SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 67
Baixar para ler offline
การผลิตสื่อ/โครงงานภูมิสารสนเทศ
ผ่านโปรแกรม Google Earth
วันที่ 2-4 กุมภาพันธ์ 2558 ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 210
อาคารศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยนเรศวร
26 March 2015
Chingchai Humhong
สถานที่ตั้ง
ถ่ายทอด
เทคโนโลยี
บริการ
ข้อมูล
วิจัย
อาคารมหาธรรมราชา ชั้น 4 ตึก A
มหาวิทยาลัยนเรศวร อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
Tel. 055-968707
Fax. 055-968807
Website: http://www.cgistln.nu.ac.th
E-Mail : cgistln@nu.ac.th
26 March 2015
<facebook> http://www.facebook.com/gist.nu
<facebook fan page> https://www.facebook.com/Gistlnnu
<website> http://www.cgistln.nu.ac.th
<email> cgistln@nu.ac.th
follow us on social networks
26 March 2015
• แผนที่และระบบพิกัด (Map and Coordinate) คืออะไร ?
• เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo-informatics Technology) คืออะไร ?
• การรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing: RS)
• การกาหนดตาแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System: GPS)
• ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS)
เนื้อหาสาระ ที่จะบรรยาย
26 March 2015
แผนที่และระบบพิกัด (Map and Coordinate)
26 March 2015
แผนที่ คือรูปลายเส้นที่เขียนหรือกาหนดขึ้น เพื่อแสดงลักษณะของ
พื้นผิวโลกทั้งหมด หรือเพียงบางส่วน ลงบนพื้นราบ ( พื้นแบน ) ตาม
มาตราส่วน โดยใช้สี และสัญลักษณ์ แทนรายละเอียดของภูมิประเทศที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น
แผนที่ คือ อะไร
26 March 2015
1. แผนที่อ้างอิง (Reference Map)
เป็นแผนที่พื้นฐานที่ใช้อยู่ทั่วไป หรือที่เรียกว่า Base map
- แผนที่แสดงทางราบ (Planimetric Map) เป็นการแสดงรายละเอียดทั่วๆ ไปของ
พื้นผิวโลกในทางราบเท่านั้น
- แผนที่แสดงภูมิประเทศ (Topographic Map) เป็นการแสดงรายละเอียดทั่วๆ ไป
รวมทั้งลักษณะความสูงต่าของพื้นผิวโลกหรืออาจแสดงให้เห็นเป็น 3 มิติก็ได้
- แผนที่ภาพถ่าย (Orthophoto Map) เป็นแผนที่ที่ทาขึ้นจากการถ่ายภาพทางอากาศ
2. แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Map)
เป็นแผนที่สร้างขึ้นบนแผนที่พื้นฐาน เพื่อใช้ในกิจการเฉพาะเรื่อง เช่น แผนที่ความ
หนาแน่นประชากร แผนที่ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น
ประเภทของแผนที่
รศ.ดร.ชฎา ณรงค์ฤทธิ์ http://www.map.nu.ac.th/26 March 2015
แผนที่อ้างอิง แผนที่เฉพาะเรื่อง
26 March 2015
แผนที่อ้างอิง แผนที่เฉพาะเรื่อง
26 March 2015
ระบบพิกัด
ระบบพิกัด (Coordinate System) เป็นระบบที่สร้างขึ้นสาหรับใช้อ้างอิงในการ
กาหนดตาแหน่ง หรือ บอกตาแหน่งพื้นโลกจากแผนที่
ระบบพิกัดที่นิยมใช้กับแผนที่ในปัจจุบัน
1. ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinate System)
หน่วยเป็น องศา ลิปดา พิลิปดา
2. ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transverse Mercator)
หน่วยเป็น เมตร
26 March 2015
เช่น มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ละติจูดที่ 16°44'53.58" เหนือ ลองจิจูดที่
100°11'31.99" ตะวันออก
หรือแบบ UTM เช่น 47 Q 627078.17 ม. ตะวันออก 1852082.90 ม. เหนือ
ระบบพิกัด
สามารถคานวณแปลงพิกัดไปมาระหว่างค่าพิกัดภูมิศาสตร์ และค่าพิกัดกริด UTM ได้
http://www.map.nu.ac.th/doc/pdfSoilDatabase/102356-2%20map%20and%20topography.pdf
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
(Geographic Coordinate
System)
Longitude & Latitude
ระบบพิกัดกริด UTM
(Universal Transverse
Mercator)
Easting & Northing
26 March 2015
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinate System)
26 March 2015
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic coordinate)
26 March 2015
Prime meridian
Equator
Thailand
ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transverse Mercator)
เป็นระบบตารางกริดที่ใช้ช่วยในการกาหนดตาแหน่งและใช้อ้างอิงในการบอก
ตาแหน่งเป็นที่นิยมใช้กับแผนที่ในกิจการทหารของประเทศ ต่าง ๆ เกือบทั่วโลก เพราะเป็น
ระบบตารางกริดที่มีขนาดรูปร่างเท่ากันทุกตาราง และมีวิธีการกาหนดบอกค่าพิกัดที่ง่าย
และถูกต้องเป็นระบบกริดที่นาเอาเส้นโครงแผนที่แบบ Universal Transverse Mercator
Projection มาใช้ ซึ่งดัดแปลงจากการเส้นโครงแผนที่แบบ Mercator Projection
26 March 2015
ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transverse Mercator)
26 March 2015
ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transverse Mercator)
26 March 2015
ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transverse Mercator)
26 March 2015
26 March 2015
ประเทศไทยอยู่ใน GZD 47N 47P 47Q 48N 48P และ 48Q
ระบบพิกัดกริด UTM (Universal Transverse Mercator)
26 March 2015
ประเทศไทยอยู่ใน GZD 47N 47P 47Q 48N 48P และ 48Q
26 March 2015
องค์ประกอบแผนที่ภูมิประเทศ
(Topographic Map)
มาตราส่วน 1:50,000
ชื่อระวาง
มาตราส่วน
เลขระวาง
สัญลักษณ์
ระบบพิกัด สารบัญระวางติดต่อ
สารบัญแนวแบ่ง
เขตการปกครอง
เส้นกริด
26 March 2015
องค์ประกอบของแผนที่
1. ชื่อชุดของแผนที่และมาตราส่วน (Series Name and Scale)
จะปรากฏอยู่ ณ มุมซ้ายด้านบนของแผนที่ คือ ประเทศไทย 1:50,000” สาหรับมาตรส่วนของ
แผนที่จะปรากฏอยู่ตรงกลางด้านล่างของแผนที่อีกแห่งหนึ่งด้วย
2. ชื่อระวางแผนที่ (Sheet Number)
หมายถึง ชื่อของระวางแผนที่ ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามลักษณะที่เด่นทางภูมิศาสตร์หรือวัฒนธรรมใน
พื้นที่ที่แผนที่ระวางนั้นปรกคลุมอยู่
26 March 2015
3. หมายเลขแผ่นระวาง(Sheet Number)
หมายเลขแผ่นระวางจะแสดงไว้ตรงขอบขวาด้านบนและขอบซ้ายด้านล่างของแผนที่ ใช้เป็นเลขหมาย
ในการเรียกแผนที่แต่ละระวาง เป็นเลขหมายที่อ้างอิงเพื่อความสะดวกในการจัดระเบียบ การเก็บรักษา
4. เลขหมายประจาชุด(Series Number)
จะบอกถึงภูมิภาคที่แผนที่ฉบับนั้นครอบคลุมอยู่ และบอกถึงมาตราส่วนด้วย เลขหมายประจาชุดจะ
ปรากฏอยู่ 2 แห่ง คือ มุมขวาด้านบน และมุมซ้ายด้านล่าง ของแผนที่
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
5. การจัดพิมพ์ (Edition Number)
บอกให้ทราบถึงจานวนครังของการพิมพ์แผนที่ฉบับนั้นพร้อมทั้งหน่วยงานที่จัดพิมพ์ด้วย จะปรากฏ
อยู่ทางขอบบนด้านขวาและขอบล่างด้านซ้าย
6. มาตราส่วนและมาตราส่วนบรรทัด (Map Scale and Bar Scale)
เป็นการแสดงอัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางที่วัดได้บนแผนที่ 1 หน่วย กับระยะทางที่วัด
ได้จริงบนภูมิประเทศ เช่น 1 เซนติเมตรในแผนที่ เท่ากับ 0.5 กิโลเมตรในระยะทางบนพื้นที่จริง
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
แสดงเป็นผังรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสบริเวณมุมล่างด้านขวาของ
แผนที่ เป็นสารบัญที่จะบอกให้ทราบถึงแผนที่ระวาง
ต่างๆ ที่อยู่โดยรอบแผนที่ฉบับนั้น
7. สารบัญระวางติดต่อ(Adjoining Sheets)
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
แสดงไว้ตรงขอบล่างด้านขวาที่ใกล้กับสารบัญระวาง
ติดต่อ เป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็กๆ แทนแผนที่ระวางนั้น
ภายในจะมีเส้นแบ่งเขตการปกครองให้เห็นพอสังเขป
ว่าแผนที่ระวางนั้นครอบคลุมพื้นเขตการปกครอง
ใดบ้าง
8. สารบัญแสดงแนวแบ่งเขตการปกครอง (Boundaries)
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
9. แผนผังเดคดิเนชั่น/มุมเยื้อง (Declination Diagram)
แผนผังเดคลิเนชั่นนี้ทาให้เราทราบถึงความสัมพันธ์
ของมุมที่เกิดขึ้นระหว่าง ทิศเหนือจริง ทิศเหนือ
แม่เหล็ก ทิศเหนือกริด
ทิศเหนือแม่เหล็ก
ทิศเหนือจริง
ทิศเหนือกริด
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
บอกให้เราทราบถึงช่วงชั้นความสูงของพื้นโดยรวมของ
แผนที่แบบกว้าง ๆ
10. คาแนะนาเกี่ยวกับระดับสูง (Elevation Guide)
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
11. คาแนะนาเกี่ยวกับลาด (Slope Guide)
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
12. ตารางการอ่านค่ากริด (Grid Reference Box)
เป็นคาแนะนาสาหรับการกาหนดตาแหน่งของจุดต่างๆ
ในแผนที่ ซึ่งมีตัวอย่างวิธีการอ่านประกอบด้วย
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
13. ข้อความที่เกี่ยวกับการกาหนดความสูง เส้นโครงแผนที่ เส้นกริด
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
14. ศัพทานุกรม (Glossary)
เนื่องจากแผนที่มี 2 ภาษา คือ มีทั้ง
ภาษาไทยและอังกฤษพิมพ์ควบคู่กันไป ซึ่ง
ภาษาอังกฤษบางคานั้นเป็นการสะกดทับ
ภาษาไทย เช่น “ห้วย” จะเขียนว่า “Huai”
หรือ “เขา” จะเขียนว่า “Khao”
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
15. คาอธิบายสัญลักษณ์ (Legend)
คาอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนที่อยู่ทางด้านล่างซ้าย คาอธิบายสัญลักษณ์มีความหมายเพื่อแทนสิ่งต่างๆ ที่
ปรากฏอยู่บนพื้นโลกและนามาแสดงไว้ในพื้นที่ ไม่สามารถแสดงให้เหมือนจริงได้จาเป็นต้องใช้สัญลักษณ์
ต่างๆ แสดงแทน และจาเป็นต้องมีคาอธิบายประกอบไว้เพื่อบอกให้ทราบถึงรายละเอียดที่เป็นจริงบนพื้นโลก
ว่าบริเวณนั้นๆ เป็นอะไร
ประเภทของสัญลักษณ์ที่ใช้จะมีอยู่ 3
ประเภท คือ
1. สัญลักษณ์ที่เป็นจุด (Point Symbol)
2. สัญลักษณ์ที่เป็นเส้น (Line Symbol)
3. สัญลักษณ์ที่เป็นพื้นที่ (Area Symbol)
องค์ประกอบของแผนที่
26 March 2015
16. สีที่ใช้ในแผนที่
องค์ประกอบของแผนที่
1. สีดา หมายถึง รายละเอียดที่เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคาร สุสาน วัด
สถานที่ราชการต่างๆ เป็นต้น
2. สีน้าเงิน หมายถึง สักษณะภูมิประเทศที่เป็นน้า เช่น ทะเล แม่น้า หนอง บึง
เป็นต้น
3. สีน้าตาล หมายถึง ลักษณะ ภูมิประเทศที่มีความสูงโดยทั่วไป เช่น เส้นชั้นความสูง
แนวคันดิน
4. สีเขียว หมายถึง พืชพันธุ์ไม้ต่างๆ เช่น ป่า สวน ไร่
5. สีแดง หมายถึง ถนนสายหลัก พื้นที่ย่านชุมชนหนาแน่น
26 March 2015
การอ่านค่าพิกัดกริดในแผนที่ 1: 50,000
2 X 2 ซม.
0.78 ซม.
0.79 ซม.
พิกัดแนวนอน (X)
= 555000 +
(0.78/2) 1000
= 555390 E
พิกัดแนวตั้ง (Y)
= 1744000 +
(0.79/2) 1000
= 1744395 N
หาค่าพิกัด วัดแม่วงก์
26 March 2015
การวัดระยะทางในแผนที่ 1: 50,000
2. การใช้แถบกระดาษ (Paper strip
method)
1. ใช้ปลายดินสอปัก ณ จุดเครื่องหมายของ
แถบกระดาษ
A
B
ถ้าเป็นระยะทางที่ค่อนข้างเป็นเส้นตรง เช่นทางรถไฟ ย่อมไม่เป็นปัญหาเพราะ
สามารถใช้ไม้บรรทัดวัดระยะทางได้โดยตรง
แต่ในกรณีที่ระยะทางที่ต้องการวัดไม่เป็นเส้นตรงมีลักษณะคดโค้ง เช่น แม่น้า ถนนที่
คดโค้ง ก็ก่อให้เกิดปัญหาในการวัด เพราะไม่สามารถใช้ไม้บรรทัดวัดได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม
วิธีการในการวัดระยะทางที่คดโค้งได้ ดังนี้
26 March 2015
สมมุติว่าแผนที่มาตราส่วน 1: 50,000 วัดระยะระหว่างจุด A ถึง จุด Bได้ 3.5 เซนติเมตร
จงหาระยะทางในภูมิประเทศจากสูตรด้านล่าง (กี่กิโลเมตร ?)
การวัดระยะทางในแผนที่ 1: 50,000
26 March 2015
เส้นชั้นความสูง (Contour line)
เส้นชั้นความสูง คือ เส้นสมมุติที่ลากไปตามพื้นภูมิประเทศบนแผนที่ภูมิประเทศ
ผ่านจุดที่มีระดับความสูงเดียวกัน ในแผนที่ภูมิประเทศ เส้นชั้นความสูง แสดงด้วยสี
น้าตาล และมีสีน้าตาลเข้มในกรณีที่เป็นเส้นชั้นความสูงหลัก (Index contour)
http://www.gistda.or.th
- เส้นชั้นความสูงหลัก (Index Contour)
- เส้นชั้นความสูงรอง (Intermediate Contour)
- เส้นชั้นความสูงแทรก (Supplemental Contour)
- เส้นชั้นความสูงแอ่งต่า (Depression Contour)
- เส้นชั้นความสูงประมาณ (Approximate Contour)
26 March 2015
การพิจารณาลักษณะภูมิประเทศจากเส้นชั้นความสูง
ถ้าเส้นความสูงเป็นวงกลมซ้อนๆกันแสดงว่าเป็น
ภูเขายอดแหลมหรือเนินเขาโดด
ถ้าเส้นความสูงเป็นวงยาวๆ ซ้อนกันแสดงว่า ยอดเขาเป็นสันยาว
ถ้ายอดเขามีเส้นชั้นความสูงเป็นวงใหญ่ๆ
และทางเชิงเขามีเส้นชั้นความสูงชิดกัน
แสดงว่าเป็นภูเขายอดตัดที่มีขอบชัน หรือที่
เรียกกันว่า “ภู” เช่น ภูกระดึง
26 March 2015
ลักษณะภูมิประเทศเป็นแบบลาห้วยหลายๆ สายมาบรรจบกับ
ลักษณะภูมิประเทศเป็นแบบหน้าผา สูงชัน
ลักษณะภูมิประเทศแบบหุบเขา หรือลาห้วย
26 March 2015
http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/c/c3/Point_bar_and_cut_bank.jpg
“ทางน้าโค้งตวัด” (Stream Meander)
Lat= 17.14°
Long = 100.09°
“ชายฝั่งตลิ่งชัน” (Cut bank)
“ชายฝั่งยื่นออกมา” (Point bar)
“ตะกอนหัวหาด” (Point bar deposit)
26 March 2015
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo-informatics Technology)
Remote
Sensing (RS)
Global Positioning
System (GPS)
Geographic
Information
System (GIS)
26 March 2015
การรับรู้จากระยะไกล
การกาหนดตาแหน่งบนพื้นโลก
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การรับรู้จากระยะไกล
(Remote Sensing : RS)
26 March 2015
• ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
• เครื่องบิน
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม ภาพไหนครับ???
A B
26 March 2015
การรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing : RS)
รีโมทเซนซิ่ง (Remote Sensing) เป็นประโยคที่ประกอบขึ้นมาจากการรวม 2 คา ซึ่งแยก
ออกได้ดังนี้ คือ Remote = ระยะไกล และ Sensing = การรับรู้ จากการรวมคา 2 คาเข้าด้วยกัน คาว่า
"Remote Sensing" จึงหมายถึง "การรับรู้จากระยะไกล" โดยนิยามความหมายนี้ได้กล่าวไว้ว่า “เป็น
การสารวจตรวจสอบคุณสมบัติสิ่งใดๆ ก็ตาม โดยที่มิได้สัมผัสกับสิ่งเหล่านั้นเลย”
ตัวอย่างการรับรู้จากระยะไกล เช่น การถ่ายรูป ซึ่งมีกล้องถ่ายรูปเป็นเครื่องรับรู้ โดยอาศัย
คลื่นตามองเห็น (Visible) เป็นพลังงาน และบันทึกพลังงานที่สะท้อนจากวัตถุเป้าหมาย
การรับรู้จากระยะไกล จะเป็นการสารวจ
โดยใช้ดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก
Earth observation satellite
26 March 2015
องค์ประกอบของการสารวจระยะไกล
1. แหล่งกาเนิดพลังงาน (Source of Energy)
2. วัตถุและปรากฏการณ์ต่างๆ บนพื้นผิวโลก (Earth Surface Features)
3. เครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล (Sensor)
26 March 2015
http://www.searchmesh.net/
26 March 2015
การถ่ายภาพทางอากาศ
26 March 2015
ภาพถ่ายทางอากาศ
26 March 2015
ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข
http://eis.ldd.go.th/lddeis/PLM.aspx
Copy Right @ GISTDA26 March 2015
Spatial Resolution (ความละเอียดเชิงพื้นที่)
15 เมตร
5.8 เมตร
0.61 เมตร26 March 2015
ความละเอียดเชิงพื้นที่ของข้อมูลภาพ ซึ่งแสดงถึงขนาดที่เล็กที่สุดของวัถตุที่
จะถูกตรวจจับได้โดยอุปกรณ์บันทึกข้อมูล (sensor) หรือพื้นที่ที่เล็กที่สุดบน
พื้นโลกที่ถูกแสดงออกมาในรูปของจุดภาพ ซึ่งจะแสดงถึงขีดความสามารถ
ของระบบบันทึกข้อมูลที่ติดตั้งบนดาวเทียม (sensor) ว่าจะสามารถตรวจจับ
(detect) พื้นที่ที่มีขนาดเล็กที่สุดได้เท่าใด
เช่น ถ้าจุดภาพ 15 เมตร นั้นหมายถึงวัตถุที่มีขนาด
น้อยกว่า 15 เมตร จะไม่สามารถมองเห็นได้ในข้อมูลภาพ
บางพื้นที่ใน Google Earth อาจจะมีภาพที่
เป็นรายละเอียดต่า เช่น พื้นที่นอกตัวเมือง
บางพื้นที่จะเป็นภาพรายละเอียดสูง เช่น ในเขต
ตัวเมือง หรือย่านชุมชนเมือง
26 March 2015
ระบบกาหนดตาแหน่งบนพื้นโลก
(Global Positioning System : GPS)
26 March 2015
Global Positioning System (GPS)
 ระบบกาหนดตาแหน่งบนพื้นโลก (จีพีเอส)
 เป็นระบบที่ใช้คานวณหาตาแหน่งบนโลกด้วยการส่งสัญญาณคลื่นวิทยุมายัง
เครื่องรับสัญญาณ
 พัฒนาขึ้นโดยกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อต้นปี 1978 มีชื่อ
อย่างเป็นทางการว่า Navigation Signal Timing and Ranging Global
Positioning System (NAVSTAR GPS)
26 March 2015
องค์ประกอบของระบบ GPS ( Structure of GPS)
1. ส่วนอวกาศ
2. ส่วนควบคุมภาคพื้นดิน
3. ส่วนผู้ใช้งาน26 March 2015
ประโยชน์ของระบบหาตาแหน่งบนโลกด้วยดาวเทียม
 หาตาแหน่งใด ๆ บนพื้นโลกได้ตลอด 24 ชั่วโมง
 ใช้ในกิจกรรมทางทหาร
 การสารวจรังวัดและการทาแผนที่
 การนาร่องจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
 การติดตามการเคลื่อนที่ของคนและสิ่งของต่าง ๆ
 การควบคุมเครื่องจักรกล
 บันทึกเส้นทางว่าเราไปไหนมาบ้าง
 ใช้ในการกาหนดจุดพิกัดผิวโลก เพื่องานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
 ใช้ในการติดตามอนุรักษ์และควบคุมสัตว์
26 March 2015
ผลิตภัณฑ์เครื่องรับสัญญาณ GPS
GPS รุ่นไหนบ้างที่เหมาะสมกับงานของเรา
(ใช้ง่าย ไม่ซับซ้อน ราคาไม่แพงและมีแผนที่ประเทศไทย)
26 March 2015
GPS in Real-time tracking with Google Earth
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
(Geographic Information System : GIS)
26 March 2015
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) คืออะไร
จีไอเอส หรือเรียกอีกชื่อว่า “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์” คือ ระบบที่ช่วยจัดการ
ข้อมูลเชิงพื้นที่ ด้วยคอมพิวเตอร์โดยมีการจัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงผล
ข้อมูลเป็นแผนที่
16๐22’เหนือ 100๐31’ตะวันออก
อ่างน้าแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ไหน
บนโลกนี้
ข้อมูลคุณลักษณะของอ่างน้า
- ชื่อ
- ความจุ
- การใช้ประโยชน์
- หน่วยงานที่ดูแล
- ???
ข้อมูลเชิงพื้นที่ ข้อมูลเชิงบรรยาย
26 March 2015
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
1. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware)
2. โปรแกรมคือชุดของคาสั่งสาเร็จรูป (Software)
3. ข้อมูล คือข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่มีการอ้างอิงภูมิศาสตร์หรือมีพิกัด
ซึ่งแบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ ข้อมูลเวกเตอร์ และราสเตอร์
4. บุคลากร (People)
5. วิธีการหรือขั้นตอนการทางาน (Approaches)
26 March 2015
ลักษณะสาคัญของข้อมูลจีไอเอส
• สามารถอ้างอิงเชิงตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ หรือมีระบบพิกัด
• สามารถแสดงออกมาในรูปแบบแผ่นที่และข้อมูลในรูปแบบตัวเลขและ
ตัวอักษรได้
• สามารถบันทึกข้อมูลเพื่อที่จะแสดงภาพพื้นที่จริง โดยมีการจัดเก็บข้อมูล
เป็นชั้นๆ หรือเรียกว่า “เลเยอร์” (Layer)
26 March 2015
26 March 2015
ลักษณะของข้อมูลและการจัดเก็บในระบบ GIS
GIS เป็นระบบที่สามารถบันทึกข้อมูลเพื่อที่จะแสดงภาพพื้นที่จริง โดยมีการจัดเก็บ
ข้อมูลเป็นชั้นๆ หรือเรียกว่า “เลเยอร์” (Layer)
ตาแหน่งที่ตั้งหมู่บ้านVillage
ถนน
แปลงที่ดิน
แบบจาลองความสูง
การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ลักษณะภูมิประเทศจริง
26 March 2015
ลักษณะข้อมูลเวกเตอร์ (Vector Format)
ประเภทข้อมูล ตัวอย่างข้อมูล ข้อมูลเชิงพื้นที่
Spatial Data
ข้อมูลเชิงบรรยาย
Attribute Data
Point
ตาแหน่งหมู่บ้าน
จุดที่ตั้งสาคัญ
- ชื่อหมู่บ้าน
- ชื่อสถานที่สาคัญ
- จานวนประชากร
Line
ถนน
เส้นทางน้า
- ประเภทของถนน
- ความกว้างถนน
Polygon
ขอบเขตการปกครอง
พื้นที่แหล่งน้า
พื้นที่การใช้ที่ดิน
- ชื่อจังหวัด
- รหัสจังหวัด
- เนื้อที่
26 March 2015
ลักษณะข้อมูลราสเตอร์ (Raster Format)
ข้อมูลที่มีโครงสร้างเป็นช่องสี่เหลี่ยม เรียกว่า จุดภาพ (Pixel) เรียงต่อเนื่องกันใน
แนวราบและแนวดิ่ง (Rows & Columns) ในแต่ละจุดภาพสามารถเก็บค่าได้ 1 ค่า
ความสามารถในการแสดงรายละเอียดข้อมูลจะขึ้นอยู่กับขนาดของจุดภาพ (Pixel)
26 March 2015

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาSzo'k JaJar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติพัน พัน
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 

Mais procurados (20)

พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบงBig Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 

Mais de Chingchai Humhong

พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรพฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรChingchai Humhong
 
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...Chingchai Humhong
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...Chingchai Humhong
 
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...Chingchai Humhong
 
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISSpatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISChingchai Humhong
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Chingchai Humhong
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Chingchai Humhong
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Chingchai Humhong
 
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นChingchai Humhong
 

Mais de Chingchai Humhong (9)

พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรพฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
พฤติกรรมการเดินทางเชิงพื้นที่และเวลาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
 
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
Developing Web-Enabled Considering Decision Support System for Staff Dormitor...
 
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูลภูมิ...
บทบาทของสถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ ด้านการให้บริการข้อมูล ภูมิ...
 
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong S...
 
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISSpatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
 
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
 

Geoinformatics for teacher