SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
เรื่อง 1.2 การตรวจสอบด้วยน้ายาแทรกซึม
(Liquid Penetrant Testing : PT)
การตรวจสอบแบบไม่ทาลายสภาพ (Non Destructive Test)
หมายถึง การตรวจสอบสมบัติเฉพาะหรือการตรวจสอบสภาพของชิ้นงานด้วยกรรมวิธีต่างๆ ซึ่งเป็นการไม่ทาให้
ชิ้นงานที่ถูกตรวจสอบเกิดความเสียหาย ที่นิยมเรียกชื่อย่อว่า NDT โดยการตรวจสอบนามาใช้ประโยชน์ในด้านของการค้นหา
ข้อบกพร่องของชิ้นงานเพื่อเป็นการประกันคุณภาพของชิ้นงาน โดยมีกรรมวิธีในการตรวจสอบดังนี้
1.2 การตรวจสอบด้วยน้ายาแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing )
มาตรฐานนี้ใช้สาหรับทดสอบงานเชื่อมของโครงเหล็กรูปพรรณด้วยสารแทรกซึมสาหรับงานเชื่อมที่เป็น
ส่วนประกอบของงานโครงเหล็กรูปพรรณที่มีภาคตัดกลวงหรือตันและท่อชนิดต่างๆ
วัตถุประสงค์ของการทดสอบนี้เพื่อทดสอบหาลักษณะบกพร่องใดๆ (Discontinuity) ที่ผิวและรอยบกพร่องใต้ผิวที่มี
รอยเปิดที่ผิว ในบริเวณรอยเชื่อมและบริเวณที่ได้รับผลกระทบ จากความร้อน (Heat Affected Zone) ซึ่งมีผลต่อความแข็งแรง
ของโครงสร้างที่รับภาระสถิตและภาระพลวัตทั้งความไม่สมบูรณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเชื่อมสร้าง การเชื่อมซ่อม รอย
บกพร่องที่เกิดขึ้นจากการใช้งานและการทดสอบเมื่อครบวาระมาตรฐานนี้ระบุเกณฑ์การพิจารณาการยอมรับความไม่ต่อเนื่อง
ของรอยเชื่อม
1.2.1. องค์ประกอบที่จาเป็นในการตรวจสอบแบบไม่ทาลายสภาพ
1. ตัวกลางหรือแหล่งพลังงานที่ใช้ตรวจสอบ
2. สภาพหรือสมบัติของชิ้นงานต้องเหมาะสมกับตัวกลางที่จะใช้ค้นหาจุดบกพร่องแต่ละชนิด
3. ตัวกลางมีความสามารถที่จะค้นหาการกระจายของจุดบกพร่อง
4. เทคนิคการบันทึกผล/แสดงผลจากการค้นหาจุดบกพร่องต้องเหมาะสมที่จะใช้ประเมินหรือแปลผล
5. ผู้ตรวจสอบต้องผ่านการอบรม สามารถแปลหรืออ่านผลการทดสอบได้
1.2.2. หลักการการตรวจสอบด้วยของแทรกซึม
1. ให้สารแทรกซึมบนผิวชิ้นงาน เพื่อให้เข้าไปในความไม่ต่อเนื่องที่เปิดสู่ผิว ด้วยปฏิกิริยาแบบ Capillary Action
โดยทิ้งเวลาไว้พักหนึ่ง เรียกว่า Dwell Time
2. ทาความสะอาดเอาสารแทรกซึมส่วนเกินออกแล้วลงสาร ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) เพื่อดึงเอาสารแทรกซึมที่
อยู่ในความไม่ต่อเนื่องออกมา
3. ไม่สามารถทดสอบกับวัสดุที่ผิวเป็นรูพรุนได้ เพราะไม่สามารถจะตีความและประเมินผลได้
รูปที่ 1.2-1 แสดงหลักการการตรวจสอบด้วยของแทรกซึม
ที่มา : Qualitech co., Ltd
1.2.3. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบด้วยของแทรกซึม
เป็นการทดสอบแบบไม่ทาลายสภาพ ใช้หาจุดบกพร่องบนพื้นผิว (Surface Method) ชิ้นงาน ที่เป็นโลหะ และอโลหะ
ได้ทุกชนิด ยกเว้นเนื้อวัสดุงานที่มีลักษณะผิวหยาบ พรุน ดูดซึมของเหลวง่ายเพื่อใช้ค้นหาความไม่ต่อเนื่องหรือจุดบกพร่อง
ชนิดรูพรุน (Porosity) และรอยร้าว (Cracks) บริเวณผิวหน้าแนวเชื่อมและบริเวณผลกระทบร้อนจากการเชื่อม ที่ไม่สามารถ
มองเห็นด้วยตาเปล่าตามปกติได้
มาตรฐานที่ใช้ในการตรวจสอบ
- มาตรฐาน ASTM International ASTM E165: Standard Test Method for Liquid Penetrant Examination
- มาตรฐาน EN ISO 3452-2: Non-destructive testing - - Penetrant testing - - Part 2: Testing of Penetrant materials
- มาตรฐาน International Organization for Standardization EN ISO 3452-3: Non-Destructive Testing-Penetrant
Testing – Part 3: Reference Test Blocks
- มาตรฐาน Japanese Industrial Standards JIS Z 2343-3:2001 Non-destructive testing – Penetrant testing – Part3:
Reference test blocks
1.2.4. การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึมงานเชื่อม
วิธีการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึมสาหรับรอยเชื่อมในงานเชื่อมแบ่งได้ดังนี้
1. เหล็กโครงสร้างที่ระบุค่าหน่วยแรงดึงลากขั้นต่าไม่เกินกว่า 690 เมกาปาสกาล (7,036 กิโลกรัมแรงต่อตาราง
เซนติเมตร)
2. เหล็กโครงสร้างต้องมีความหนาตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร ขึ้นไป
3. ไม่ใช้กับระบบท่อและถังที่มีความดัน
4. มาตรฐานนี้จะใช้กับการทดสอบแบบรอยเชื่อมโครงเหล็กรูปพรรณด้วยสารแทรกซึมแบบมองเห็นด้วยแสงสว่าง
(Visible Penetrant) ที่สามารถมองเห็นภายใต้แสงปกติ หรือแบบเรืองแสง (Fluorescent Penetrant) ที่สามารถมองเห็นภายใต้
แสงแบล็คไลท์ (Black Light)
5. มาตรฐานนี้ใช้หน่วย SI (International System Units) เป็นหลักและมีหน่วยเมตริกกากับในวงเล็บต่อท้าย โดยการ
แปลงหน่วยของแรงใช้ 1 กิโลกรัมแรงเท่ากับ 9.806 นิวตัน
การเชื่อม (Weld) หมายถึง การประสานให้ชิ้นส่วนโลหะหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันบริเวณรอยต่อชิ้นงานที่ต้องการ
ให้ประสานติดกัน
การทดสอบด้วยการแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing) หมายถึง การใช้สารแทรกซึม
หารอยบกพร่องจากผิวของรอยเชื่อม หรือผิวของชิ้นงาน สารแทรกซึม (Liquid Penetrant) จะแทรกซึมเข้าไปในรอยบกพร่อง
ที่เป็นโพรงช่องว่างของเนื้อโลหะที่ทาการทดสอบ โดยอาศัยหลักการของการแทรกซึมเข้าช่องว่างขนาดเล็ก (Capillary
Action) ความสามารถของการแทรกซึมจะขึ้นอยู่กับความตึงผิว ความหนืด และความสามารถในการเปียกผิวชิ้นงาน (Wetting
Ability) ของการแทรกซึมนั้น เมื่อขจัดสารแทรกซึมส่วนเกินที่อยู่ตามผิวภายนอกชิ้นงานออกแล้วใช้สารดูดซับสารแทรกซึม
ที่ตกค้างภายในรอยบกพร่องออกมา จะทาให้สามารถทดสอบพบรอยบกพร่องที่มีอยู่ได้
ความไม่ต่อเนื่อง (Discontinuity) หมายถึง ความไม่ต่อเนื่องของเนื้อวัสดุ เช่น การขาดความต่อเนื่องทางเชิงกล หรือ
เชิงโลหะวิทยา หรือ เชิงกายภาพ เป็นต้น ความไม่ต่อเนื่องของวัสดุอาจไม่ใช่รอยบกพร่องก็ได้ขึ้นอยู่เกณฑ์การยอมรับที่
กาหนดตามมาตรฐานนี้
โครงสร้างเหล็ก (Steel Structure) หมายถึง โครงสร้างที่ประกอบจากเหล็กรูปพรรณที่มีภาคตัดกลวงหรือตัน ท่อที่มี
หน่วยแรงครากไม่เกิน 690 เมกาปาสกาล (7036 กิโลกรัมแรงต่อตารางเซนติเมตร) และมีความหนาในทุกส่วนภาคตัด ไม่น้อย
กว่า 3 มิลลิเมตร
บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากความร้อน (Heat Affected Zone) หมายถึง บริเวณข้างรอยเชื่อมที่ได้รับผลกระทบจาก
ความร้อนของรอยเชื่อมจากการนาความร้อน อาจทาให้โครงสร้างและสมบัติของวัสดุที่เชื่อมตรงบริเวณนั้นเปลี่ยนแปลง
รอยบกพร่อง (Defect) หมายถึง สิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับรอยเชื่อมหรือบริเวณรอบๆ แนวเชื่อมที่ไม่สามารถยอมรับได้
ซึ่งอาจมีผลต่อความมั่นคง แข็งแรงหรือความปลอดภัยในการใช้งานไม่รวมถึงรอยบกพร่องทางโลหะวิทยาและรอยบกพร่อง
ทางมิติ
รอยบ่งชี้ (Indicator) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏจากรอยบกพร่องเป็นรูปร่างต่างๆ เช่น เป็นเส้นยาว หรือรูปร่างกลม
รอยบ่งชี้แปลกปลอม (False Indication) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏซึ่งไม่ใช่ข้อบกพร่องจริงโดยอาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ
เช่น สนิม ความสกปรก สะเก็ดสนิมของเหล็ก สแลกเชื่อม ฯลฯ ที่ทาให้เห็นเหมือนข้อบกพร่อง
1.2.5. เครื่องมือทดสอบและวัสดุสิ้นเปลือง
ชุดน้ายาทดสอบด้วยสารแทรกซึมสาหรับใช้ในทดสอบเป็นจุดหรือเฉพาะตาแหน่งแบบกระป๋ องฉีด (Spray Can)
ประกอบด้วย
รูปที่ 1.2-2 แสดงลักษณะกระป๋ องอุปกรณ์ (เทคนิคแบบ 3 กระป๋ องเท่านั้น)
คลีนเนอร์ (Cleaner) หมายถึง สารละลายที่ใช้สาหรับการทาความสะอาดผิวชิ้นงานก่อนจะทาการทดสอบด้วยสาร
แทรกซึม
ริมูฟเวอร์ (Remover) หมายถึง ตัวทาละลายที่ใช้สาหรับกาจัดสารแทรกซึมส่วนเกินออกจากผิวหน้าชิ้นงานทดสอบ
รูปที่ 1.2-3 แสดงลักษณะกระป๋ องน้ายาทาความสะอาดคลีนเนอร์ (Cleaner) ริมูฟเวอร์ (Remover)
เพนิแทรนต์ (Penetrant) หมายถึง สารแทรกซึมที่ใช้สาหรับแทรกซึมเข้าไปในรอยบกพร่องต่างๆ ต้องมีสมบัติ
ดังต่อไปนี้ เพนิแทรนต์ (Penetrant) ต้องสามารถกาจัดออกได้ด้วยตัวทาละลาย (Solvent) เพนิแทรนต์ (Penetrant) อาจใช้เป็น
แบบมองเห็นด้วยแสงสว่าง (Visible Penetrant) หรือแบบเรืองแสง (Fluorescent Penetrant)
รูปที่ 1.2-4 แสดงลักษณะกระป๋ องสารแทรกซึม เพนิแทรนต์ (Penetrant)
ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) หมายถึง สารที่ใช้สาหรับดูดซึมเพนิแทรนต์ (Penetrant) ออกจากข้อบกพร่องต่างๆ
ออกมาที่ผิวชิ้นงานมีสมบัติแขวนลอยอยู่ในตัวทาละลายที่ไม่มีส่วนผสมของน้า (No aqueous Wet Developer)
รูปที่ 1.2-5 แสดงลักษณะกระป๋ องดีเวลลอปเปอร์ (Developer)
ชุดน้ายาต้องมีสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน ASTM E165 หรือ EN ISO 3452-2 หรือมาตรฐานแห่งชาติอื่นที่เทียบเท่า
ชุดน้ายาต้องผลิตจากผู้ผลิตเดียวกัน และสามารถใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องจัดเก็บในสถานที่เหมาะสมตาม
คาแนะนาของผู้ผลิต เพนิแทรนต์ (Penetrant) แบบเรืองแสง (Fluorescent) อาจเสียสมบัติการเรืองแสงถ้าเก็บอยู่ในที่ร้อนเป็น
เวลานาน เศษผ้า สีขาวสามารถดูดซับน้ายาทดสอบได้ดี ไม่เป็นขุย หรือขนเพื่อใช้สาหรับเช็ดทาความสะอาดผิวหน้าชิ้นงาน
และกาจัดสารแทรกซึมส่วนเกินออกจากผิวหน้า
เครื่องกาเนิดแสงแบล็กไลท์ (Black Light) ซึ่งหลอดกาเนิดแสงเป็นชนิดใดก็ได้โดยความยาวคลื่นแสงอยู่ในช่วง 320
ถึง 380 นาโนเมตร และสามารถให้ความเข้มการส่องสว่างไม่ต่ากว่า 1000 ไมโครวัตต์ต่อตารางเซนติเมตร
รูปที่ 1.2-6 แสดงลักษณะเครื่องกาเนิดแสงแบล็กไลท์ (Black Light)
1.2.6. การปฏิบัติการตรวจสอบ
ผู้ทดสอบต้องระมัดระวังอันตรายจากการใช้สารแทรกซึม เช่น การสัมผัส การสูดหายใจการติดไฟ เป็นต้น และการ
จัดเตรียมเครื่องป้ องกันอันตรายที่จาเป็นและเหมาะสม การปฏิบัติการทดสอบให้ดาเนินการดังนี้
1. การเตรียมผิวชิ้นงานทดสอบ
2. โดยปกติการทดสอบที่ผิวงานหลังการเชื่อมเสร็จ (As Weld) จะให้ผลดี แต่อาจต้องขัดผิว หรือตกแต่งผิวงานกรณี
ที่ผิวงานมีสิ่งที่ทาให้เกิดรอยบ่งชี้แปลกปลอม
3. กรณีผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบมีการกัดกร่อนเนื่องจากสนิมต้องขจัดสนิมออกให้หมดจนถึงเนื้อโลหะอาจใช้
วิธีการขัด บริเวณงานเชื่อมและบริเวณที่ได้รับอิทธิพลเนื่องจาก ความร้อน หรือห่างจากขอบงานเชื่อมอย่างน้อย 25 มิลลิเมตร
ต้องแห้งปราศจากสิ่งสกปรก เช่น คราบน้ามัน จารบี เศษผ้าเม็ดโลหะกระเด็น สแลกเชื่อม สี หรือสิ่งอื่นๆ ที่ไม่พึงประสงค์ที่
อาจปิดรอยเปิด ของข้อบกพร่องได้
4. ชนิดของสารทาความสะอาดสามารถใช้ผงซักฟอก ตัวทาละลายธรรมชาติ สารละลายกาจัดสเกล และน้ายาลอกสี
5. การเตรียมผิวต้องระวังมิให้เศษผ้าต่างๆ เข้าไปอุดตันในข้อบกพร่องหรือมิให้ใช้กระบวนการทางกลที่จะทาให้
ปากของข้อบกพร่องเสียรูปจนปิดข้อบกพร่องนั้นไป
1.2.7. ขั้นตอนการตรวจสอบ
1. ทาความสะอาดเบื้องต้นตามขั้นตอนการเตรียมผิวของชิ้นงานทดสอบในข้อ
2. ผิวของชิ้นงานทดสอบต้องแห้งและมีอุณหภูมิระหว่าง 10 ถึง 52 องศาเซลเซียส ในกรณีที่อุณหภูมิของชิ้นงาน
ทดสอบไม่อยู่ในช่วงดังกล่าว ให้ใช้แท่งปรับเทียบมาตรฐาน ทาการสอบเทียบคุณภาพของชุดน้ายาที่ใช้ในการทดสอบและ
กระบวนการทดสอบ
3. ถ้าใช้เพนิแทรนต์ (Penetrant) แบบมองเห็นด้วยแสงสว่าง ต้องทดสอบในบริเวณที่มีความสว่างของแสงอย่างน้อย
1000 ลักซ์ (100 ฟุต-แคนเดลา) บนพื้นผิวทดสอบ
4. ถ้าใช้เพนิแทรนต์แบบเรืองแสงในการทดสอบ ต้องทดสอบในบริเวณที่มืดภายใต้แสงแบล็กไลท์ (Black Light) ผู้
ทดสอบต้องอยู่ในบริเวณที่มืดอย่างน้อย 5 นาที ก่อนทดสอบเพื่อให้สายตาคุ้นเคยกับความมืด โคมแบล็กไลท์ (Black Light)
ที่ใช้ต้องเปิดทิ้งไว้อย่างน้อย 5 นาที และต้องวัดความเข้มส่องสว่างของแสงได้ไม่ต่ากว่า 1000 ไมโครวัตต์ต่อตารางเซนติเมตร
บนผิวทดสอบ โดยต้องตรวจวัดทุกๆ 8 ชั่วโมง หรือเมื่อเปลี่ยนสถานที่ทดสอบและเปลี่ยนหลอดไฟ
5. พ่นคลีนเนอร์ (Cleaner) บนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบเพื่อชะล้างสิ่งสกปรกออกจนผิวบริเวณนั้นสะอาดและ
ปล่อยให้คลีนเนอร์ (Cleaner) ระเหยจนแห้ง
6. พ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบ ควรระวังการไหลของสารแทรกซึมที่อาจเกิด
จากผิวชิ้นงานไม่ได้ระนาบหรือเป็นสันนูนซึ่งอาจมีผลให้บางบริเวณได้รับเพนิแทรนต์ (Penetrant) ไม่เพียงพอ ในกรณีนี้ควร
พ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) เพิ่มเติมตามความจาเป็น หลังจากพ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) เสร็จให้ปล่อยทิ้งไว้อย่างน้อย 5
นาที หรือมากกว่า ตามแต่ชนิดของข้อบกพร่องและข้อแนะนาของบริษัทผู้ผลิตสารแทรกซึมหรือตามระเบียบปฏิบัติงานที่
ต้องการทดสอบ
7. ใช้เศษผ้าเช็ดเพนิแทรนต์ (Penetrant) ส่วนเกินที่ติดอยู่บนผิวชิ้นงานออกจนหมดจนเหลือเฉพาะส่วนที่เป็นคราบที่
ไม่สามารถเช็ดออกได้ (ในทางปฏิบัติคือไม่มีสีของสารแทรกซึมติดอยู่ที่เศษผ้าสาหรับสารแทรกซึมแบบมองเห็นได้ด้วยแสง
สว่าง)
8. พ่นริมูฟเวอร์ (Remover) ลงบนเศษผ้าและเช็ดบนชิ้นงานอย่างระมัดระวังเพื่อกาจัดเพนิแทรนต์ (Penetrant)
ส่วนเกินที่ติดอยู่บนผิวชิ้นงานทดสอบออก สังเกตสีหรือการเรืองแสงของเพนิแทรนต์ (Penetrant) ว่าเช็ดออกหมดหรือไม่
ระวังไม่ให้เช็ดผิวชิ้นงานมากเกินไปเพราะอาจทาให้เพนิแทรนต์ (Penetrant) ที่อยู่ในข้อบกพร่องหลุดออกมาด้วย และห้าม
พ่นริมูฟเวอร์ (Remover) ลงบนผิวชิ้นงานโดยตรง
9. ภายหลังเช็ดชิ้นงานให้สะอาดแล้วให้พ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer) ลงบนชิ้นงานอย่างระมัดระวัง โดยต้องทา
ให้ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) กระจายตัวอย่างสม่าเสมอและมีลักษณะเป็นแผ่นฟิล์มบางบนชิ้นงาน การพ่นดีเวลลอปเปอร์
(Developer) หนาเกินไปอาจทาให้ไม่สามารถทดสอบหาข้อบกพร่องขนาดเล็กได้และถ้าชิ้นงานไม่สะอาดเพียงพอ พื้นผิวของ
ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) จะเป็นสีชมพูอ่อนซึ่งทาให้การแปลผลยากขึ้น
10. เมื่อดีเวลลอปเปอร์ (Developer) แห้งให้สังเกตการเปลี่ยนสี หรือการเรืองแสงของดีเวลลอปเปอร์ (Developer) ที่
เกิดจากการดูดซับเพนิแทรนต์ (Penetrant) ออกจากข้อบกพร่อง และพิจารณารอยบ่งชี้ที่เกิดขึ้นว่าเกิดจากข้อบกพร่องจริงหรือ
เป็นรอยบ่งชี้แปลกปลอม โดยควรสังเกตจุดเริ่มต้นและการเกิดภาพของรอยบ่งชี้เพื่อประกอบการพิจารณาว่ารอยบ่งชี้ที่ตรวจ
พบเป็นรอยบ่งชี้ชนิดใด การแปลผลการทดสอบให้กระทาภายหลังพ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer) อย่างน้อย 7 นาที และไม่
เกิน 60 นาที
11. การทาความสะอาดภายหลังการทดสอบจะกระทาหลังจากการประเมินและทาเอกสารเสร็จสิ้นโดยใช้
กระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชิ้นส่วนของชิ้นงานทดสอบ
รูปที่ 1.2-7 แสดงการทาความสะอาดก่อนการทดสอบ
รูปที่ 1.2-8 แสดงการพ่นสารคลีนเนอร์ (Cleaner) /ริมูฟเวอร์ (Remover)
ระยะห่าง 2 นิ้ว
รูปที่ 1.2-9 แสดงการพ่นสารแทรกซึมเพนิแทรนต์ (Penetrant)
ข้อเสนอแนะ
- พ่นคลีนเนอร์ (Cleaner) บนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบควรมีระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ้นงานประมาณ 2 นิ้ว
- พ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบ ควรมีระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ้นงานประมาณ 3
นิ้ว
- การพ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer)ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบ ควรมีระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ้นงาน
ประมาณ 12 นิ้ว(1ฟุต)
-
รูปที่ 1.2-10 แสดงการกาจัดสารแทรกซึม เพนิแทรนต์ (Penetrant) ออก
ระยะห่าง 3 นิ้ว
รูปที่ 1.2-11 แสดงการพ่นหรือทาดีเวลลอปเปอร์ (Developer)
รูปที่ 1.2-12 แสดงการตีความและประเมินผล
รูปที่ 1.2-13 แสดงการล้างทาความสะอาดชิ้นงานหลังการทดสอบ
รูปที่ 1.2-14 แสดงหลังจากทาการทดสอบเสร็จแล้ว ต้องทาความสะอาดชิ้นงานเสมอ
ระยะห่างประมาณ
12 นิ้ว (1ฟุต)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
Pannathat Champakul
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
Sangchai Piraruk
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
พัน พัน
 

Mais procurados (20)

2 9
2 92 9
2 9
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
2 10
2 102 10
2 10
 
1 5
1 51 5
1 5
 
1 4
1 41 4
1 4
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
2 5
2 52 5
2 5
 
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
รวมโจทย์+เฉลย บทที่ 5 การไหลภายในท่อ (Fluid Mechanics)
 
1 3
1 31 3
1 3
 
2 2
2 22 2
2 2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
1 6
1 61 6
1 6
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้าอุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
 
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 

Mais de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

1 2

  • 1. เรื่อง 1.2 การตรวจสอบด้วยน้ายาแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing : PT) การตรวจสอบแบบไม่ทาลายสภาพ (Non Destructive Test) หมายถึง การตรวจสอบสมบัติเฉพาะหรือการตรวจสอบสภาพของชิ้นงานด้วยกรรมวิธีต่างๆ ซึ่งเป็นการไม่ทาให้ ชิ้นงานที่ถูกตรวจสอบเกิดความเสียหาย ที่นิยมเรียกชื่อย่อว่า NDT โดยการตรวจสอบนามาใช้ประโยชน์ในด้านของการค้นหา ข้อบกพร่องของชิ้นงานเพื่อเป็นการประกันคุณภาพของชิ้นงาน โดยมีกรรมวิธีในการตรวจสอบดังนี้ 1.2 การตรวจสอบด้วยน้ายาแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing ) มาตรฐานนี้ใช้สาหรับทดสอบงานเชื่อมของโครงเหล็กรูปพรรณด้วยสารแทรกซึมสาหรับงานเชื่อมที่เป็น ส่วนประกอบของงานโครงเหล็กรูปพรรณที่มีภาคตัดกลวงหรือตันและท่อชนิดต่างๆ วัตถุประสงค์ของการทดสอบนี้เพื่อทดสอบหาลักษณะบกพร่องใดๆ (Discontinuity) ที่ผิวและรอยบกพร่องใต้ผิวที่มี รอยเปิดที่ผิว ในบริเวณรอยเชื่อมและบริเวณที่ได้รับผลกระทบ จากความร้อน (Heat Affected Zone) ซึ่งมีผลต่อความแข็งแรง ของโครงสร้างที่รับภาระสถิตและภาระพลวัตทั้งความไม่สมบูรณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเชื่อมสร้าง การเชื่อมซ่อม รอย บกพร่องที่เกิดขึ้นจากการใช้งานและการทดสอบเมื่อครบวาระมาตรฐานนี้ระบุเกณฑ์การพิจารณาการยอมรับความไม่ต่อเนื่อง ของรอยเชื่อม 1.2.1. องค์ประกอบที่จาเป็นในการตรวจสอบแบบไม่ทาลายสภาพ 1. ตัวกลางหรือแหล่งพลังงานที่ใช้ตรวจสอบ 2. สภาพหรือสมบัติของชิ้นงานต้องเหมาะสมกับตัวกลางที่จะใช้ค้นหาจุดบกพร่องแต่ละชนิด 3. ตัวกลางมีความสามารถที่จะค้นหาการกระจายของจุดบกพร่อง 4. เทคนิคการบันทึกผล/แสดงผลจากการค้นหาจุดบกพร่องต้องเหมาะสมที่จะใช้ประเมินหรือแปลผล 5. ผู้ตรวจสอบต้องผ่านการอบรม สามารถแปลหรืออ่านผลการทดสอบได้ 1.2.2. หลักการการตรวจสอบด้วยของแทรกซึม 1. ให้สารแทรกซึมบนผิวชิ้นงาน เพื่อให้เข้าไปในความไม่ต่อเนื่องที่เปิดสู่ผิว ด้วยปฏิกิริยาแบบ Capillary Action โดยทิ้งเวลาไว้พักหนึ่ง เรียกว่า Dwell Time 2. ทาความสะอาดเอาสารแทรกซึมส่วนเกินออกแล้วลงสาร ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) เพื่อดึงเอาสารแทรกซึมที่ อยู่ในความไม่ต่อเนื่องออกมา 3. ไม่สามารถทดสอบกับวัสดุที่ผิวเป็นรูพรุนได้ เพราะไม่สามารถจะตีความและประเมินผลได้
  • 2. รูปที่ 1.2-1 แสดงหลักการการตรวจสอบด้วยของแทรกซึม ที่มา : Qualitech co., Ltd 1.2.3. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบด้วยของแทรกซึม เป็นการทดสอบแบบไม่ทาลายสภาพ ใช้หาจุดบกพร่องบนพื้นผิว (Surface Method) ชิ้นงาน ที่เป็นโลหะ และอโลหะ ได้ทุกชนิด ยกเว้นเนื้อวัสดุงานที่มีลักษณะผิวหยาบ พรุน ดูดซึมของเหลวง่ายเพื่อใช้ค้นหาความไม่ต่อเนื่องหรือจุดบกพร่อง ชนิดรูพรุน (Porosity) และรอยร้าว (Cracks) บริเวณผิวหน้าแนวเชื่อมและบริเวณผลกระทบร้อนจากการเชื่อม ที่ไม่สามารถ มองเห็นด้วยตาเปล่าตามปกติได้ มาตรฐานที่ใช้ในการตรวจสอบ - มาตรฐาน ASTM International ASTM E165: Standard Test Method for Liquid Penetrant Examination - มาตรฐาน EN ISO 3452-2: Non-destructive testing - - Penetrant testing - - Part 2: Testing of Penetrant materials - มาตรฐาน International Organization for Standardization EN ISO 3452-3: Non-Destructive Testing-Penetrant Testing – Part 3: Reference Test Blocks - มาตรฐาน Japanese Industrial Standards JIS Z 2343-3:2001 Non-destructive testing – Penetrant testing – Part3: Reference test blocks 1.2.4. การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึมงานเชื่อม วิธีการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึมสาหรับรอยเชื่อมในงานเชื่อมแบ่งได้ดังนี้ 1. เหล็กโครงสร้างที่ระบุค่าหน่วยแรงดึงลากขั้นต่าไม่เกินกว่า 690 เมกาปาสกาล (7,036 กิโลกรัมแรงต่อตาราง เซนติเมตร) 2. เหล็กโครงสร้างต้องมีความหนาตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร ขึ้นไป 3. ไม่ใช้กับระบบท่อและถังที่มีความดัน 4. มาตรฐานนี้จะใช้กับการทดสอบแบบรอยเชื่อมโครงเหล็กรูปพรรณด้วยสารแทรกซึมแบบมองเห็นด้วยแสงสว่าง (Visible Penetrant) ที่สามารถมองเห็นภายใต้แสงปกติ หรือแบบเรืองแสง (Fluorescent Penetrant) ที่สามารถมองเห็นภายใต้ แสงแบล็คไลท์ (Black Light) 5. มาตรฐานนี้ใช้หน่วย SI (International System Units) เป็นหลักและมีหน่วยเมตริกกากับในวงเล็บต่อท้าย โดยการ แปลงหน่วยของแรงใช้ 1 กิโลกรัมแรงเท่ากับ 9.806 นิวตัน
  • 3. การเชื่อม (Weld) หมายถึง การประสานให้ชิ้นส่วนโลหะหลอมรวมเป็นเนื้อเดียวกันบริเวณรอยต่อชิ้นงานที่ต้องการ ให้ประสานติดกัน การทดสอบด้วยการแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing) หมายถึง การใช้สารแทรกซึม หารอยบกพร่องจากผิวของรอยเชื่อม หรือผิวของชิ้นงาน สารแทรกซึม (Liquid Penetrant) จะแทรกซึมเข้าไปในรอยบกพร่อง ที่เป็นโพรงช่องว่างของเนื้อโลหะที่ทาการทดสอบ โดยอาศัยหลักการของการแทรกซึมเข้าช่องว่างขนาดเล็ก (Capillary Action) ความสามารถของการแทรกซึมจะขึ้นอยู่กับความตึงผิว ความหนืด และความสามารถในการเปียกผิวชิ้นงาน (Wetting Ability) ของการแทรกซึมนั้น เมื่อขจัดสารแทรกซึมส่วนเกินที่อยู่ตามผิวภายนอกชิ้นงานออกแล้วใช้สารดูดซับสารแทรกซึม ที่ตกค้างภายในรอยบกพร่องออกมา จะทาให้สามารถทดสอบพบรอยบกพร่องที่มีอยู่ได้ ความไม่ต่อเนื่อง (Discontinuity) หมายถึง ความไม่ต่อเนื่องของเนื้อวัสดุ เช่น การขาดความต่อเนื่องทางเชิงกล หรือ เชิงโลหะวิทยา หรือ เชิงกายภาพ เป็นต้น ความไม่ต่อเนื่องของวัสดุอาจไม่ใช่รอยบกพร่องก็ได้ขึ้นอยู่เกณฑ์การยอมรับที่ กาหนดตามมาตรฐานนี้ โครงสร้างเหล็ก (Steel Structure) หมายถึง โครงสร้างที่ประกอบจากเหล็กรูปพรรณที่มีภาคตัดกลวงหรือตัน ท่อที่มี หน่วยแรงครากไม่เกิน 690 เมกาปาสกาล (7036 กิโลกรัมแรงต่อตารางเซนติเมตร) และมีความหนาในทุกส่วนภาคตัด ไม่น้อย กว่า 3 มิลลิเมตร บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากความร้อน (Heat Affected Zone) หมายถึง บริเวณข้างรอยเชื่อมที่ได้รับผลกระทบจาก ความร้อนของรอยเชื่อมจากการนาความร้อน อาจทาให้โครงสร้างและสมบัติของวัสดุที่เชื่อมตรงบริเวณนั้นเปลี่ยนแปลง รอยบกพร่อง (Defect) หมายถึง สิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับรอยเชื่อมหรือบริเวณรอบๆ แนวเชื่อมที่ไม่สามารถยอมรับได้ ซึ่งอาจมีผลต่อความมั่นคง แข็งแรงหรือความปลอดภัยในการใช้งานไม่รวมถึงรอยบกพร่องทางโลหะวิทยาและรอยบกพร่อง ทางมิติ รอยบ่งชี้ (Indicator) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏจากรอยบกพร่องเป็นรูปร่างต่างๆ เช่น เป็นเส้นยาว หรือรูปร่างกลม รอยบ่งชี้แปลกปลอม (False Indication) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏซึ่งไม่ใช่ข้อบกพร่องจริงโดยอาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น สนิม ความสกปรก สะเก็ดสนิมของเหล็ก สแลกเชื่อม ฯลฯ ที่ทาให้เห็นเหมือนข้อบกพร่อง 1.2.5. เครื่องมือทดสอบและวัสดุสิ้นเปลือง ชุดน้ายาทดสอบด้วยสารแทรกซึมสาหรับใช้ในทดสอบเป็นจุดหรือเฉพาะตาแหน่งแบบกระป๋ องฉีด (Spray Can) ประกอบด้วย รูปที่ 1.2-2 แสดงลักษณะกระป๋ องอุปกรณ์ (เทคนิคแบบ 3 กระป๋ องเท่านั้น)
  • 4. คลีนเนอร์ (Cleaner) หมายถึง สารละลายที่ใช้สาหรับการทาความสะอาดผิวชิ้นงานก่อนจะทาการทดสอบด้วยสาร แทรกซึม ริมูฟเวอร์ (Remover) หมายถึง ตัวทาละลายที่ใช้สาหรับกาจัดสารแทรกซึมส่วนเกินออกจากผิวหน้าชิ้นงานทดสอบ รูปที่ 1.2-3 แสดงลักษณะกระป๋ องน้ายาทาความสะอาดคลีนเนอร์ (Cleaner) ริมูฟเวอร์ (Remover) เพนิแทรนต์ (Penetrant) หมายถึง สารแทรกซึมที่ใช้สาหรับแทรกซึมเข้าไปในรอยบกพร่องต่างๆ ต้องมีสมบัติ ดังต่อไปนี้ เพนิแทรนต์ (Penetrant) ต้องสามารถกาจัดออกได้ด้วยตัวทาละลาย (Solvent) เพนิแทรนต์ (Penetrant) อาจใช้เป็น แบบมองเห็นด้วยแสงสว่าง (Visible Penetrant) หรือแบบเรืองแสง (Fluorescent Penetrant) รูปที่ 1.2-4 แสดงลักษณะกระป๋ องสารแทรกซึม เพนิแทรนต์ (Penetrant) ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) หมายถึง สารที่ใช้สาหรับดูดซึมเพนิแทรนต์ (Penetrant) ออกจากข้อบกพร่องต่างๆ ออกมาที่ผิวชิ้นงานมีสมบัติแขวนลอยอยู่ในตัวทาละลายที่ไม่มีส่วนผสมของน้า (No aqueous Wet Developer)
  • 5. รูปที่ 1.2-5 แสดงลักษณะกระป๋ องดีเวลลอปเปอร์ (Developer) ชุดน้ายาต้องมีสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน ASTM E165 หรือ EN ISO 3452-2 หรือมาตรฐานแห่งชาติอื่นที่เทียบเท่า ชุดน้ายาต้องผลิตจากผู้ผลิตเดียวกัน และสามารถใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องจัดเก็บในสถานที่เหมาะสมตาม คาแนะนาของผู้ผลิต เพนิแทรนต์ (Penetrant) แบบเรืองแสง (Fluorescent) อาจเสียสมบัติการเรืองแสงถ้าเก็บอยู่ในที่ร้อนเป็น เวลานาน เศษผ้า สีขาวสามารถดูดซับน้ายาทดสอบได้ดี ไม่เป็นขุย หรือขนเพื่อใช้สาหรับเช็ดทาความสะอาดผิวหน้าชิ้นงาน และกาจัดสารแทรกซึมส่วนเกินออกจากผิวหน้า เครื่องกาเนิดแสงแบล็กไลท์ (Black Light) ซึ่งหลอดกาเนิดแสงเป็นชนิดใดก็ได้โดยความยาวคลื่นแสงอยู่ในช่วง 320 ถึง 380 นาโนเมตร และสามารถให้ความเข้มการส่องสว่างไม่ต่ากว่า 1000 ไมโครวัตต์ต่อตารางเซนติเมตร รูปที่ 1.2-6 แสดงลักษณะเครื่องกาเนิดแสงแบล็กไลท์ (Black Light)
  • 6. 1.2.6. การปฏิบัติการตรวจสอบ ผู้ทดสอบต้องระมัดระวังอันตรายจากการใช้สารแทรกซึม เช่น การสัมผัส การสูดหายใจการติดไฟ เป็นต้น และการ จัดเตรียมเครื่องป้ องกันอันตรายที่จาเป็นและเหมาะสม การปฏิบัติการทดสอบให้ดาเนินการดังนี้ 1. การเตรียมผิวชิ้นงานทดสอบ 2. โดยปกติการทดสอบที่ผิวงานหลังการเชื่อมเสร็จ (As Weld) จะให้ผลดี แต่อาจต้องขัดผิว หรือตกแต่งผิวงานกรณี ที่ผิวงานมีสิ่งที่ทาให้เกิดรอยบ่งชี้แปลกปลอม 3. กรณีผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบมีการกัดกร่อนเนื่องจากสนิมต้องขจัดสนิมออกให้หมดจนถึงเนื้อโลหะอาจใช้ วิธีการขัด บริเวณงานเชื่อมและบริเวณที่ได้รับอิทธิพลเนื่องจาก ความร้อน หรือห่างจากขอบงานเชื่อมอย่างน้อย 25 มิลลิเมตร ต้องแห้งปราศจากสิ่งสกปรก เช่น คราบน้ามัน จารบี เศษผ้าเม็ดโลหะกระเด็น สแลกเชื่อม สี หรือสิ่งอื่นๆ ที่ไม่พึงประสงค์ที่ อาจปิดรอยเปิด ของข้อบกพร่องได้ 4. ชนิดของสารทาความสะอาดสามารถใช้ผงซักฟอก ตัวทาละลายธรรมชาติ สารละลายกาจัดสเกล และน้ายาลอกสี 5. การเตรียมผิวต้องระวังมิให้เศษผ้าต่างๆ เข้าไปอุดตันในข้อบกพร่องหรือมิให้ใช้กระบวนการทางกลที่จะทาให้ ปากของข้อบกพร่องเสียรูปจนปิดข้อบกพร่องนั้นไป 1.2.7. ขั้นตอนการตรวจสอบ 1. ทาความสะอาดเบื้องต้นตามขั้นตอนการเตรียมผิวของชิ้นงานทดสอบในข้อ 2. ผิวของชิ้นงานทดสอบต้องแห้งและมีอุณหภูมิระหว่าง 10 ถึง 52 องศาเซลเซียส ในกรณีที่อุณหภูมิของชิ้นงาน ทดสอบไม่อยู่ในช่วงดังกล่าว ให้ใช้แท่งปรับเทียบมาตรฐาน ทาการสอบเทียบคุณภาพของชุดน้ายาที่ใช้ในการทดสอบและ กระบวนการทดสอบ 3. ถ้าใช้เพนิแทรนต์ (Penetrant) แบบมองเห็นด้วยแสงสว่าง ต้องทดสอบในบริเวณที่มีความสว่างของแสงอย่างน้อย 1000 ลักซ์ (100 ฟุต-แคนเดลา) บนพื้นผิวทดสอบ 4. ถ้าใช้เพนิแทรนต์แบบเรืองแสงในการทดสอบ ต้องทดสอบในบริเวณที่มืดภายใต้แสงแบล็กไลท์ (Black Light) ผู้ ทดสอบต้องอยู่ในบริเวณที่มืดอย่างน้อย 5 นาที ก่อนทดสอบเพื่อให้สายตาคุ้นเคยกับความมืด โคมแบล็กไลท์ (Black Light) ที่ใช้ต้องเปิดทิ้งไว้อย่างน้อย 5 นาที และต้องวัดความเข้มส่องสว่างของแสงได้ไม่ต่ากว่า 1000 ไมโครวัตต์ต่อตารางเซนติเมตร บนผิวทดสอบ โดยต้องตรวจวัดทุกๆ 8 ชั่วโมง หรือเมื่อเปลี่ยนสถานที่ทดสอบและเปลี่ยนหลอดไฟ 5. พ่นคลีนเนอร์ (Cleaner) บนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบเพื่อชะล้างสิ่งสกปรกออกจนผิวบริเวณนั้นสะอาดและ ปล่อยให้คลีนเนอร์ (Cleaner) ระเหยจนแห้ง 6. พ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบ ควรระวังการไหลของสารแทรกซึมที่อาจเกิด จากผิวชิ้นงานไม่ได้ระนาบหรือเป็นสันนูนซึ่งอาจมีผลให้บางบริเวณได้รับเพนิแทรนต์ (Penetrant) ไม่เพียงพอ ในกรณีนี้ควร พ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) เพิ่มเติมตามความจาเป็น หลังจากพ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) เสร็จให้ปล่อยทิ้งไว้อย่างน้อย 5 นาที หรือมากกว่า ตามแต่ชนิดของข้อบกพร่องและข้อแนะนาของบริษัทผู้ผลิตสารแทรกซึมหรือตามระเบียบปฏิบัติงานที่ ต้องการทดสอบ 7. ใช้เศษผ้าเช็ดเพนิแทรนต์ (Penetrant) ส่วนเกินที่ติดอยู่บนผิวชิ้นงานออกจนหมดจนเหลือเฉพาะส่วนที่เป็นคราบที่ ไม่สามารถเช็ดออกได้ (ในทางปฏิบัติคือไม่มีสีของสารแทรกซึมติดอยู่ที่เศษผ้าสาหรับสารแทรกซึมแบบมองเห็นได้ด้วยแสง สว่าง)
  • 7. 8. พ่นริมูฟเวอร์ (Remover) ลงบนเศษผ้าและเช็ดบนชิ้นงานอย่างระมัดระวังเพื่อกาจัดเพนิแทรนต์ (Penetrant) ส่วนเกินที่ติดอยู่บนผิวชิ้นงานทดสอบออก สังเกตสีหรือการเรืองแสงของเพนิแทรนต์ (Penetrant) ว่าเช็ดออกหมดหรือไม่ ระวังไม่ให้เช็ดผิวชิ้นงานมากเกินไปเพราะอาจทาให้เพนิแทรนต์ (Penetrant) ที่อยู่ในข้อบกพร่องหลุดออกมาด้วย และห้าม พ่นริมูฟเวอร์ (Remover) ลงบนผิวชิ้นงานโดยตรง 9. ภายหลังเช็ดชิ้นงานให้สะอาดแล้วให้พ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer) ลงบนชิ้นงานอย่างระมัดระวัง โดยต้องทา ให้ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) กระจายตัวอย่างสม่าเสมอและมีลักษณะเป็นแผ่นฟิล์มบางบนชิ้นงาน การพ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer) หนาเกินไปอาจทาให้ไม่สามารถทดสอบหาข้อบกพร่องขนาดเล็กได้และถ้าชิ้นงานไม่สะอาดเพียงพอ พื้นผิวของ ดีเวลลอปเปอร์ (Developer) จะเป็นสีชมพูอ่อนซึ่งทาให้การแปลผลยากขึ้น 10. เมื่อดีเวลลอปเปอร์ (Developer) แห้งให้สังเกตการเปลี่ยนสี หรือการเรืองแสงของดีเวลลอปเปอร์ (Developer) ที่ เกิดจากการดูดซับเพนิแทรนต์ (Penetrant) ออกจากข้อบกพร่อง และพิจารณารอยบ่งชี้ที่เกิดขึ้นว่าเกิดจากข้อบกพร่องจริงหรือ เป็นรอยบ่งชี้แปลกปลอม โดยควรสังเกตจุดเริ่มต้นและการเกิดภาพของรอยบ่งชี้เพื่อประกอบการพิจารณาว่ารอยบ่งชี้ที่ตรวจ พบเป็นรอยบ่งชี้ชนิดใด การแปลผลการทดสอบให้กระทาภายหลังพ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer) อย่างน้อย 7 นาที และไม่ เกิน 60 นาที 11. การทาความสะอาดภายหลังการทดสอบจะกระทาหลังจากการประเมินและทาเอกสารเสร็จสิ้นโดยใช้ กระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชิ้นส่วนของชิ้นงานทดสอบ รูปที่ 1.2-7 แสดงการทาความสะอาดก่อนการทดสอบ รูปที่ 1.2-8 แสดงการพ่นสารคลีนเนอร์ (Cleaner) /ริมูฟเวอร์ (Remover) ระยะห่าง 2 นิ้ว
  • 8. รูปที่ 1.2-9 แสดงการพ่นสารแทรกซึมเพนิแทรนต์ (Penetrant) ข้อเสนอแนะ - พ่นคลีนเนอร์ (Cleaner) บนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบควรมีระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ้นงานประมาณ 2 นิ้ว - พ่นเพนิแทรนต์ (Penetrant) ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบ ควรมีระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ้นงานประมาณ 3 นิ้ว - การพ่นดีเวลลอปเปอร์ (Developer)ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่จะทดสอบ ควรมีระยะห่างระหว่างหัวฉีดกับชิ้นงาน ประมาณ 12 นิ้ว(1ฟุต) - รูปที่ 1.2-10 แสดงการกาจัดสารแทรกซึม เพนิแทรนต์ (Penetrant) ออก ระยะห่าง 3 นิ้ว
  • 9. รูปที่ 1.2-11 แสดงการพ่นหรือทาดีเวลลอปเปอร์ (Developer) รูปที่ 1.2-12 แสดงการตีความและประเมินผล รูปที่ 1.2-13 แสดงการล้างทาความสะอาดชิ้นงานหลังการทดสอบ รูปที่ 1.2-14 แสดงหลังจากทาการทดสอบเสร็จแล้ว ต้องทาความสะอาดชิ้นงานเสมอ ระยะห่างประมาณ 12 นิ้ว (1ฟุต)