมาต่อเข้ากับครึ่งเซลล์มาตรฐาน  สิ่งที่ต้อง พิจารณา  คือให้ดูเข็มของโวลต์มิเตอร์ว่าเบนไปทางครึ่งเซลล์ใด  และอ่าน ค่าได้เท่าไร 2.  ค่าที่อ่านได้เป็นเท่าใด  ค่า  E 0   ของครึ่งเซลล์นั้นมีค่าเท่ากับตัวเลข ที่อ่านได้นั้น  แต่อาจมีเครื่องหมาย บวก หรือ ลบ   ให้พิจารณาดังนี้
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 2.1  ถ้าเข็มเบนไปหาครึ่งเซลล์ไฮโดรเจน -  ครึ่งเซลล์  Pt/H 2 /H +   ชิงอิเล็กตรอนดีกว่า  A/A +   ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์  A/A +   น้อยกว่า  0  โวลต์  ( เป็น ลบ ) 2.2  ถ้าเข็มเบนเข้าหาครึ่งเซลล์ที่นำมาต่อ  A/A +   -  ครึ่งเซลล์  A/A +   ชิงอิเล็กตรอนดีกว่า  Pt/H 2 /H +   ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน  (E 0 )  ครึ่งเซลล์  A/A +   มากกว่า  0  ( เป็น บวก )
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 8.  ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์  (E 0 cell ) ความต่างศักย์ของเซลล์ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน  ( E 0 cell ) ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ที่ไม่ใช่ ภาวะมาตรฐาน  ( E cell ) ผลต่างระหว่าง  E 0 +  และ  E 0 - จากสมการเนินสต์ *( ไม่กล่าว ถึงในระ ดับนี้ ) E 0 cell  =  E 0 +  -  E 0 - E cell   =  E 0 cell  =  (0.059/n)logK   ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์  ( E 0 cell )  =  E 0 แคโทด   -  E 0 แอโนด =  E 0 มาก  -  E 0 น้อย
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 9.  บทสรุปเกี่ยวกับ  E 0 1.  ค่า  E 0   เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของไอออนของโลหะหรือธาตุ ในการแย่งชิงอิเล็กตรอนเมื่อเปรียบเทียบกับความสามารถในการแย่ง ชิงอิเล็กตรอนของ  H + 2.  ถ้า  E 0   ของครึ่งเซลล์ใดมีค่าเป็น บวก   แสดงว่าไอออนของโลหะหรือ อโลหะนั้นแย่ง ชิง อิเล็กตรอนได้ดีกว่า  H + ถ้า  E 0   ของครึ่งเซลล์ใดมีค่าเป็น ลบ   แสดงว่าไอออนของโลหะหรือ อโลหะนั้นแย่ง ชิง อิเล็กตรอนได้ น้อย กว่า  H + 3.  E 0   ใช้เป็นค่าเปรียบเทียบความสามารถในการแย่งชิง  ( รับ )  อิเล็กตรอนของไอออนต่าง ๆ
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) 4.  ค่า  E 0   ของปฏิกิริยาใด ๆ สามารถบอกได้ว่าปฏิกิริยานั้น ๆ เกิดขึ้นได้ หรือไม่  ในทิ ศ ทางใดถ้า  ... E 0 cell   หรือ  E 0 react   เป็นบวก  =  ปฏิกิริยาเกิดได้ เป็นลบ  =  ปฏิกิริยาเกิดไม่ได้ต้องกลับทิศ ของสมการจึงเกิดได้ เป็นศูนย์  =  ปฏิกิริยาอยู่ในสมดุล   5.  ถ้าจุ่มโลหะ  A  ลงในสารละลาย  B 2+   แล้วเกิดปฏิกิริยาได้  แสดงว่าค่า E 0  ของ  B 2+   >  A 2+ -  ถ้าค่า  E 0   มากกว่า  แสดงว่า … จะมีความสามารถแย่งชิง  e -   ได้ดี กว่า  เกิดปฏิกิริยารีดักชันได้ดีกว่า  เป็นตัวออกซิไดส์ได้ดีกว่า
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) -  ถ้าทราบค่า  E 0   ของ  X 2+   >  Y 2+   ดังนั้นถ้าเราจุ่มโลหะ  X  ลงใน สารละลาย  Y 2+   จะไม่เกิดปฏิกิริยาแต่อย่างใด 5.  สารที่มีค่า  E 0   มาก  ทำปฏิกิริยากับสารที่มีค่า  E 0   น้อยกว่าได้แสดง ว่าสารที่มี  E 0   มากเป็นตัว ออกซิไดส์   E 0   น้อยกว่าจะเป็นตัว รีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ดี  ฎ   E 0   มาก  ฎ   อยากจะรับ  (e - )  ฎ   เกิด  ( รีดักชัน ) 6.  แผนภาพเซลล์  A/A 2+  // B 2+ /B แสดงว่า  E 0   ของ  B 2+   >  E 0   ของ  A 2+ 7.  ในตารางธาตุ  ความสัมพันธ์ของค่า  E 0   เป็นไปตามแนวโน้มเช่นเดียว กับ  IE,  EN
เซลล์ไฟฟ้าเคมี  (Electrochemical  Cell) ตารางธาตุ น้อย มาก แนวโน้มของค่า  IE,  EN  และ  E 0   ของธาตุในตารางธาตุ ข้อควรจำ  Li +   มีค่า  E 0   ต่ำสุด  ;  เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดี F 2   มีค่า  E 0   สูงสุด  ;  เป็นตัวออกซิไดส์ที่ดี 8.  ธาตุที่ควรจำลำดับค่า  E 0   ได้คือ  Ag +   >  Cu 2+   >  H +   >  Zn 2+   > Mg 2+
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารด้วยกระแสไฟฟ้าเป็นกระบวนการหนึ่งซึ่งเรียกว่า อิเล็กโทรลิซีส   (electrolysis)  ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่มีการเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี   หรือหมายถึงกระบวนการที่ผ่าน กระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารอิเล็กโทรไลต์แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ  ปฏิกิริยารีดอกซ์นั่นเอง อุปกรณ์สำหรับกระบวนการอิเล็กโทรลิซิสเป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี  เรียกว่า  เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ในการพิจารณา ขั้วบวก  ขั้วลบ   ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี  กับเซลล์ อิเล็กโทรไลต์จะ แตกต่าง กันทำให้เป็นผลตรงกันข้าม  ดังแสดงในตาราง ต่อไปนี้
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ เซลล์กัลวานิก  เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ขั้วลบ  :  ขั้วที่มีอิเล็กตรอนไหล  :  ขั้วที่ต่อกับขั้วลบของแบตเตอรี่ ออกจากเซลล์  ( อิเล็กตรอนไหลเข้าเซลล์ ) ขั้วบวก   :  ขั้วที่มีอิเล็กตรอนไหล  :  ขั้วที่ต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี เข้าสู่เซลล์  ( อิเล็กตรอนไหลออก ) แอโนด  :  ออกซิเดชัน  ( ขั้วลบ )  :  ออกซิเดชัน  ( ขั้วบวก ) แคโทด   :  รีดักชัน  ( ขั้วบวก )  :  รีดักชัน  ( ขั้วลบ )
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารด้วยกระแสไฟฟ้า  สารอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้แบ่งออกเป็น 2  พวก  คือ  สารที่หลอมเหลว  และสารละลาย  ( มีน้ำด้วย ) 1.  การแยกสารที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า ผลที่ได้จากการแยกสารเคมีหลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า  จะไม่มี H 2 O  เข้าไปเกี่ยวข้องเหมือนกับสารละลาย  ดังนั้นแต่ละขั้วจะเกิด ปฏิกิริยาดังนี้ 1.  ที่ขั้วลบ  จะได้โลหะที่เป็นไอออนบวก  เช่น  Na +   ได้โลหะ  Na  ที่ขั้วลบ ( แคโทด )  เพราะไอออนบวกจะวิ่งไปรับอิเล็กตรอนที่ขั้วลบ  ( รีดักชัน ) ดังสมการ Na +   +  e -   ฎ   Na  :  รีดักชัน
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2.  ที่ขั้วบวก  จะได้สาร  ( ก๊าซ )  ที่เป็นไอออนลบ  เช่น  Cl - ,  Br - ,  I -   จะได้ Cl 2 ,  Br 2 ,  I 2   ตามลำดับ  ( แอโนด )  เพราะไอออนลบให้อิเล็กตรอนที่ ขั้วบวก  ดังสมการ  2 Cl -   ฎ   Cl 2   +  2e -   :  ออกซิเดชัน   ตัวอย่างการแยกสาร  NaCl  ที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า + + + - - - D.C. Anode (+) Cathode (-) 2 Cl -   ฎ   Cl 2   +  2e - Na +   +  e -   ฎ   Na Cl 0 Na 0 Cl - Na + ปฏิกิริยาที่แคโทด  :  2Na +   +  e -   ฎ   2 Na ปฏิกิริยาที่แอโนด  :  2 Cl -   ฎ   Cl 2   +  2e - ปฏิกิริยารวม  :  2Na +  + 2Cl -   ฎ 2 Na + Cl 2
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2.  การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า การพิจารณาปฏิกิริยาที่เกิดแต่ละขั้ว  จะต้องมี  H 2 O  เข้ามาเกี่ยวข้อง อีกด้วย  โดยที่น้ำสามารถ รับ อิเล็กตรอนที่ ขั้วลบ   และ ให้ อิเล็กตรอนได้ที่ ขั้วบวก   ดังนั้นปฏิกิริยาของน้ำที่ขั้วทั้งสองจึงควรจำได้ดังนี้ H 2 O  รับ  e -   เกิด  Reduction  ( แคโทด )  เกิด  H 2   สารละลายเป็น เบส  (OH - )   2H 2 O  +  2e -   ฎ +  2OH -   ;  E 0   =  -0.83  V  H 2 ที่ขั้วลบ
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ H 2 O  ให้  e -   เกิด  Oxidation  ( แอโนด )  เกิด  O 2   สารละลายเป็น กรด  (H + )   H 2 O  ฎ +  2H +  +  2e -   ; E 0 ox  =  -1.23  V  1/2O 2 ที่ขั้วบวก กลับจากตาราง  E 0 จากนั้นให้พิจารณาแต่ละขั้ว โดยใช้ค่า  E 0   ระหว่างไอออน ของสารนั้น ๆ กับ  H 2 O  ก็จะทำนายได้ว่าจะเกิด สารใดที่ขั้วใด หลักการ 1.  ที่ขั้วแคโทด  (-)  เกิดจากสารที่มี ค่า  E 0 มากกว่า 2.  ขั้วแอโนด  (+)  เกิดจากสารที่มีค่า E 0 น้อยกว่าน้ำ   ( หรือ  E 0 ox  > E 0 ox   ของ H 2 O  ต้องกลับจากตาราง ) ถ้า  E 0 ox   น้ำมากกว่าจะเกิดก๊าซ  O 2
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 3.  การพิจารณาว่าจะเกิดสารใดที่ขั้วใด มีวิธีจดจำสารที่เกิดขึ้นที่ขั้วต่าง ๆ ซึ่งมีหลักสรุปได้ดังนี้ 1.  ถ้าในสารละลายมี  Li + ,  Na + ,  K + ,  Ca 2+   เมื่ออิเล็กโทรลิซิสจะไม่ได้ โลหะ นั้น  แต่จะได้ก๊าซ  H 2   และสารละลายเป็น เบส   (OH - )  ที่ขั้วลบ ( แคโทด ) 2.  ถ้าไอออนนั้นแย่งชิงอิเล็กตรอนได้ดี  เช่น  Cu 2+ ,  Ag +   หรือโลหะแทรน - ซิชันอื่น ๆ  ( มีค่า  E 0   ค่อนข้างมาก )  จะแย่งชิงอิเล็กตรอนได้ดีกว่าน้ำ เมื่ออิเล็กโทรลิซิสจะได้โลหะ  Cu  โลหะ  Ag  ที่ขั้วลบ  ( แคโทด ) 3.  ในทำนองเดียวกันที่ขั้วแอโนด  ( ขั้วบวก )  ในสารละลายที่มี  SO 2- 4 ,  NO - 3   ( หมู่อนุมูลกรด )  ฯลฯ  ซึ่งเมื่ออิเล็กโทรลิซิสจะไม่ได้ผลิตภัณฑ์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ที่เกิดจาก  SO 2- 4 ,  NO - 3   ฯลฯ  แต่จะได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งเกิดจากน้ำแทน คือ  ได้ก๊าซ  O 2   สารละลายมีสมบัติเป็นกรด  (H + )  ที่ขั้วบวก 4.  ถ้าเป็นพวก  Cl - ,  Br - ,  I -   ซึ่งมีความสามารถในการให้  e -   ได้ดีกว่าน้ำ จะได้ก๊าซ  Cl 2 ,  Br 2   และ  I 2   เป็นฟองปุดขึ้นที่ขั้วแอโนด  ( ขั้วบวก ) Cl -   ฎ   1/2Cl 2   +  e - 5.  จำง่าย ๆ ว่า  ไอออน บวก   ถ้าเกิดได้ต้องเกิดที่ ขั้วลบ   และไอออน ลบ จะไปเกิดที่ ขั้วบวก Cl - ,  Br - ,  I -  ฎ   ขั้วบวก  Cl 2 ,  Br 2 ,  I 2   Cu 2+ ,  Ag +  ฎ ขั้วลบ  เกิด  Cu(s),  Ag(s) SO 2- 4 ,  NO - 3   ฎ   ฎ   ขั้วบวก  เกิด  O 2 (g) Li + ,  Na +   ฎ   ฎ   ขั้วลบ  เกิด  H 2 ( ไม่เกิด ) ( ไม่เกิด ) H 2 O H 2 O
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 4.  ข้อควรพิจารณาการเกิดปฏิกิริยาของไอออนบางชนิด 1.  โดยปกติไอออนลบจะไปยัง ขั้วบวก ให้อิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยา  Oxidation  เช่น  2 Cl -   ฎ   Cl 2 (g)  +  2e -  2.  แต่ไอออนลบบางชนิดอาจไปยังขั้วลบ  เพื่อไปรับอิเล็กตรอน  เกิด  Reduction  ได้ เช่น  ClO - 4  + 8H +  + 7e -   ฎ   1/2 Cl 2  + 4H 2 O  E 0  = 1.55 Volt 3.  เหตุผลที่เป็นเช่นนี้  เนื่องจาก  Cl  ใน  ClO - 4   มีเลขออกซิเดชันสูงสุด แล้วคือ  +7  จึงไม่สามารถเป็นตัวรีดิวซ์  ( เกิด  Oxidation)  เพิ่มเลข ออกซิเดชันได้อีกแล้ว 4.  ดังนั้นในสารละลาย  X  เปอร์คลอเรต  ปฏิกิริยาที่ขั้วลบอาจ พิจารณาถึง  3  ปฏิกิริยาคือ
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 1)  H 2 O  +  2e -   ฎ   H 2   +  2OH - 2)  X 2+   +  2e -   ฎ   X(s) 3)  ClO - 4  + 8H +  + 7e -   ฎ   1/2 Cl 2  + 4H 2 O โดยทั่วไปแล้วปฏิกิริยา  (3)  จะเกิดได้ดีกว่า  ( ค่า  E 0   มาก ) 5.  ในสารละลายที่มีไอออนของโลหะหมู่  1,  2  จะไม่ได้โลหะนั้น  เช่น  Na, Ca  ฯลฯ  ที่ขั้วลบ  เว้นแต่จะเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้สูงขึ้นอย่าง น้อยเท่ากับค่า  E 0 cell   ของเซลล์คู่นั้น ๆ ที่มีค่าเป็นลบ ตัวอย่าง   ปฏิกิริยา  Na +   +  2X -   ฎ   Na  +  X 2   E 0 cell   =  -2.80  Volt แสดงว่าปฏิกิริยานี้ไม่เกิดจึงต้องบังคับโดยเพิ่มค่าศักย์ไฟฟ้า อย่างน้อย  =  2.80  Volt  หรือมากกว่า  จึงจะได้โลหะเกิดขึ้น
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 5.  ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ใช้เพื่อให้เกิดสารตามต้องการ หลักการ 1.  คำนวณหาค่า  E 0 cell   ตามสูตร  E 0 cell  = E 0 แคโทด   -  E 0 แอโนด   *  ใช้ค่า  E 0   ตามตาราง 2.  หาค่า  E 0 cell   โดยเอาค่า  E 0   ตามสมการรีดักชัน  และออกซิ - เดชันมาบวกกัน  ตามสมการ  ( ใช้ค่า  E 0   ตามสมการ ) E 0 cell  = E 0 รีดักชัน   +  E 0 ออกซิเดชัน
END... เอกสารอ้างอิง -  กระทรวงศึกษาธิการ .  หนังสือเรียนวิชาเคมีเล่ม  6  ว  035. กรุงเทพฯ  :  โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว . 2540,  หน้า  1-29. -  วินัย  วิทยาลัย .  เคมี  ว  035  ม . 6  เล่ม  2.  กรุงเทพฯ  : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ . 2544,  หน้า  1-115.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
นายเค ครูกาย
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
crazygno
 

Mais procurados (20)

อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องตารางธาตุ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุหน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
 

Destaque

Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
Napajit
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
jirat266
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Som Kechacupt
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
jirupi
 

Destaque (20)

บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1ปฏิบัติการเคมี4 2.1
ปฏิบัติการเคมี4 2.1
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
Polystyrene
PolystyrenePolystyrene
Polystyrene
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
Project report on polystyrene (ps)
Project report on polystyrene (ps)Project report on polystyrene (ps)
Project report on polystyrene (ps)
 
โพรพิลีน
โพรพิลีนโพรพิลีน
โพรพิลีน
 
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมีวิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
วิชาเคมี มัธยมปลาย เรื่องปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี
 
polystyrene
polystyrenepolystyrene
polystyrene
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
The biodegradation of Polystyrene
The biodegradation of PolystyreneThe biodegradation of Polystyrene
The biodegradation of Polystyrene
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 

Semelhante a Electrochem 1

กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
ssuserb3caf5
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
nantita
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
3cha_sp
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
findgooodjob
 

Semelhante a Electrochem 1 (20)

กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 

Electrochem 1

  • 2. เนื้อหา ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี 1 * ปฏิกิริยารีดอกซ์ * การดุลสมการรีดอกซ์ * เซลล์ไฟฟ้าเคมี * เซลล์อิเล็กโทรไลต์
  • 3. ปฏิกิริยารีดอกซ์ 1. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายที่มีไอออนของโลหะ ที่ชิ้น Zn มี สารสีน้ำตาล แดงเกาะอยู่ เมื่อเคาะก็ร่วง และแท่งสังกะสี จะกร่อน ในสารละลาย CuSO 4 สีฟ้าเดิม จะจางลง ถ้าทิ้ง ไว้นาน ๆ จะไม่มีสี CuSO 4 (aq) ZnSO 4 (aq) Cu(s) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่ชิ้น Cu และในสารละลาย ZnSO 4 รูปที่ 1 รูปที่ 2
  • 4. ปฏิกิริยารีดอกซ์ บทสรุป 1. เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายโลหะไอออนแล้ว เกิดปฏิกิริยา ได้ แสดงว่า … มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนกันได้โดย ... 1.1 โลหะเป็นฝ่าย เสีย อิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน ( เป็นตัว - รีดิวซ์ ) และจะกร่อนลงเรื่อย ๆ 1.2 โลหะไอออนในสารละลายจะเป็นฝ่าย รับ อิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยา รีดักชัน ( เป็นตัวออกซิไดส์ ) 1.3 เปรียบเทียบค่า E 0 จะได้ E 0 ของโลหะไอออนมากกว่า E 0 ของโลหะที่จุ่ม
  • 5. ปฏิกิริยารีดอกซ์ 2. เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายโลหะไอออนแล้วไม่เกิดปฏิกิริยา แต่ถ้ากลับกันระหว่างโลหะทั้งสองนั้น ( A จุ่มใน B 2+ เป็น B จุ่มใน A 2+ ) จะเกิดปฏิกิริยาได้ 3. เมื่อจุ่มโลหะลงในสารละลายของโลหะไอออนเดียวกัน (A ใน A 2+ ) จะไม่เกิดปฏิกิริยาอย่างแน่นอน 4. นอกจากจุ่มโลหะลงในสารละลายของโลหะไอออนแล้วยังรวม ทั้งไอออนของสารละลายกรด (H + ) ก็พิจารณาทำนองเดียวกัน
  • 6. ปฏิกิริยารีดอกซ์ 2. ปฏิกิริยารีดอกซ์ : ตัวออกซิไดส์ ตัวรีดิวซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน รับ e - ให้ e - ลด เลขออกซิเดชัน เพิ่ม เลขออกซิเดชัน
  • 7. ปฏิกิริยารีดอกซ์ ในปฏิกิริยารีดอกซ์ จะมีปฏิกิริยาย่อยเกิดขึ้น 2 ชนิดเสมอคือ 1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation Reaction) คือปฏิกิริยา ที่มีการให้อิเล็กตรอนสารที่เป็นตัว ให้ อิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวรีดิวซ์ ผลของปฏิกิริยาออกซิเดชัน ทำให้สารนั้นมีเลขออกซิเดชัน เพิ่มขึ้น ตัวอย่าง : Zn(s) ฎ Zn 2+ (aq) + 2e - 2. ปฏิกิริยารีดักชัน ( Reduction Reaction) คือปฏิกิริยาที่มี การรับอิเล็กตรอนสารที่เป็นตัว รับ อิเล็กตรอนเรียกว่า ตัวออกซิไดส์ ผลของปฏิกิริยารีดักชัน ทำให้สารนั้นมีเลขออกซิเดชัน ลดลง ตัวอย่าง : Cu 2+ (aq) +2e - ฎ Cu(s)
  • 8. ปฏิกิริยารีดอกซ์ 3. การพิจารณา… ตัวออกซิไดส์ ตัวรีดิวซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน รับอิเล็กตรอน ถูกรีดิวซ์ (Reduced) ตัวออกซิไดส์ (Oxidizer) ให้อิเล็กตรอน ถูกออกซิไดส์ (Oxidized) ตัวรีดิวซ์ (Reducer)
  • 9. ปฏิกิริยารีดอกซ์ 4. การพิจารณา… ว่าปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ 1. ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระเกี่ยวข้องอยู่ด้วย 2. ปฏิกิริยาที่มีการสันดาปทุกชนิด 3. ปฏิกิริยาที่มีธาตุโลหะแทรนซิชันเป็นองค์ประกอบ ของสารในปฏิกิริยา 4. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ 5. ปฏิกิริยาในขบวนการเมตาบอลิซึม (Metabolism) ในร่างกาย 6. เกิดในขบวนการถลุงโลหะต่าง ๆ เช่น การถลุงเหล็ก ตัวอย่างปฏิกิริยาที่มีโอกาสเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ มีดังต่อไปนี้
  • 10. ปฏิกิริยารีดอกซ์ 7. ปฏิกิริยาที่เกิดสนิม หรือการสึกกร่อนของโลหะ 8. ไม่ใช่ปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส เกลือกับเกลือ หรือกรดกับเกลือ ปฏิกิริยานอน - รีดอกซ์ที่ควรสังเกตได้ง่าย ๆ เช่น ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส , ปฏิกิริยาระหว่าง เกลือกับเกลือ , ปฏิกิริยาระหว่างเกลือกับกรด เป็นต้น ซึ่งจะมีชื่อเฉพาะสำหรับปฏิกิริยานั้น ๆ เช่น ปฏิกิริยาสะเทิน , ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน , ปฏิกิริยาสะพอนนิฟิเคชัน , ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส เป็นต้น
  • 11. การดุลสมการรีดอกซ์ การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน หลัก 1. หาเลขออกซิเดชันของสารที่เพิ่มและลด 2. เอาเลขออกซิเดชันที่ เพิ่ม ไว้หน้าสารที่มี เลขออกซิเดชัน ลด และเอาเลขออกซิเดชันที่ลด ไว้หน้าสารที่เพิ่ม ( คูณไขว้ ) 3. จากข้อ 2. ถ้าทำอย่างต่ำได้ให้ทำด้วย 4. พิจารณาจำนวนอะตอมและประจุรวมทางขวา ให้เท่ากับทางซ้าย
  • 12. การดุลสมการรีดอกซ์ ตัวอย่างการดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชัน NH 3 + O 2 ฎ NO + H 2 O NH 3 (g) + O 2 (g) ฎ NO(g) + H 2 O 3 0 +2-2 เพิ่ม 5 ลด 2 ต่อ 1 อะตอม ( แต่ O มี 2 อะตอม เอา 2 คูณ ) ลด 2 x 2 = 4 4 5 NH 3 + 5O 2 ฎ 4 NO + 6H 2 O 4NH 3
  • 13. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) จากเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ พลังงานเคมี และ พลังงานไฟฟ้า จึงแบ่งชนิดของอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนรูปพลังงานทั้งสองชนิดนี้ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาน เคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า เรียกว่า เซลล์กัลวานิก 2. อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเคมี เรียกว่า เซลล์อิเล็กโทรไลต์ เซลล์ไฟฟ้าเคมีอย่างง่าย ซึ่งเปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็น กระแสไฟฟ้า เรียกว่า เซลล์กัลวานิก หรือ เซลล์วอลตาอิก
  • 14. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 1. เซลล์กัลวานิก 1. เซลล์ไฟฟ้าเคมี จะประกอบด้วย 2 ครึ่งเซลล์ที่แตกต่างกัน นำมาต่อกันให้ครบวงจร แสดงได้ดังรูป Zn 2+ Cu 2+ Zn(s) / Zn 2+ (aq) Cu(s) / Cu 2+ (aq) สะพานไอออน Zn Cu แอโนด ( ขั้วลบ ) แคโทด ( ขั้วบวก ) รูปที่ 3
  • 15. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 2. ในครึ่งเซลล์หนึ่งประกอบด้วยแท่งโลหะ ซึ่งทำหน้าที่เป็น ขั้วไฟฟ้า (electrode) จุ่มอยู่ในสารละลายที่มีไอออนของโลหะที่ เป็นขั้วไฟฟ้านั้นจุ่มอยู่ 3. ครึ่งเซลล์ที่เป็นขั้วไฟฟ้าเฉื่อย เช่น โลหะพลาตินัม ( Pt) และแกรไฟต์ (C) ขั้วไฟฟ้าชนิดนี้ไม่มีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใด ๆ ในเซลล์ ไม่มีการผุกร่อน เพียงแต่ช่วย ทำหน้าที่เป็นตัวรับ - ถ่ายให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านให้ครบวงจรเท่านั้น 4. ครึ่งเซลล์ที่มีขั้วไฟฟ้าเป็นก๊าซ ในกรณีนี้ต้องอาศัยขั้ว ไฟฟ้าเฉื่อยเพื่อเป็นตัวนำ โดยจุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ โดยมี หลักว่า เมื่อใช้ก๊าซใดผ่านเข้าไปในขั้วไฟฟ้านั้นสารละลายอิเล็ก - โทรไลต์ที่ใช้ต้องเป็นสารละลายที่มีไอออนของก๊าซนั้น
  • 16. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) การต่อครึ่งเซลล์สองครึ่งเซลล์เข้าด้วยกัน 1. ใช้ลวดตัวนำต่อจากโลหะที่เป็นขั้วไฟฟ้า ของครึ่งเซลล์หนึ่งไปยังโลหะที่เป็นขั้วไฟฟ้า ของอีกครึ่งเซลล์หนึ่ง 2. ใช้สะพานไอออน (Salt bridge) เชื่อมต่อ ระหว่างสารละลายในแต่ละครึ่งเซลล์ เพื่อให้ ไอออนเคลื่อนที่ถ่ายเทระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสองได้
  • 17. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 2. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมี : ปฏิกิริยาแต่ละครึ่งเซลล์ , การพิจารณาขั้วไฟฟ้า , การพิจารณาการไหลของอิเล็กตรอน มีหลักการพิจารณาตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. เมื่อเอาแต่ละครึ่งเซลล์มาต่อให้ครบวงจร ก็จะเกิดเป็นเซลล์ไฟฟ้า อย่างง่ายขึ้น แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า 2. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือปฏิกิริยารีดอกซ์ โดยแต่ละครึ่งเซลล์เกิด ปฏิกิริยาดังนี้ ครึ่งเซลล์ที่ให้อิเล็กตรอน : เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เข็มจะ เบนออก จากขั้วนี้ ครึ่งเซลล์ที่รับอิเล็กตรอน : เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เข็มจะ เบนเข้า ขั้วนี้
  • 18. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 3. ดังนั้น ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี จะต้องเกิดปฏิกิริยาทั้งสองครึ่งเซลล์ โดยเกิดปฏิกิริยาให้ - รับอิเล็กตรอนกัน จึงทำให้มีอิเล็กตรอนไหล เกิด กระแสไฟฟ้าขึ้น โดยในเรื่องทางไฟฟ้าให้ถือว่า ทิศทางของ กระแส นั้น ไหล ตรงข้าม กับทิศทางของ อิเล็กตรอน 4. อิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจากครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน จะ เคลื่อนที่ออก วงจรภายนอกตามตัวนำ เข้าไปยังครึ่งเซลล์รีดักชัน ( สังเกตได้ตาม เข็มเครื่องโวลต์มิเตอร์ที่เบนไปตามทิศการไหลของอิเล็กตรอน )
  • 19. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 3. การพิจารณาขั้วไฟฟ้า ขั้วแอโนด ( ขั้วลบ ), ขั้วแคโทด ( ขั้วบวก ) และชนิดของปฏิกิริยา 1. ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน เรียกว่า ขั้ว แอโนด ซึ่งมีอิเล็กตรอนไหลออกมา จึงเรียกว่า ขั้วลบ ( ขั้วที่มีอิเล็กตรอนเกิดขึ้น ) 2. ครึ่งเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยา รีดักชัน เรียกว่า ขั้ว แคโทด ซึ่งเป็นขั้วที่ รับ อิเล็กตรอน จึงเรียกว่า ขั้วบวก ( ขั้วที่อิเล็กตรอนวิ่งเข้าหา )
  • 20. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) Zn 2+ Cu 2+ Zn(s) / Zn 2+ (aq) Cu(s) / Cu 2+ (aq) สะพานไอออน Zn Cu แอโนด ( ขั้วลบ ) แคโทด ( ขั้วบวก ) รูปที่ 4 รูปแสดงเซลล์ไฟฟ้าเคมีอย่างง่าย และสรุปปฏิกิริยา และขั้วที่เกิดขึ้นได้ดังนี้
  • 21. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) จากรูปที่ 4 สามารถอธิบายได้ดังนี้ ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน ครึ่งเซลล์รีดักชัน ออกซิเดชัน : Zn(s) ฎ Zn 2+ (aq) + 2e - รีดักชัน : Cu 2+ (aq) + 2e - ฎ Cu(s) ขั้วแอโนด ( เพราะเกิดออกซิเดชัน ) ขั้วแคโทด ( เพราะเกิดรีดักชัน ) ขั้วลบ ( เพราะอิเล็กตรอนเกิดขึ้น ) ขั้วบวก ( เพราะรับอิเล็กตรอน ) ปฏิกิริยาของเซลล์นี้ : Zn(s) + Cu 2+ (aq) ฎ Zn 2+ (aq) + Cu(s)  ครึ่งเซลล์รีดักชัน ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน
  • 22. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 4. สะพานไอออน (Salt bridge) และการรักษาสมดุล ระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ สะพานไอออน เป็นสารละลายอิ่มตัวที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อม ระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสองเข้าด้วยกัน ทำหน้าที่รักษาสมดุลระหว่าง ไอออนบวกและไอออนลบของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในแต่ละครึ่ง เซลล์ สะพานไอออนเมื่อใช้นาน ๆ จะทำให้ ปริมาณไอออนลดลง ดังนั้นเมื่อต้องการใช้สะพานไอออนควรจุ่มสารละลายอิ่มตัวใหม่ ๆ สำหรับที่ใช้สารละลายอิ่มตัวก็เพื่อต้องการให้มีปริมาณไอออนอยู่ มากจะได้ใช้ได้นาน สารละลายที่ใช้ทำสะพานไอออนได้ เช่น NH 4 NO 3 , KCl, KNO 3
  • 23. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 5. เซลล์ความเข้มข้น เซลล์ความเข้มข้น (Concentration cell) เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี อีกชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้า ชนิดเดียวกัน 2 ขั้ว และสาร ละลายอิเล็กโทรไลต์ชนิดเดียวกันแต่ ความเข้มข้นไม่เท่ากัน หลักของเซลล์ความเข้มข้น สรุปได้ดังนี้ 1. แท่งอิเล็กโทรด ( ขั้ว ) ทั้งสองเหมือนกัน 2. สารละลายอิเล็กโทรไลต์อย่างเดียวกัน แต่ ความเข้มข้น ของสาร ละลายต่างกัน 3. อิเล็กตรอนจะไหลออกจากครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าไปสู่ ภายนอก เข้าสู่ครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นมากกว่า
  • 24. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 5. ครึ่งเซลล์ที่มีความเข้มข้นของสารละลาย เจือจาง เกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชัน เป็นขั้ว แอโนด และครึ่งเซลล์ที่ เข้มข้นกว่า จะเกิดปฏิกิริยา รีดักชัน เป็นขั้ว แคโทด 6. ตัวอย่างเขียนแผนภาพของเซลล์ได้ดังนี้ M(s)/M + ( จาง ) // M + ( ข้น )/ M(s) Zn(s)/Zn 2+ (0.01M) // Zn 2+ (0.1M)/Zn(s)
  • 25. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 6. หลักการเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี 1. เขียนครึ่งเซลล์โดยใช้ / คั่นระหว่างขั้วไฟฟ้ากับไอออนในสาร ละลายครึ่งเซลล์ เช่น Zn/Zn 2+ 2. ระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสองให้ใช้ // คั่น แสดง สะพานไอออน 3. แต่ละครึ่งเซลล์จากข้อ (1) เมื่อนำมาต่อกันเป็นเซลล์ไฟฟ้า ให้ เขียนขั้วไฟฟ้า ( โลหะ ) ไว้ว้ายสุดและขวาสุดเสมอ 4. ให้เขียนครึ่งเซลล์ออกซิเดชันไว้ทางซ้ายมือ คั่นด้วย // แล้วให้ เขียนครึ่งเซลล์รีดักชันไว้ทางขวามือเสมอ 5. ถ้าครึ่งเซลล์ใดมีสถานะเดียวกันมากกว่า 1 ชนิด ให้คั่นด้วย , เช่น Pt/Sn 2+ , Sn 4+ // Fe 3+ , Fe 2+ /Pt
  • 26. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 6. ขั้วไฟฟ้าที่เป็นก๊าซโดยมีโลหะเฉื่อยเป็นตัวนำให้เขียน เครื่องหมาย / คั่นระหว่างโลหะ / ก๊าซ / ไอออน ตัวอย่างเช่น Pt/H 2 /H + ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน H + /H 2 /Pt ครึ่งเซลล์รีดักชัน 7. หากจะเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าที่สมบูรณ์จะต้องระบุ สถานะของสาร และในกรณีสารละลายจะต้องระบุ ความเข้มข้น (M) อีกด้วย
  • 27. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) สรุปหลักการเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี A(s)/A + (aq) (1.0 mol/l) // B + (aq) (1.0 mol/l)/B(s) ครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน ขั้วลบ แอโนด ( ออก , OX) ให้ e - ดีกว่า (E 0 ของ A น้อย ) ขั้วไฟฟ้าคือ A ครึ่งเซลล์รีดักชัน ขั้วบวก แคโทด รับ e - ดีกว่า ( E 0 ของ B มาก ) ขั้วไฟฟ้าคือ B
  • 28. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) ขั้วลบ ขั้วบวก - + ศักย์ไฟฟ้าต่ำ ศักย์ไฟฟ้าสูง อิเล็กตรอน ฎ ฌ กระแสไฟฟ้า
  • 29. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 7. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ (E 0 ) ในการหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ (E 0 ) ในทางปฏิบัติ จะต้องทำโดยการเปรียบเทียบกับครึ่งเซลล์ใดครึ่งเซลล์หนึ่งที่กำหนด เป็นครึ่งมาตรฐาน เช่น ครึ่งเซลล์มาตรฐานของไฮโดรเจน (1 mol/l, 25 ๐ C, 1 atm) (Pt)(s)/H 2 (1 atm)/H + (1 mol/l) กำหนดให้มีค่า E 0 = 0.00 โวลต์ ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ขั้วไฟฟ้า ไฮโดรเจนมาตรฐาน (Standard Hydrogen Electrode ตัวย่อ SHE)
  • 30. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) ปฏิกิริยาของครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน เมื่อเป็นครึ่งเซลล์ออกซิเดชัน H 2 ฎ 2 H + + 2e - เมื่อเป็นครึ่งเซลล์รีดักชัน 2 H + + 2e -  ฎ H 2  ขั้นตอนการหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน พิจารณาดังต่อไปนี้ 1. นำครึ่งเซลล์ที่ต้องการมาต่อเข้ากับครึ่งเซลล์มาตรฐาน สิ่งที่ต้อง พิจารณา คือให้ดูเข็มของโวลต์มิเตอร์ว่าเบนไปทางครึ่งเซลล์ใด และอ่าน ค่าได้เท่าไร 2. ค่าที่อ่านได้เป็นเท่าใด ค่า E 0 ของครึ่งเซลล์นั้นมีค่าเท่ากับตัวเลข ที่อ่านได้นั้น แต่อาจมีเครื่องหมาย บวก หรือ ลบ ให้พิจารณาดังนี้
  • 31. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 2.1 ถ้าเข็มเบนไปหาครึ่งเซลล์ไฮโดรเจน - ครึ่งเซลล์ Pt/H 2 /H + ชิงอิเล็กตรอนดีกว่า A/A + ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ A/A + น้อยกว่า 0 โวลต์ ( เป็น ลบ ) 2.2 ถ้าเข็มเบนเข้าหาครึ่งเซลล์ที่นำมาต่อ A/A + - ครึ่งเซลล์ A/A + ชิงอิเล็กตรอนดีกว่า Pt/H 2 /H + ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน (E 0 ) ครึ่งเซลล์ A/A + มากกว่า 0 ( เป็น บวก )
  • 32. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 8. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ (E 0 cell ) ความต่างศักย์ของเซลล์ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน ( E 0 cell ) ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ที่ไม่ใช่ ภาวะมาตรฐาน ( E cell ) ผลต่างระหว่าง E 0 + และ E 0 - จากสมการเนินสต์ *( ไม่กล่าว ถึงในระ ดับนี้ ) E 0 cell = E 0 + - E 0 - E cell = E 0 cell = (0.059/n)logK ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ ( E 0 cell ) = E 0 แคโทด - E 0 แอโนด = E 0 มาก - E 0 น้อย
  • 33. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 9. บทสรุปเกี่ยวกับ E 0 1. ค่า E 0 เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของไอออนของโลหะหรือธาตุ ในการแย่งชิงอิเล็กตรอนเมื่อเปรียบเทียบกับความสามารถในการแย่ง ชิงอิเล็กตรอนของ H + 2. ถ้า E 0 ของครึ่งเซลล์ใดมีค่าเป็น บวก แสดงว่าไอออนของโลหะหรือ อโลหะนั้นแย่ง ชิง อิเล็กตรอนได้ดีกว่า H + ถ้า E 0 ของครึ่งเซลล์ใดมีค่าเป็น ลบ แสดงว่าไอออนของโลหะหรือ อโลหะนั้นแย่ง ชิง อิเล็กตรอนได้ น้อย กว่า H + 3. E 0 ใช้เป็นค่าเปรียบเทียบความสามารถในการแย่งชิง ( รับ ) อิเล็กตรอนของไอออนต่าง ๆ
  • 34. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) 4. ค่า E 0 ของปฏิกิริยาใด ๆ สามารถบอกได้ว่าปฏิกิริยานั้น ๆ เกิดขึ้นได้ หรือไม่ ในทิ ศ ทางใดถ้า ... E 0 cell หรือ E 0 react เป็นบวก = ปฏิกิริยาเกิดได้ เป็นลบ = ปฏิกิริยาเกิดไม่ได้ต้องกลับทิศ ของสมการจึงเกิดได้ เป็นศูนย์ = ปฏิกิริยาอยู่ในสมดุล 5. ถ้าจุ่มโลหะ A ลงในสารละลาย B 2+ แล้วเกิดปฏิกิริยาได้ แสดงว่าค่า E 0 ของ B 2+ > A 2+ - ถ้าค่า E 0 มากกว่า แสดงว่า … จะมีความสามารถแย่งชิง e - ได้ดี กว่า เกิดปฏิกิริยารีดักชันได้ดีกว่า เป็นตัวออกซิไดส์ได้ดีกว่า
  • 35. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) - ถ้าทราบค่า E 0 ของ X 2+ > Y 2+ ดังนั้นถ้าเราจุ่มโลหะ X ลงใน สารละลาย Y 2+ จะไม่เกิดปฏิกิริยาแต่อย่างใด 5. สารที่มีค่า E 0 มาก ทำปฏิกิริยากับสารที่มีค่า E 0 น้อยกว่าได้แสดง ว่าสารที่มี E 0 มากเป็นตัว ออกซิไดส์ E 0 น้อยกว่าจะเป็นตัว รีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ดี ฎ E 0 มาก ฎ อยากจะรับ (e - ) ฎ เกิด ( รีดักชัน ) 6. แผนภาพเซลล์ A/A 2+ // B 2+ /B แสดงว่า E 0 ของ B 2+ > E 0 ของ A 2+ 7. ในตารางธาตุ ความสัมพันธ์ของค่า E 0 เป็นไปตามแนวโน้มเช่นเดียว กับ IE, EN
  • 36. เซลล์ไฟฟ้าเคมี (Electrochemical Cell) ตารางธาตุ น้อย มาก แนวโน้มของค่า IE, EN และ E 0 ของธาตุในตารางธาตุ ข้อควรจำ Li + มีค่า E 0 ต่ำสุด ; เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดี F 2 มีค่า E 0 สูงสุด ; เป็นตัวออกซิไดส์ที่ดี 8. ธาตุที่ควรจำลำดับค่า E 0 ได้คือ Ag + > Cu 2+ > H + > Zn 2+ > Mg 2+
  • 37. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารด้วยกระแสไฟฟ้าเป็นกระบวนการหนึ่งซึ่งเรียกว่า อิเล็กโทรลิซีส (electrolysis) ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่มีการเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี หรือหมายถึงกระบวนการที่ผ่าน กระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารอิเล็กโทรไลต์แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ ปฏิกิริยารีดอกซ์นั่นเอง อุปกรณ์สำหรับกระบวนการอิเล็กโทรลิซิสเป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมี เรียกว่า เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ในการพิจารณา ขั้วบวก ขั้วลบ ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี กับเซลล์ อิเล็กโทรไลต์จะ แตกต่าง กันทำให้เป็นผลตรงกันข้าม ดังแสดงในตาราง ต่อไปนี้
  • 38. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ เซลล์กัลวานิก เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ขั้วลบ : ขั้วที่มีอิเล็กตรอนไหล : ขั้วที่ต่อกับขั้วลบของแบตเตอรี่ ออกจากเซลล์ ( อิเล็กตรอนไหลเข้าเซลล์ ) ขั้วบวก : ขั้วที่มีอิเล็กตรอนไหล : ขั้วที่ต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี เข้าสู่เซลล์ ( อิเล็กตรอนไหลออก ) แอโนด : ออกซิเดชัน ( ขั้วลบ ) : ออกซิเดชัน ( ขั้วบวก ) แคโทด : รีดักชัน ( ขั้วบวก ) : รีดักชัน ( ขั้วลบ )
  • 39. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ การแยกสารด้วยกระแสไฟฟ้า สารอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ สารที่หลอมเหลว และสารละลาย ( มีน้ำด้วย ) 1. การแยกสารที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า ผลที่ได้จากการแยกสารเคมีหลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า จะไม่มี H 2 O เข้าไปเกี่ยวข้องเหมือนกับสารละลาย ดังนั้นแต่ละขั้วจะเกิด ปฏิกิริยาดังนี้ 1. ที่ขั้วลบ จะได้โลหะที่เป็นไอออนบวก เช่น Na + ได้โลหะ Na ที่ขั้วลบ ( แคโทด ) เพราะไอออนบวกจะวิ่งไปรับอิเล็กตรอนที่ขั้วลบ ( รีดักชัน ) ดังสมการ Na + + e - ฎ Na : รีดักชัน
  • 40. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. ที่ขั้วบวก จะได้สาร ( ก๊าซ ) ที่เป็นไอออนลบ เช่น Cl - , Br - , I - จะได้ Cl 2 , Br 2 , I 2 ตามลำดับ ( แอโนด ) เพราะไอออนลบให้อิเล็กตรอนที่ ขั้วบวก ดังสมการ 2 Cl - ฎ Cl 2 + 2e - : ออกซิเดชัน ตัวอย่างการแยกสาร NaCl ที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้า + + + - - - D.C. Anode (+) Cathode (-) 2 Cl - ฎ Cl 2 + 2e - Na + + e - ฎ Na Cl 0 Na 0 Cl - Na + ปฏิกิริยาที่แคโทด : 2Na + + e - ฎ 2 Na ปฏิกิริยาที่แอโนด : 2 Cl - ฎ Cl 2 + 2e - ปฏิกิริยารวม : 2Na + + 2Cl - ฎ 2 Na + Cl 2
  • 41. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า การพิจารณาปฏิกิริยาที่เกิดแต่ละขั้ว จะต้องมี H 2 O เข้ามาเกี่ยวข้อง อีกด้วย โดยที่น้ำสามารถ รับ อิเล็กตรอนที่ ขั้วลบ และ ให้ อิเล็กตรอนได้ที่ ขั้วบวก ดังนั้นปฏิกิริยาของน้ำที่ขั้วทั้งสองจึงควรจำได้ดังนี้ H 2 O รับ e - เกิด Reduction ( แคโทด ) เกิด H 2 สารละลายเป็น เบส (OH - ) 2H 2 O + 2e - ฎ + 2OH - ; E 0 = -0.83 V H 2 ที่ขั้วลบ
  • 42. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ H 2 O ให้ e - เกิด Oxidation ( แอโนด ) เกิด O 2 สารละลายเป็น กรด (H + ) H 2 O ฎ + 2H + + 2e - ; E 0 ox = -1.23 V 1/2O 2 ที่ขั้วบวก กลับจากตาราง E 0 จากนั้นให้พิจารณาแต่ละขั้ว โดยใช้ค่า E 0 ระหว่างไอออน ของสารนั้น ๆ กับ H 2 O ก็จะทำนายได้ว่าจะเกิด สารใดที่ขั้วใด หลักการ 1. ที่ขั้วแคโทด (-) เกิดจากสารที่มี ค่า E 0 มากกว่า 2. ขั้วแอโนด (+) เกิดจากสารที่มีค่า E 0 น้อยกว่าน้ำ ( หรือ E 0 ox > E 0 ox ของ H 2 O ต้องกลับจากตาราง ) ถ้า E 0 ox น้ำมากกว่าจะเกิดก๊าซ O 2
  • 43. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 3. การพิจารณาว่าจะเกิดสารใดที่ขั้วใด มีวิธีจดจำสารที่เกิดขึ้นที่ขั้วต่าง ๆ ซึ่งมีหลักสรุปได้ดังนี้ 1. ถ้าในสารละลายมี Li + , Na + , K + , Ca 2+ เมื่ออิเล็กโทรลิซิสจะไม่ได้ โลหะ นั้น แต่จะได้ก๊าซ H 2 และสารละลายเป็น เบส (OH - ) ที่ขั้วลบ ( แคโทด ) 2. ถ้าไอออนนั้นแย่งชิงอิเล็กตรอนได้ดี เช่น Cu 2+ , Ag + หรือโลหะแทรน - ซิชันอื่น ๆ ( มีค่า E 0 ค่อนข้างมาก ) จะแย่งชิงอิเล็กตรอนได้ดีกว่าน้ำ เมื่ออิเล็กโทรลิซิสจะได้โลหะ Cu โลหะ Ag ที่ขั้วลบ ( แคโทด ) 3. ในทำนองเดียวกันที่ขั้วแอโนด ( ขั้วบวก ) ในสารละลายที่มี SO 2- 4 , NO - 3 ( หมู่อนุมูลกรด ) ฯลฯ ซึ่งเมื่ออิเล็กโทรลิซิสจะไม่ได้ผลิตภัณฑ์
  • 44. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ที่เกิดจาก SO 2- 4 , NO - 3 ฯลฯ แต่จะได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งเกิดจากน้ำแทน คือ ได้ก๊าซ O 2 สารละลายมีสมบัติเป็นกรด (H + ) ที่ขั้วบวก 4. ถ้าเป็นพวก Cl - , Br - , I - ซึ่งมีความสามารถในการให้ e - ได้ดีกว่าน้ำ จะได้ก๊าซ Cl 2 , Br 2 และ I 2 เป็นฟองปุดขึ้นที่ขั้วแอโนด ( ขั้วบวก ) Cl - ฎ 1/2Cl 2 + e - 5. จำง่าย ๆ ว่า ไอออน บวก ถ้าเกิดได้ต้องเกิดที่ ขั้วลบ และไอออน ลบ จะไปเกิดที่ ขั้วบวก Cl - , Br - , I - ฎ ขั้วบวก Cl 2 , Br 2 , I 2 Cu 2+ , Ag + ฎ ขั้วลบ เกิด Cu(s), Ag(s) SO 2- 4 , NO - 3 ฎ ฎ ขั้วบวก เกิด O 2 (g) Li + , Na + ฎ ฎ ขั้วลบ เกิด H 2 ( ไม่เกิด ) ( ไม่เกิด ) H 2 O H 2 O
  • 45. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 4. ข้อควรพิจารณาการเกิดปฏิกิริยาของไอออนบางชนิด 1. โดยปกติไอออนลบจะไปยัง ขั้วบวก ให้อิเล็กตรอนเกิดปฏิกิริยา Oxidation เช่น 2 Cl - ฎ Cl 2 (g) + 2e - 2. แต่ไอออนลบบางชนิดอาจไปยังขั้วลบ เพื่อไปรับอิเล็กตรอน เกิด Reduction ได้ เช่น ClO - 4 + 8H + + 7e - ฎ 1/2 Cl 2 + 4H 2 O E 0 = 1.55 Volt 3. เหตุผลที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจาก Cl ใน ClO - 4 มีเลขออกซิเดชันสูงสุด แล้วคือ +7 จึงไม่สามารถเป็นตัวรีดิวซ์ ( เกิด Oxidation) เพิ่มเลข ออกซิเดชันได้อีกแล้ว 4. ดังนั้นในสารละลาย X เปอร์คลอเรต ปฏิกิริยาที่ขั้วลบอาจ พิจารณาถึง 3 ปฏิกิริยาคือ
  • 46. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 1) H 2 O + 2e - ฎ H 2 + 2OH - 2) X 2+ + 2e - ฎ X(s) 3) ClO - 4 + 8H + + 7e - ฎ 1/2 Cl 2 + 4H 2 O โดยทั่วไปแล้วปฏิกิริยา (3) จะเกิดได้ดีกว่า ( ค่า E 0 มาก ) 5. ในสารละลายที่มีไอออนของโลหะหมู่ 1, 2 จะไม่ได้โลหะนั้น เช่น Na, Ca ฯลฯ ที่ขั้วลบ เว้นแต่จะเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้สูงขึ้นอย่าง น้อยเท่ากับค่า E 0 cell ของเซลล์คู่นั้น ๆ ที่มีค่าเป็นลบ ตัวอย่าง ปฏิกิริยา Na + + 2X - ฎ Na + X 2 E 0 cell = -2.80 Volt แสดงว่าปฏิกิริยานี้ไม่เกิดจึงต้องบังคับโดยเพิ่มค่าศักย์ไฟฟ้า อย่างน้อย = 2.80 Volt หรือมากกว่า จึงจะได้โลหะเกิดขึ้น
  • 47. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 5. ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ใช้เพื่อให้เกิดสารตามต้องการ หลักการ 1. คำนวณหาค่า E 0 cell ตามสูตร E 0 cell = E 0 แคโทด - E 0 แอโนด * ใช้ค่า E 0 ตามตาราง 2. หาค่า E 0 cell โดยเอาค่า E 0 ตามสมการรีดักชัน และออกซิ - เดชันมาบวกกัน ตามสมการ ( ใช้ค่า E 0 ตามสมการ ) E 0 cell = E 0 รีดักชัน + E 0 ออกซิเดชัน
  • 48. END... เอกสารอ้างอิง - กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนวิชาเคมีเล่ม 6 ว 035. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว . 2540, หน้า 1-29. - วินัย วิทยาลัย . เคมี ว 035 ม . 6 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ . 2544, หน้า 1-115.