SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 20
Baixar para ler offline
ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง
                 การเขียนความเรียงขั้นสูง มีส่วนประกอบที่สาคัญ ๓ ส่วน ดังต่อไปนี้

ส่วนที่ ๑ ส่วนนา
๑. ปก
๑.๑ ปกนอก ปกอ่อนพื้นสีชมพูอ่อน ตัวหนังสือสีน้าเงิน ตรงสันให้มีชื่อผู้จัดทา ชื่อเรื่อง และ ปี พ.ศ. (ปี
การศึกษา) ตามลาดับ (หน้าปกตามตัวอย่าง)
๑.๒ ปกใน (ภาษาไทย) พิมพ์บนกระดาษขาว A4 ข้อความเหมือนปกนอก
๑.๓ ปกใน (ภาษาอังกฤษ) รูปแบบเหมือนข้อ ๑.๒

๒. หน้าอนุมัติรายงานการเขียนความเรียงขั้นสูง
ใช้เพียง ๑ หน้ากระดาษเท่านั้น วันที่อนุมัติ จะต้องเป็นวันที่ขึ้นสอบ และมีรายชื่อกรรมการ     สอบพร้อม
ลายเซ็นจริงของกรรมการ

๓. บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
บทคัดย่อ คือ ข้อมูลสรุปเนื้อหาของการเขียนความเรียงขั้นสูง ใช้ข้อความสั้นกะทัดรัด ชัดเจนทาให้ผู้อ่าน
ทราบถึงเนื้อหาของการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว
โดยให้มีเนื้อหาใน ๑ หน้ากระดาษเท่านั้น
บทคัดย่อควรมี ๓ – ๔ ย่อหน้า โดยแต่ละย่อหน้าควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย และขอบเขตของ
การเขียนความเรียงขั้นสูง
วิธีการพัฒนา รวมถึงเครื่องมือและโปรแกรมที่ใช้ วิธีการเก็บข้อมูล จานวนและลักษณะของงานที่ศึกษา
ผลการทาว่าได้ระบบอะไร ขนาดเท่าใด เหมาะสมที่จะใช้งานในลักษณะใด

๔. บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
ลักษณะของรูปแบบและเนื้อหา จะเหมือนกับบทคัดย่อภาษาไทย ตามข้อ ๓

๕. กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ คือข้อความกล่าวขอบคุณผู้ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อการเขียน
ความเรียงขั้นสูง ความยาวไม่เกิน ๑ หน้า

๖. สารบัญ
สารบัญ เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสาคัญทั้งหมดของการเขียนความเรียงขั้นสูง เรียงตามลาดับเลข
หน้า
ตามที่ได้กาหนดไว้ หัวข้อที่พิมพ์ในหน้าสารบัญต้องตรงกับหัวข้อที่อยู่ในเนื้อหา หากมีเลขลาดับหน้าหัวข้อ
ต้องนามาเขียนไว้ด้วย
(การให้เลขลาดับหน้าหัวข้อต่าง ๆ ในแต่ละบทจึงต้องเป็นระบบเดียวกัน)

ส่วนที่ ๒ ส่วนของเนื้อหา
๑. บทที่ ๑ บทนา
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เป็นการกล่าวถึงความเป็นมาของระบบการดาเนินงาน
ลักษณะที่เป็นอยู่เดิมเป็นอย่างไร
หรือสิ่งที่จะทานั้นมีความเป็นมาอย่างไร ความสนใจหรือเหตุผลว่าทาไมถึงสนใจในการเขียนความเรียงขั้น
สูง เรื่องนี้ เมื่อดาเนินงานการเขียนความเรียงขั้นสูง
นี้แล้วจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร ในหัวข้อนี้ควรเขียนแบ่งเป็นย่อหน้า โดยแต่ละประเด็นอาจกล่าวถึง
ภูมิหลังของการศึกษาเรื่องนั้น ๆ เช่น ประวัติ ที่มา
ต้นเหตุหรือทฤษฎีของเรื่องที่จะทาการศึกษา การดาเนินงานของหน่วยงานองค์กรที่ศึกษา หรือเรื่องที่จะ
ศึกษาว่ามีการดาเนินงานอย่างไรปัญหาที่เกิดขึ้น
หรือต้องการที่จะพัฒนาในส่วนไหน (Problem/Requirement) โดยยังไม่ต้องกล่าวถึงระบบหรือรูปแบบที่จะ
นามาแก้ปัญหาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสนับสนุน ในการแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือสิ่งที่ต้องการจะพัฒนาและย่อหน้า
สุดท้ายควรมีการสรุปว่า จะพัฒนา .......................
ด้วย/โดย..................................... เพื่อประโยชน์.......................................
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ให้บอกความต้องการและสิ่งที่ต้องการจะทาให้สาเร็จ โดยเขียนเป็นข้อ
ย่อย โดยปกติวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ควรจะประมาณ ๒-๓ ข้อ และแต่ละข้อความสั้นกะทัดรัดได้ใจความ วัตถุประสงค์ข้อแรกคือเพื่อพัฒนา
ระบบ.... หรือการทาให้บรรลุถึงชื่อของการศึกษานั้น ๆ
๑.๓ ขอบเขตการดาเนินงาน เป็นการกล่าวถึงขอบเขตของการเขียนความเรียงขั้นสูง ว่าจะจัดทาในส่วนใด
ครอบคลุมเนื้อหาหรือ สิ่งที่ต้องการทาแค่ไหน
การบอกขอบเขตทาให้งานถูกจากัดให้แคบลง นอกจากนี้ควรกาหนดขอบเขตข้อมูลที่จะปรากฏในชิ้นงาน
หรือในฐานที่จะใช้ทดสอบในกรณีมีข้อจากัดที่เกิด
จากฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ที่คาดว่าจะใช้ในการพัฒนาชิ้นงาน ควรเขียนข้อจากัดนั้นและให้เหตุผล
ประกอบด้วย
๑.๔ เครื่องมือในการดาเนินงาน ให้กาหนดอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่คาดว่าจะใช้เมื่อดาเนินการ
เขียนรายงาน
๑.๕ ขั้นตอนในการดาเนินงาน ให้แบ่งการดาเนินงาน ตามวิธีของการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
๑.๕.๑ นาเสนอหัวข้อต่ออาจารย์ที่ปรึกษา (ศึกษาทฤษฎีและเทคโนโลยีที่ใช้)
๑.๕.๒ ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
๑.๕.๓ วิเคราะห์ข้อมูล
๑.๕.๔ ออกแบบโปรแกรม/ระบบ
๑.๕.๕ พัฒนา-ทดสอบประเมินผล
๑.๕.๖ นาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ
๑.๕.๗ จัดทาเอกสาร
๑.๖ ระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาตารางแสดงระยะเวลาในการดาเนินงานการเขียนความเรียงขั้นสูง
ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนสุดท้าย
โดยแสดงเป็นตารางกิจกรรม หรือ Gantt Chart
๑.๗ นิยามศัพท์เฉพาะ ให้กาหนดหรือให้ความหมายของคาสาคัญหรือศัพท์เฉพาะเพื่อให้เข้าใจได้ถูกต้อง
ตรงกัน
๑.๘ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ให้กล่าวถึงผลที่จะได้รับของการเขียนความเรียงขั้นสูง เมื่อทาสาเร็จว่ามี
ประโยชน์อย่างไรบ้าง ซึ่งผลที่คาดว่าจะได้รับ
โดยส่วนมากจะสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายงาน โดยผลที่คาดว่าจะได้รับข้อแรกก็คือ การได้ระบบ
.... ที่พัฒนาด้วยคอมพิวเตอร์ หรือการบรรลุถึงชื่อของ
การเขียนความเรียงขั้นสูงนั้น ๆ และต้องเป็นข้อความที่วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม
ผลที่คาดว่าจะได้รับและวัตถุประสงค์แต่ละข้อเป็นตัวชี้วัดที่สาคัญในการพิจารณาในห้องสอบเพื่อบอกถึง
การดาเนินการเขียนความเรียงขั้นสูงตามที่กาหนด
การปรับปรุงแก้ไขในการสอบอนุมัติการเขียนความเรียงขั้นสูงถือเป็นข้อตกลงร่วมกันในการดาเนินการ
เขียนรายงานความเรียงขั้นสูงต่อ
ดังนั้น ก่อนตกลงใด ๆ ต้องตระหนักว่าสิ่งใดสามารถเป็นไปได้ / เป็นไปไม่ได้ในศักยภาพส่วนตัวและ
ภายใต้ข้อจากัดต่าง ๆ

๒. บทที่ ๒ ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ในการเขียนความเรียงขั้นสูง ผู้ศึกษาจะต้องทาการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารบทความ และวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องกับงานที่ตนเอง
กาลังทาอยู่ให้ได้มากที่สุด เพื่อดูว่าสิ่งใดทาไปแล้วบ้าง มีข้อบกพร่องอย่างไร มีอะไรที่กาลังดาเนินอยู่
หรือไม่ เพื่อแสดงให้ผู้อ่านเห็นภาพรวม ๆ
เป็นการคัดเลือกเรื่องราวที่สาคัญ และเกี่ยวข้องในการรวบรวมเอกสารมาใช้อ้างอิงในการเขียนวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องนั้น ผู้ศึกษาควรกาหนดหัวข้อใหญ่
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาไว้ก่อนว่ามีเรืองอะไรบ้าง ที่สามารถเกี่ยวโยง ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับเรื่องที่กาลัง
                                          ่
ดาเนินการศึกษาอยู่ จากนั้นจึงแบ่งออกเป็นข้อย่อย
แต่อย่าให้ซ้าซ้อน และควรมีความต่อเนื่อง สิ่งที่มีการค้นคว้าอยู่ก่อนแล้ว ควรมีการจัดกลุ่มเอาไว้ด้วยกัน สิ่ง
ใดที่เป็นเรื่องที่ขัดแย้งกันก็ควรเขียนแยกกันไว้
ผู้ศึกษาจะต้องคัดเลือกเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกันจริง ๆ เท่านั้น และจะต้องนาเรื่องที่เป็นปัจจุบันที่สุดด้วย
วิธีการเขียนควรเป็นการเขียนสรุปด้วยคาพูดของผู้ศึกษา
ถ้าหากมีการคัดลอกจากต้นฉบับ ต้องมีการให้เครดิตผู้ที่ทาก่อนด้วย และต้องทาให้ถี่ถ้วน และต้องไม่ลืม
เขียนชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์
ให้ผู้อ่านได้รับไปด้วย

๓. บทที่ ๓ วิธีดาเนินการ
ควรประกอบด้วย ระเบียบวิธีในการจัดทารายงาน แหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการศึกษา วิธีการสร้างหรือผลิต
ชิ้นงาน
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ การวิเคราะห์ข้อมูล

๔. บทที่ ๔ ผลการศึกษา
การรายงานผลการดาเนินงาน โดยจัดหัวข้อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา การเสนอรายงาน
โครงการ
ในรูปแบบการบรรยายเชิงพรรณนา โดยมีตาราง แผนภูมิ กราฟ หรือภาพอื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการ
อธิบาย ในบทนี้จะนาเสนอ ผลที่ได้จากการดาเนินงาน
จะต้องนาเสนอวิธีการ และขั้นตอนการใช้งานในระบบนั้น ๆ โดยมีการนาภาพ ขั้นตอนต่าง ๆ พร้อมทั้ง
อธิบายการทางานโดยละเอียด

๕. บทที่ ๕ สรุปผลและข้อเสนอแนะ
๕.๑ สรุปผล
- สรุปผลการศึกษาที่ได้จากบทที่ ๕ เอาเฉพาะที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของรายงาน
๕.๒ อภิปรายผล
- อภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ของรายงาน โดยนาเสนอเหตุผลที่เกี่ยวข้องกับข้อค้นพบ
ของการศึกษา
๕.๓ ข้อเสนอแนะ
- เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงดาเนินงานให้ดียิ่งขึ้น

ส่วนที่ ๓ ส่วนประกอบท้ายเล่ม
๑. เอกสารอ้างอิง
การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม เป็นการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้อ้างอิงในการเขียนผลงานนั้น
ๆ โดยอาจรวบรวมเป็นบรรณานุกรม
(Bibliography) หรือเอกสารอ้างอิง (References) ก็ได้
บรรณานุกรม ผู้เขียนอาจนารายการเอกสารอื่นที่มิได้อ้างอิงในเนื้อหามารวบรวมไว้โดยเอกสารนั้นมีความ
เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เขียน
และจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ดังนั้นบรรณานุกรมจึงอาจมีจานวนมากกว่ารายการเอกสารที่ถูกอ้างอิงใน
เนื้อหา
เอกสารอ้างอิง จะรวบรวมเฉพาะรายการที่ถูกอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น ดังนั้น จานวนเอกสารอ้างอิง
ส่วนท้ายเล่ม
จึงมีจานวนเท่ากับเอกสารที่ถูกอ้างอิงในเนื้อหา
** แต่การจัดทาการเขียนความเรียงขั้นสูง กาหนดให้นักเรียน ใช้การอ้างอิงท้ายเล่มเป็นบรรณานุกรม
(Bibliography)

๒. ภาคผนวก
เป็นส่วนที่รายละเอียดปลีกย่อยของเนื้อหาที่ไม่จาเป็นต้องใส่ไว้ในเนื้อหามารวมไว้ตอนท้ายเล่มเพื่ออ้างอิง
ในรายละเอียด
เท่าที่นักศึกษาเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ต่อรายงานฉบับนั้น การจะมีภาคผนวกหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความจาเป็น
และความเหมาะสม
หากมีให้เริ่มภาคผนวกในหน้าถัดจากบรรณานุกรมโดยมีข้อความว่า ภาพผนวกอยู่กลางหน้ากระดาษ
รายละเอียดในภาคผนวกให้แสดงในหน้าถัดไป
หากมีความจาเป็นต้องแบ่งภาคผนวกออกเป็นภาคผนวกย่อย ให้แบ่งเป็น
ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ โดยพิมพ์ชื่อภาคผนวกย่อยไว้กลางบรรทัดแรก
การเริ่มภาคผนวกย่อยทุกครั้งให้ขึ้นหน้าใหม่

๓. ประวัติย่อของผู้ศึกษา
เป็นหน้าที่แจ้งให้ทราบรายละเอียดส่วนตัวบางประการของผู้ศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลที่ต้องการ
ติดต่อกับผู้ศึกษา
เป็นส่วนที่อยู่ท้ายสุดของรายงาน


การอ้างอิงเอกสาร
การอ้างอิงและการเขียนรายการเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม มีรายละเอียดดังนี้
๑. การอ้างอิงเอกสาร
เอกสารต่างๆ ที่นามาใช้ในการจัดทาปัญหาพิเศษ/กรณีศกษาต้องมีการอ้างอิงไว้ในรายงาน และเอกสารทุก
                                                ึ
เล่มที่อ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อหา
จะต้องปรากฏอยู่ในบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ตามแบบฟอร์มการเขียนเอกสารอ้างอิง
การอ้างอิงเป็นการแจ้งให้ทราบถึงแหล่งที่มาของข้อความ แนวคิด หรือข้อมูลใด ๆ เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่
บุคลากรหรือองค์การ
ผู้เป็นเจ้าของข้อความ แนวความคิด หรือข้อมูลนั้น ๆ รวมทั้งเป็นการสะดวกแก่ผู้อ่านที่ประสงค์จะทราบ
รายละเอียดอื่น ๆ จากแหล่งที่มา
การอ้างอิงจะปรากฏอยู่ในสองแห่ง คือ แห่งแรกจะปรากฏในตัวรายงานหลังข้อความหรือข้อมูลที่อ้างอิง ให้
ใส่ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์
และเลขหน้าของเอสารที่อ้างอิงไว้ในวงเล็บกรณีที่ไม่อาจอ้างเลขหน้าได้ ก็ไม่ต้องอ้างเลขหน้า เล่น เอกสารที่
อ้างไม่มีเลขหน้าหรือเป็นการสรุปแนวคิด
จากเอกสารทั้งเล่ม แห่งที่สองจะปรากฏอยู่ในรายชื่อบรรณานุกรม ซึ่งจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งที่มา
เพียงพอทีผู้อ่านจะสามารถติดตามศึกษาได้
            ่
ข้อความใด ภาพใด ตารางใดที่ต้องการอ้างอิง ให้ใส่ชื่อผู้แต่งที่ปรากฏอยู่ในรายชื่อเอกสารอ้างอิงในวงเล็บ
หลังข้อความที่ต้องการอ้างอิงใต้ภาพ
และคาบรรยายภาพ หรือส่วนล่างของตารางแล้วแต่กรณี ตามด้วยเครื่องหมายจุลภาพ (,) ปีที่พิมพ์
เครื่องหมายจุดคู่ (:) และหน้าที่อ้างอิง

หลักการอ้างอิงในเนื้อหา มีรายละเอียดดังนี้
๑. ผู้แต่ง ๑ คน
๑.๑ ผู้แต่งคนไทย แต่งเอกสารเป็นภาษาไทย ให้ใส่ชื่อและสกุล ตามลาดับ ส่วนคานาหน้าชื่ออื่น ๆ ให้ตัด
ออก ไม่ว่าจะเป็นตาแหน่งวิชาการ
เช่น ศาสตราจารย์ หรือคาเรียกทางวิชาชีพ เช่น นายแพทย์ ทันตแพทย์ เป็นต้น
ธีระ รามสูตร (๒๕๓๒ : ๓๕-๓๘)
สมศักดิ์ ไพบูลย์ (๒๕๔๑ : ๒๖)
(ประสพ รัตนากร, ๒๕๔๗ : ๑๑)
กรณีผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์ ให้ระบุด้วย ส่วนยศให้ใส่เฉพาะยศสุดท้าย
เท่านั้น เช่น
(พระธรรมปิฏก, ๒๕๔๐ : ๘)
(ม.ล.สุรสวัสดิ์ สุขสัวสดิ์, ๒๕๓๕ : ๑๓๐)
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ (๒๕๔๐ : ๕๐๐)
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (๒๕๓๙ : ๑๙๒)
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (๒๕๓๙ : ๑๐)
๑.๒ ผู้แต่งชาวต่างประเทศ แต่งเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศ ใส่เฉพาะชื่อสกุลเท่านั้น (Anderson, 1992 :
19)

๒. ผู้แต่ง ๒ คน ให้ระบุชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งทั้งสองคนทุกครั้งที่มีการอ้างถึง
๒.๑ สาหรับเอกสารภาษาไทย
๒.๑.๑ ถ้าอ้างอิงผู้แต่งคนไทย ให้ใช้คาว่า “และ” เชื่อมระหว่างผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒
โยธิน แสวงดี และ พิมลพรรณ อิศรภักดี (๒๕๓๓ : ๒๓-๒๕)
(อรรจน์ บัณฑิต และ รติรัตน์ มหาทรัพย์, ๒๕๕๐ : ๔๕)
๒.๑.๒ ถ้าอ้างอิงผู้แต่งชาวต่างประเทศ ให้ใช้คาว่า “และ” เชื่อมระหว่างผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่
๒ เช่นกัน
โดยใช้เครื่องหมาย “&” เชื่อมระหว่างผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒
กรีน และ แม็คครีนเนอร์ (Green & McCreaner, 1996 : 2-6)
(Anderson & Green, 2005 : 15)

๓. ผู้แต่ง ๓ - ๖
การอ้างครั้งแรกให้ระบุชื่อหรือสกุลผู้แต่งทุกคน โดยผู้แต่งคนที่ ๑ ถึง ๕ ให้คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,)
ส่วนผู้แต่งคนสุดท้าย คั่นด้วยคาว่า “และ” สาหรับเอกสารภาษาไทย และเครื่องหมาย “&” สาหรับ
ภาษาอังกฤษ ส่วนการอ้างอิงครั้งถัดไป
ให้ระบุเฉพาะผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคาว่า “และคณะ” สาหรับเอกสารภาษาไทย และ คาว่า “et
al.” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่าง
(ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์ และ ไพโรจน์ เพ็ญสุข, ๒๕๒๙ : ๑๐)...
[อ้างอิงครั้งแรก]…(ทัดดาว ผ่องพรรณ และคณะ, ๒๕๒๙ : ๑๕)...[อ้างอิงครั้งถัดไป]

๔. ผู้แต่งมากกว่า ๖ คน
การอ้างทุกครั้งให้ระบุเฉพาะชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งคนที่ ๑ ตามด้วยข้อความ “และคณะ”
สาหรับเอกสารภาษาไทย และคาว่า “et al” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่าง
ทัดดาว ลออโรจน์วงศ์ และคณะ (๒๕๔๑ : ๒๕)
(Piot et al., 1992 : 2)

๕. ผู้แต่งที่เป็นสถาบัน
ให้ระบุชื่อของสถาบันอย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้ผู้อ่านสับสนกับสถาบันอื่น ๆ ที่อาจมีชื่อคล้าย ๆ กัน โดยมี
หลักการดังนี้
๕.๑ ให้ระบุชื่อสถาบันตามที่ปรากฏ
(ชมรมผู้สูงอายุจังหวัดอุดรธานี, ๒๕๔๘ : ๑๒)
(สมาคมผู้ส่งออกไทย, ๒๕๓๘ : ๔)
สานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (๒๕๓๙ : ๔๕)
๕.๒ ถ้าเป็นหน่วยงานของรัฐ ให้เริ่มต้นจากหน่วยงานใหญ่ไปหน่วยงานย่อยยกเว้นหน่วยงานที่มีผลงาน
เป็นที่รู้จักอาจลงจากหน่วยงานย่อยได้เลย เช่น
(มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์, ๒๕๔๒ : ๑)
(กรมศิลปากร, ๒๕๓๙ : ๑๐)
(กรมการฝึกหัดครู กองการเจ้าหน้าที,่ ๒๕๔๐ : ๑๘๙)

๖. ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
๖.๑ ถ้ามีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ให้ระบุชื่อหรือสกุลบรรณาธิการ หรือผู้รวบรวมแทนชื่อหรือชื่อสกุล
ผู้แต่ง
และ ระบุคาว่า “บรรณาธิการ” หรือ “ผู้รวบรวม” ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ (...) เสมอ เช่น
(พงษ์เทพ นนทนันท์ (บรรณาธิการ), ๒๕๔๖ : ๑๐-๑๒)
(ศรีสุรางค์ ทรงสุวรรณ (ผู้รวบรวม), ๒๕๓๙ : ๓๗)
๖.๒ ถ้าไม่มีทั้งบรรณาธิการหรือ ผู้รวบรวม ให้ใส่ชื่อเรื่องของบทความหรือชื่อเรื่องของหนังสือหรือ
เอกสารแทน
โดยอาจใส่ชื่อเรื่องที่สมบูรณ์หรือตัดให้สั้นลงตามด้วยเครื่องหมายจุดสามครั้ง (...) ก็ได้
สาหรับชื่อเรื่องของบทความให้ใส่ในเครื่องหมาย อัญประกาศ (“..........”) เช่น
(“Mad cow”, 2001 : 3)
(“โรคเอดส์ในประเทศโลกที่สาม...”, ๒๕๔๒ : ๗)
ถ้าเป็นชื่อเรื่องของหนังสือหรือเอกสารให้พิมพ์เป็น ตัวเอน เช่น
(ลิลิตพระลอ, ๒๕๐๐ : ๑๕-๑๙)

๗. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์
ให้ใส่ “ม.ป.ป.” สาหรับเอกสารภาษาไทย หรือ “n.d.” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษแทนปีที่พิมพ์ ดัง
ตัวอย่าง
คานูน สิทธิสมาน (ม.ป.ป.)
(พนัส นาคินทร์, ม.ป.ป.)
(Viravaidya, n.d.)
๘. การบรรยาย / อภิปราย / สัมภาษณ์
๘.๑ ถ้าต้องการอ้างอิงบทสัมภาษณ์ การบรรยายทางวิชาการ หรือการอภิปรายทางวิชาการให้ใส่ชื่อ
ผู้บรรยาย
ผู้ให้สัมภาษณ์ โดยระบุให้ทราบหลังชื่อว่าเป็นการบรรยายหรือสัมภาษณ์ เช่น
(ชวน หลีกภัย, บรรยาย)
(แก้วสรร อติโพธิ, สัมภาษณ์)
๘.๒ ถ้าเป็นเอกสารประเภทจดหมาย บันทึกการสนทนา บันทึกการสัมภาษณ์ ฯลฯ ให้ระบุชอ   ื่
ผู้เขียน ลักษณะพิเศษ พร้อมกับวันที่ (ถ้ามี) เช่น
(ชวน หลีกภัย, สัมภาษณ์, ๕ กันยายน ๒๕๓๙)
(คุณหญิงปรียา กุลละวนิช, สัมภาษณ์ ๑๕ เมษายน ๒๕๔๕)
(Buch, Interview, May 7, 1995)

๙. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
๙.๑ การอ้างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้อ้างอิงเหมือนกับเอกสารทั่วไป โดยระบุชื่อ
หรือสกุลผู้แต่ง
ตามด้วยปีพิมพ์ และเลขหน้า (ถ้ามี) ไว้ในวงเล็บตัวอย่าง เช่น
(จันทวรรณ น้อยวัน, ๒๕๔๘ : ๒๗-๓๐)
๙.๒ ถ้าต้องการอ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซท์ทั้งเว็บไซท์ การอ้างอิงไม่จาเป็นต้องระบุรายการนีไว้ในรายการ
                                                                                      ้
อ้างอิงท้ายเล่ม
ให้อ้างอิงที่อยู่ของเว็บไซท์ (URL) แทน ตัวอย่างเช่น
...การจัดการแฟ้มข้อมูลอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลที่อยู่ใน
แฟ้มข้อมูลและของแฟ้มข้อมูล (http://www.uni.net.th/)

การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม
การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม เป็นการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้อ้างอิงในการเขียนผลงานนั้น
ๆ
โดยอาจรวบรวมเป็นบรรณานุกรม (Bibliography) หรือเอกสารอ้างอิง (References) ก็ได้


หลักทั่วไป
หมายเหตุ เครื่องหมาย “/” ในตัวอย่าง เป็นการบอกถึงการเว้นระยะของรายการแต่ละรายการเท่านั้น ใน
การเขียนรายงานไม่ต้องใช้ “/”
๑. ชื่อผู้แต่ง
๑.๑ ผู้แต่งคนไทย แต่งเอกสารเป็นภาษาไทย
ให้ใส่ชื่อและชื่อสกุลตามลาดับ โดยไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ ยศ ตาแหน่ง หรือ คุณวุฒิ ยกเว้น ราชทิน
นาม ฐานันดรศักดิ์
ให้นาไปใส่ท้ายชื่อสกุล โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างชื่อกับราชทินนามและฐานันดร
ศักดิ์ ส่วนสมศักดิ์ให้คงรูปตามเดิม ดังตัวอย่าง
สัญญา ธรรมศักดิ์
ประเวศ วะสี
สุขุมพันธ์ บริพัตร,ม.ร.ว.
๑.๒ ผู้แต่งชาวต่างประเทศหรือผู้แต่งคนไทยที่แต่งเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศให้ขึ้นต้นด้วย ชื่อ
สกุล ตามด้วยตัวอักษรย่อของชื่อต้น ชื่อกลาง (ถ้ามี)
และใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างชื่อสกุลและอักษรย่อของชื่อต้น ชื่อกลาง เช่น
Alleyne, R.L.
Panyarachun,A.
๑.๓ หนังสือที่มีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวมและต้องการอ้างถึงหนังสือทั้งเล่ม
หนังสือที่มีบรรณาธิการ (Editor) ให้เขียนชื่อสกุลบรรณาธิการแทนผู้แต่ง และระบุคา
ว่า “บรรณาธิการ” หรือ “Ed.” หรือ “Eds.”
ไว้ท้ายชื่อหรือชื่อสกุลบรรณาธิการโดยใส่เครื่องหมายวงเล็บ ( ) เช่น
สมจิตร หนุเจริญกุล. (บรรณาธิการ)
Ray, L. (Ed.)
Stock, G., & Campbell, J. (Eds.)
หนังสือที่มีผู้รวบรวม (Compiler) ให้ใส่คาว่า “ผู้รวบรวม” หรือ “Comp.” หรือ “Comps.” ไว้ใน
เครื่องหมายวงเล็บ ( )
ต่อท้ายชื่อหรือชื่อสกุลผู้รวบรวม เช่น
สมพันธ์ เตชะอธิก. (ผู้รวบรวม)
Hernon, P. (Comp.)


๑.๔ ผู้ที่แต่งที่เป็นสถาบัน
๑.๔.๑ สาหรับเอกสารภาษาไทย ให้ลงชื่อสถาบันนั้น ๆ ตามที่ปรากฏในเอกสารและเว้นวรรค จากหน่วย
ใหญ่ ไปหาหน่วยงานย่อย เช่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์ โปรแกรมวิชาสุขศึกษา
ธนาคารแห่งประเทศไทย
สานักนายกรัฐมนตรี สานักงานสถิติแห่งชาติ
๑.๕ ผู้แต่ง ๒ คน
ให้ใส่ชื่อและชื่อสกุลทั้งสองคนตามลาดับที่ปรากฏ โดยระหว่าผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒ ให้เชื่อม
ด้วยคาว่า “และ”
สาหรับเอกสารภาษาไทย หรือเครื่องหมาย “&” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ เช่น
สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์ และเกื้อ วงศ์บุญสิน
Fukutake,T., & Marioka,K.
๑.๖ ผู้แต่ง ๓ - ๖ คน
ให้ใส่ชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งคนแรก คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) แล้วจึงใส่ชื่อคนที่สองไปเรื่อย ๆ จนถึง
คนที่ ๕
แล้วจึงเชื่อมด้วยคาว่า “และ” หรือ “&” ก่อนใส่ชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งคนสุดท้าย เช่น
ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์ และไพโรจน์ เพ็ญสุข
ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์, ไพโรจน์ เพ็ญสุข,
สมศรี สุขโข และ ลออ อยู่สวัสดิ์
Mann, J.M., Tarantola, D.J., Netter., T.W., Sande, P., Volberding, A., & Berger,j.
๑.๗ ผู้แต่งมากกว่า ๖ คน
ให้ระบุชื่อและชื่อสกุลผู้แต่งคนแรก คนที่สองไปเรื่อย ๆ จนถึงคนที่ ๖ คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,)
จากนั้นให้ระบุคาว่า “และคณะ” หรือ “et al.” แทนคนที่ ๗ เป็นต้นไปเช่น
ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์, ไพโรจน์ เพ็ญสุข,
สมศรี สุขโข, ลออ อยู่สวัสดิ์ และคณะ
Netti, B.P., Algatt-Bergstrom, P.J., sande, P., Wollan, P., Greco, M.,
Mann, J.M., etal.


๒. ปีที่พิมพ์
๒.๑ ให้ระบุเฉพาะตัวเลขปี พ.ศ. ที่พิมพ์หนังสือเล่มนั้นสาหรับเอกสารภาษาไทย หรือ ค.ศ. สาหรับ
เอกสารภาษาต่างประเทศ
ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อจากชื่อผู้แต่ง โดยไม่ต้องระบุคาว่า พ.ศ. หรือ ค.ศ. เช่น
Spencer, M. (1996).
ประเวศ วะสี. (๒๕๔๑).
๓. ชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง
๓.๑ ชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง (Title of Publication)
ให้ใส่ชื่อเต็มตามที่ปรากฏในเอสาร โดยให้พิมพ์เป็นตัวเอน (Ltalic) หรือ ตัวหนา (Bold) ก็ได้
และถ้าใช้รูปแบบใดให้ใช้รูปแบบนั้นตลอดทั้งเล่ม สาหรับชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ให้พิมพ์ตัวอักษรตัวแรก
เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนคาอื่น ๆ
ให้ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์เล็กยกเว้นกรณีที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น
เทียนฉาย กีระนันท์. (๒๕๔๒). การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน: แนวคิดเชิงทฤษฎี.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Levy,J.A. (1998). HIV and the pathogenesis of AIDS. Washington, DC: ASM
Press.
๓.๒ ถ้ามีชื่อเรื่องรอง (Sub-title หรือ Two – part Title)
ให้ใส่ชื่อเรื่องรองตามหลังชื่อเรื่อง คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) กรณีชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
ให้พิมพ์อักษรตัวแรกคาแรกของชื่อเรื่องรองเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนคาอื่น ๆ ให้ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์เล็ก
เช่นเดียวกัน ยกเว้นกรณีที่เป็นชื่อเฉพาะเช่น
ปรีชา จาปารัตน์ และ ไพศาล ชัยมงคล. (๒๕๒๐). การบริหารพัสดุ:ทฤษฎี
และปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
Banta, G.R. (1982). Asian cropping systems research:
Microeconomic evaluation procedures. Ottawa: International
Development Research Center.

๔. ครั้งที่พิมพ์
ให้ใส่ครั้งที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่ ๒ ขึ้นไป ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ระบุลาดับที่ของการนับตัวเลขด้วย เช่น
เรื่องราวเกี่ยวกับประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒.
Harry Potter. 5 th ed.
หากมีข้อความระบุการปรับปรุงแก้ไข (Revised) หรือการแก้ไขเพิ่มเติม (Enlarged) ให้ใส่ไว้ด้วย เช่น
พิมพ์ครั้งที่ ๒ 2 th ed.
พิมพ์ครั้งที่ ๓ ฉบับปรับปรุง 3 th rev.ed.
พิมพ์ครั้งที่ ๒ แก้ไขเพิ่มเติม 2 th rev.& enl.ed.
๕. สถานที่พิมพ์
๕.๑ ให้ระบุชื่อเมืองหรือชื่อจังหวัดซึ่งเป็นที่ตั้งของสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏในเอกสารถ้ามีหลายเมือง ให้
ใส่ชื่อแรกเท่านั้น
ในกรณีที่มีชื่อเมืองซ้ากันหรือเป็นเมืองที่ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ให้ระบุอักษรย่อหลังชื่อเมืองด้วย โดยคั่นด้วย
เครื่องหมายจุลภาค (,) เช่น
กรุงเทพฯ
New York
Princeton, Nj.
๕.๒ ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ “ม.ป.ท.” หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ สาหรับเอกสาร
ภาษาไทย หรือ “n.p.”
หมายถึง no place สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษแทน โดยใส่ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] เช่น
[ม.ป.ท.]
[n.p.]

๖. สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์
๖.๑ ให้ระบุตามที่ปรากฏในหน้าปก หากมีทั้งชื่อสานักพิมพ์ และชื่อโรงพิมพ์ให้ใส่ชื่อสานักพิมพ์
๖.๒ ถ้ามีหลายสานักพิมพ์ ให้ใส่ชื่อสานักพิมพ์แรกหรือชื่อสานักพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยตัวหนา หรือตัวใหญ่เป็น
พิเศษ
๖.๓ ถ้าไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ทั้งในปกหน้าปกใน หลังหน้าปกใน ให้ใส่ชื่อโรงพิมพ์แทน เช่น โรง
พิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว เป็นต้น
๖.๔ ถ้าเป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตโดยสถาบัน เช่น หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรต่าง ๆ ให้ใส่ชื่อสถาบัน เช่น
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
๖.๕ คาประกอบทั้งหลาย เช่น บริษัท, ห้างหุ้นส่วนจากัด, Incorporation, Limited,Ltd. ให้ตัดออก เช่น
สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด ให้ใช้คาว่า ไทยวัฒนาพานิช
Longman Group Ltd. ให้ใช้คาว่า Longman Group
ยกเว้นโรงพิมพ์ให้ใส่โรงพิมพ์ด้วย เช่น โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
๖.๖ ไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ ให้ระบุคาว่า “ม.ป.พ” หรือ “n.p.” โดยระบุไว้ใน
เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม เช่น [ม.ป.พ.] หรือ [n.p.]
รูปแบบการลงรายการส่วนท้ายเล่มและตัวอย่าง
๑. หนังสือทั่วไป
๑.๑ ผู้แต่ง ๑ คน

๑.๑.๑ ผู้แต่งทั่วไป
อมรา คัมภิรานนท์. (๒๕๔๐). พันธุศาสตร์ของเซลล์. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Whitfielf,P. (1998). Evolution : The greatest story ever told. London:
Marshell Publishing.
๑.๑.๒ ผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ/์ บรรดาศักดิ์
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต). (๒๕๔๑). ธรรมะกับการทางาน. พิมพ์ครั้งที่ ๕.
กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
วิจิตรวาทการ, หลวง. (๒๕๔๑). ทางสู้ในชีวิต. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค.
อากาศดาเกิง รพีพัฒน์,ม.จ. (๒๕๔๑). ละครชีวิต. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.


๑.๒ ผู้แต่ง ๒ คน
เชาว์ ชิโนรักษ์ และ พรรณี ชิโนรักษ์. (๒๕๒๘). ชีววิทยา ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๕.
กรุงเทพฯ : บูรพาสาส์น
Levetin, E., & Mcmahon, k. (๒๐๐๓). Plants and society. 3 rd ed. Boston:
McGraw-Hill.

๑.๓ ผู้แต่ง ๓ - ๖ คน

Feber, M., Manstettan,R., & Proops, J. (1996). Ecological: Concepts and Methods.
Cheltenham: Elgar.

๑.๔ ผู้แต่งมากกว่า ๖ คน
ธงชัย คืนถิ่น, พิภพ ธงธวัชชัย, สุธี แซ่ลิ้ม, นพชัย เดชอุดม, พงษ์พันธ์ วรพัฒน์,
ศิริ ดิถีเจริญ และคณะ. (๒๕๔๓). การพัฒนารูปแบบการดูแลจากคนในครอบครัวของผู้สูงอายุที่ป่วย
เรื้อรัง. นครราชสีมา : สีมาการพิมพ์.

๑.๕ ผู้แต่งที่เป็นสถาบันหรือเป็นนิติบุคคล
กรมการศาสนา. (๒๕๔๒). วัดธรรมกาย. กรุงเทพฯ: กรมฯ.
สานักงานสถิติแห่งชาติ กองคลังข้อมูลและสนเทศสถิติ. (๒๕๔๑). สมุดรายงานสถิติภาคตะวันออก พ.ศ.
๒๕๔๑. กรุงเทพฯ: กองฯ.
Office of the National Culture Commision (ONCC). (1990). Eassay on cultural
Thailand. Bangkok: ONCC.

๑.๖ หนังสือที่มีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวมและต้องการอ้างหนังสือทั้งเล่ม
พิทยา ว่องกุล. (บรรณาธิการ). (๒๕๔๑). ไทยยุควัฒนธรรมทาส. กรุงเทพฯ:
โครงการวิถีทรรศน์.

๑.๗ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี.

๒. วิทยานิพนธ์
๑) ปีพิมพ์ วิทยานิพนธ์ภาษาไทยระบุเป็นพุทธศักราช ถ้าเป็นภาษาอังกฤษระบุเป็นคริสต์ศกราช
                                                                                ั
๒) ใส่ข้อมูลระบุชื่อปริญญา สาขาวิชา และสถาบันการศึกษา
สมพร อินทะกนก. (๒๕๔๘). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ด้วยกระบวนการสอนของ เฮวินส์. วิทยานิพนธ์ปริญญาคุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและ การ
สอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.


๓. บทความในวารสาร และหนังสือพิมพ์
๓.๑ บทความในวารสาร
วารสาร (Journal) เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่มีกาหนดออกที่แน่นอนและระบุปีที่ เล่มที่ไว้ชัดเจน ซึ่งใน
วารสาร ๑ ฉบับ
จะประกอบด้วยบทความหลาย ๆ บทความ

๑) ผู้เขียนบทความ ปีที่พิมพ์ ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับหนังสือ บทความที่เป็นภาษาอังกฤษ แม้จะตีพิมพ์
ในวารสารภาษาไทยก็ให้เขียนโดย
ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับหนังสือที่เป็นภาษาอังกฤษ
๒) ชื่อบทความ ให้พิมพ์ตัวพิมพ์ธรรมดา (Normal)
๓) ชื่อวารสาร ให้ใช้ชื่อเต็ม ห้ามใช้คาย่อ นอกจากชื่อวารสารนั้นปรากฏเป็นคาย่อยู่แล้ว
ให้พิมพ์ด้วยตัวพิมพ์หนา (Bold) หรือ ตัวพิมพ์เอน (Italic)
๔) ชื่อวารสาร และปีที่ (Vol.) สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษให้พิมพ์ด้วย ตัวพิมพ์หนา (Bold) หรือ
ตัวพิมพ์เอน (Italic)
อักษรตัวแรกของคาทุกคาให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ยกเว้น คานาหน้า หรือคาเชื่อม เช่น บุพบท หรือสันทาน เป็น
ต้น
๕) เลขที่หน้าปรากฏ ให้ระบุว่าบทความนั้นปรากฏอยู่ในเลขหน้าใดของวารสารโดยไม่ต้องมีคาว่า
“หน้า” หรือ “P” หรือ “PP.”
จีรรัตน์ นามประดิษฐ์, มานิตย์ โฆษิตตระกูล, สุมน มาสุธน และ กวิศร์ วานิชกุล.
(๒๕๔๕). การเจริญเติบโตของผลกระท้อนพันธุ์ปุยฝ้ายที่ได้รับและไม่ได้รับการห่อ:
ลักษณะภายนอก. วิทยาศาสตร์ มข., ๓๐ (๓), ๑๙๙-๒๑๑.
วิชาญ เตชิตธีระ. (๒๕๔๐). เอกภาพกับชีวิต. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, ๗(๓), ๑๒-๑๕
Klimoski, R.,& Palmer, S. (๑๙๙๓). The ADA and the hiring Process in organization.
Consulting Psycology Journal: Practice and Research, ๔๕ (๒), ๑๐-๓๖.


๓.๒ บทความในหนังสือพิมพ์

๑) การระบุหน้า ให้ใส่คาว่า “หน้า” หรือ “P” หรือ “PP” ด้วย
๒) ถ้าไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้ใช้ชื่อบทความแทนชื่อผู้แต่ง
ไตรรัตน์ สุนทรประภัสสร. (๒๕๔๐,๘ พฤศจิกายน). อนาคตจีน-อเมริกา. เดลินิวส์, หน้า ๖.
อานันท์ ปันยารชุน. (๒๕๔๑,๒๙ มีนาคม – ๑ เมษายน). ธรรมรัฐกับอนาคตของประเทศ
ไทย. ฐานเศรษฐกิจ, หน้า ๙.

๔. รายงานการประชุมทางวิชาการและเอกสารประกอบการประชุม
๔.๑ บทความในรายงานการประชุมทางวิชาการ
รายงานการประชุมทางวิชาการ เป็นเอกสารที่รวบรวมผลงานหลาย ๆ เรื่องจากผู้เขียนผลงานหลาย ๆ
คนจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม การประชุมเหล่านั้นอาจจัดเป็นครั้งคราว หรือจัดเป็นประจา รูปแบบการเขียน
เอกสารอ้างอิงรายละเอียดดังนี้
๑) ปีพิมพ์ให้ระบุปีจัดพิมพ์รายงาน ไม่ใช่ปีของการประชุม
๒) ชื่อการประชุมให้ใส่ชื่อเต็มตามที่ปรากฏในเอกสาร
๓) ในส่วนของสานักพิมพ์ถ้าไม่ปรากฏ ให้ระบุหน่วยงานที่จัดการประชุมครั้งนั้น พร้อมด้วยสถานที่จัด
ประชุม
สุชน ตั้งทวีวิพัฒนา และ บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. (๒๕๓๓). การใช้เมล็ดทานตะวันเป็นแหล่งโปรตีนและ
พลังงานในอาหารสัตว์ปี.
ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๒๘ (สาขาสัตวศาสตร์และ
ประมง), หน้า ๔๗-๕๙. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
แน่งน้อย ย่านวารี. (๒๕๔๙). ปรากฏการณ์วิทยา, แนวคิดและการนาไปใช้ในการวิจัย.
ในรายงานสรุปผลการอบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยเชิงคุณภาพสาหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี, หน้า ๓๑-๔๔. อุดรธานี :
สานักงานโครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

๔.๒ เอกสารประกอบการประชุม
เทียนฉาย กีระนันท์. (๒๕๔๖). การเตรียมพร้อมของมหาวิทยาลัยรัฐเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ.
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยทางการบริหารการศึกษา จัดโดยสานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา
และสภาผู้บริหารหลักสูตรการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๒ –
๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๖ ณ ศูนย์ประชุมอิมแพคเมืองทองธานี นนทบุรี.

๕. เอกสารอัดสาเนาหรือเอกสารไม่ได้ตีพิมพ์
เอกสารอัดสาเนาหรือเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ ให้ใช้แบบแผนเดียวกับการอ้างอิงหนังสือ แต่ให้ใส่ชื่อ
เอกสารอัดสาเนา
หรือเอกสารเหล่านั้นไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศ (“.......”)
แทนการพิมพ์ด้วยตัวเอนหรือตัวหนา และวงเล็บคาว่า “เอกสารอัดสาเนา” ไว้ท้ายสุด
สานักงาน ก.พ. (๒๕๓๗). “ข้อบังคับ ก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพล
เรือน พ.ศ. ๒๕๒๗” กรุงเทพฯ: สานักงานฯ. (เอกสารอัดสาเนา)
อัมพร ศุภชาติวงศ์. [ม.ป.ป.]. “การฝึกอบรม” กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สานักงาน
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (เอกสารอัดสาเนา)

๖. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์
ชวน หลีกภัย. (๒๕๔๓, ๑๒ เมษายน). นายกรัฐมนตรี. สัมภาษณ์.
ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา. (๒๕๓๘, ๑๒ ตุลาคม). ประธานกรรมการประจาสาขาวิชา
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สัมภาษณ์.
สมควร ดีประเสริฐ. (๒๕๔๒, ๑๑ มิถุนายน). ราษฎรหมู่บ้านโนนม่วง ต.ศิลา อ.เมือง จ.
ขอนแก่น. สัมภาษณ์.

๗. สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย วัสดุที่ไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์รวมไปถึง
อุปกรณ์ต่าง ๆ
ที่มีคุณค่าทางการศึกษา สื่อประเภทนี้บางครั้งจาเป็นต้องอ้างอิงเพื่อประกอบการนาเสนอเนื้อหา

๑) ปีที่จัดทา หมายถึง ปีที่ผลิตหรือปีที่เผยแพร่สื่อ
๒) ชื่อเรื่อง ให้ระบุชื่อสื่อ เช่น ชื่อไฟล์ ชื่อโปรแกรม ชื่อวีดีทัศน์ ลักษณะเดียวกับชื่อหนังสือ
๓) ประเภทสื่อ ให้ระบุลักษณะของสื่อนั้น ๆ
๔) สถานที่เผยแพร่ สถานที่ผลิต ถ้ามีสถานที่เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือสถานที่เผยแพร่เป็นสถานที่
เดียวกับที่ผลิต ให้ระบุแต่เพียงชื่อเดียว

๗.๑ วีดีทัศน์
สานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติภาพ. (๒๕๔๔). พลังงานนิวเคลียร์: พลังที่ขับเคลื่อนเอกภพ. [วีดี
ทัศน์]. กรุงเทพฯ :
สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ. ๑ ม้วน (๓๐ นาที)

๗.๒ แผนที่
กรมอุทกศาสตร์ ราชนาวีไทย. (๒๕๓๐). ประเทศไทย : อ่าวไทย – ฝั่งตะวันออก: เกาะช้างถึงเกาะ
ยอ. [แผนที]. กรุงเทพฯ :
          ่
กรมอุทกศาสตร์ราชนาวีไทย. ๔๓x๕๘ ซม.

๗.๓ ซีดีรอม
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (๒๕๔๔). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. [ซีดีรอม]. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวฯ.

๘. อินเทอร์เน็ต
๘.๑ เอกสาร/สารสนเทศที่ได้รับจากเว็บไซต์
ประสพ รัตนากร. (๒๕๔๘). ใจเขาใจเรา. สืบค้นเมื่อ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๘,
จาก Htpp://www.bnn.go.th/files/library/c-a๐๓.htm
๘.๒ เอกสารที่ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนและไม่ปรากฏปีที่พิมพ์
ประวัติการเมืองไทย. [ม.ป.ป.] สืบค้นเมื่อ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๕, จาก
http://www.parliament.go.th/files/library/t-b๐๓.htm

การจัดเรียงและการพิมพ์รายการอ้างอิงท้ายเล่ม
๑. รายการเอกสารทุกชิ้นที่ถูกอ้างไว้ในส่วนเนื้อเรื่องให้นามารวบรวมไว้ในส่วนท้ายเรื่องภายใต้
หัวข้อ เอกสารอ้างอิง
๒. จัดเรียนรายการเอกสาร มีหลักการเรียง ดังนี้
๒.๑ ใช้หลักการเรียงแบบพจนานุกรม กรณีที่มีทั้งเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เรียงรายการ
เอกสารภาษาไทยไว้ก่อนจนหมด
แล้วจึงเรียงรายการเอกสารภาษาอังกฤษ
๒.๒ กรณีชื่อผู้แต่งซ้ากัน หรือผู้แต่งคนเดียวกัน ให้จัดเรียงรายการเอกสารตามลาดับปีพิมพ์ หากปีพิมพ์
ซ้ากันให้ระบุตัวอักษรชื่อเรื่อง
หากผู้แต่งคนเดิมมีทั้งรายการเอกสารที่แต่งคนเดียวและแต่งร่วมกับบุคคลอื่น ให้จัดเรียงรายการเอกสารที่
แต่งคนเดียวก่อนแล้วจึงตามด้วยรายการแรก รายการต่อ ๆ ไป
ให้ใช้เครื่องหมายขีดเส้นใต้ Underline พิมพ์ติดต่อกัน ๖-๘ ครั้งและจบด้วยเครื่องหมาย
มหัพภาพ (.) หรือเครื่องหมายจุลภาค (,) แล้วแต่กรณี ดังตัวอย่าง
ประเวศ วะสี. (๒๕๓๙). พุทธศาสนากับ...
_______. (๒๕๔๑). ประชาคม...
_______. และ ทานากะ, วาย. (๒๕๓๓). การพัฒนา...
_______. และ อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว. (๒๕๓๖). ชุมชุน...
การใส่เครื่องหมาย ____. ใช้กับผู้แต่งคนแรกเท่านั้น
๓. หลักการพิมพ์ที่ควรทราบ
๓.๑ พิมพ์เครื่องหมายใด ๆ ต่อท้ายข้อความโดยไม่ต้องเว้นวรรค โดยหลังเครื่องหมายมหัพภาค (.) ให้
เว้น ๒ ช่วงตัวอักษร
ยกเว้นหลังชื่อต้นและชื่อกลางให้เว้น ๑ ช่วงตัวอักษร หลังเครื่องหมายจุลภาค (,) เครื่องหมาย
ทวิภาค (:) และเครื่องหมายอัฒภาค (;) ให้เว้น ๑ ช่วงตัวอักษร
ดังตัวอย่าง
๓.๒ หากพิมพ์ข้อความไม่พอใน ๑ บรรทัด เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่ให้ย่อหน้าล้าเข้าไป (Indent) ๕ –
๗ ช่วงตัวอักษร เช่น
อาทิตย์ กันธินาม. (๒๕๔๘). สภาพและปัญหาการดาเนินงานฝ่ายบริการในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัด
หนองคาย
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
(ย่อหน้า)

รูปแบบการพิมพ์
ตัวอักษร
๑. พิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอักษรสีดา คมชัด
๒. ลักษณะตัวอักษร (Font) อาจใช้แบบไทย สารบัญ (TH Saraban) หรือแบบใดแบบหนึ่งตลอดทั้งเล่ม
๓. ใช้ขนาด ๒๐ พอยท์ แบบตัวพิมพ์หนา (Bold) ในการพิมพ์ชื่อบท
๔. ใช้ขนาด ๑๘ พอยท์ แบบตัวพิมพ์หนา (Bold) ในการพิมพ์หัวข้อใหญ่
๕. ใช้ขนาด ๑๖ พอยท์ แบบตัวพิมพ์หนา (Bold) ในการพิมพ์หัวข้อย่อยและชื่อตาราง (ตามความ
เหมาะสม)
๖. ใช้ขนาด ๑๖ พอยท์ แบบตัวพิมพ์ธรรมดา (Normal) ในการพิมพ์เนื้อหา

การเว้นริมขอบกระดาษ
ให้เว้นริมขอบกระดาษทั้งสี่ด้าน ดังนี้
ขอบบน เว้น ๑ นิ้ว สาหรับหน้าทั่ว ๆ ไป
เว้น ๑.๕ นิ้ว สาหรับหน้าที่ขึ้นบทใหม่และหน้าที่มีหัวข้อ ได้แก่ คานา สารบัญ
ขอบล่าง เว้น ๑ นิ้ว
ขอบซ้าย เว้น ๑.๕ นิ้ว
ขอบขวา เว้น ๑ นิ้ว

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2พัน พัน
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 

Mais procurados (20)

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม2
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม2
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
คำที่มีพยัญชนะต้น ฑ + การอ่านคำที่มี ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ป.3
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 

Destaque

ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" Asina Pornwasin
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)tumetr
 
Comparison and contrast essays aug152013
Comparison and contrast essays aug152013Comparison and contrast essays aug152013
Comparison and contrast essays aug152013Aj Muu
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 

Destaque (17)

ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?" "บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
"บล็อกเกอร์ เป็นสื่อหรือไม่?"
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
 
Comparison and contrast essays aug152013
Comparison and contrast essays aug152013Comparison and contrast essays aug152013
Comparison and contrast essays aug152013
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
กสพท. ภาษาไทย 2559
กสพท. ภาษาไทย 2559กสพท. ภาษาไทย 2559
กสพท. ภาษาไทย 2559
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 

Semelhante a ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4Yui Siriwararat
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9Piyakan Phonphan
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือwat_pun
 

Semelhante a ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง (20)

การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
01
0101
01
 
01
0101
01
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
%A1%d2%c3%e0%a2%d5%c2%b9%c3%d2%c2%a7%d2%b9
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
06.pdf
06.pdf06.pdf
06.pdf
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
 

ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง

  • 1. ใบความรู้การเขียนความเรียงขั้นสูง การเขียนความเรียงขั้นสูง มีส่วนประกอบที่สาคัญ ๓ ส่วน ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ ๑ ส่วนนา ๑. ปก ๑.๑ ปกนอก ปกอ่อนพื้นสีชมพูอ่อน ตัวหนังสือสีน้าเงิน ตรงสันให้มีชื่อผู้จัดทา ชื่อเรื่อง และ ปี พ.ศ. (ปี การศึกษา) ตามลาดับ (หน้าปกตามตัวอย่าง) ๑.๒ ปกใน (ภาษาไทย) พิมพ์บนกระดาษขาว A4 ข้อความเหมือนปกนอก ๑.๓ ปกใน (ภาษาอังกฤษ) รูปแบบเหมือนข้อ ๑.๒ ๒. หน้าอนุมัติรายงานการเขียนความเรียงขั้นสูง ใช้เพียง ๑ หน้ากระดาษเท่านั้น วันที่อนุมัติ จะต้องเป็นวันที่ขึ้นสอบ และมีรายชื่อกรรมการ สอบพร้อม ลายเซ็นจริงของกรรมการ ๓. บทคัดย่อ (ภาษาไทย) บทคัดย่อ คือ ข้อมูลสรุปเนื้อหาของการเขียนความเรียงขั้นสูง ใช้ข้อความสั้นกะทัดรัด ชัดเจนทาให้ผู้อ่าน ทราบถึงเนื้อหาของการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว โดยให้มีเนื้อหาใน ๑ หน้ากระดาษเท่านั้น บทคัดย่อควรมี ๓ – ๔ ย่อหน้า โดยแต่ละย่อหน้าควรกล่าวถึงวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย และขอบเขตของ การเขียนความเรียงขั้นสูง วิธีการพัฒนา รวมถึงเครื่องมือและโปรแกรมที่ใช้ วิธีการเก็บข้อมูล จานวนและลักษณะของงานที่ศึกษา ผลการทาว่าได้ระบบอะไร ขนาดเท่าใด เหมาะสมที่จะใช้งานในลักษณะใด ๔. บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ) ลักษณะของรูปแบบและเนื้อหา จะเหมือนกับบทคัดย่อภาษาไทย ตามข้อ ๓ ๕. กิตติกรรมประกาศ กิตติกรรมประกาศ คือข้อความกล่าวขอบคุณผู้ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อการเขียน ความเรียงขั้นสูง ความยาวไม่เกิน ๑ หน้า ๖. สารบัญ สารบัญ เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสาคัญทั้งหมดของการเขียนความเรียงขั้นสูง เรียงตามลาดับเลข หน้า ตามที่ได้กาหนดไว้ หัวข้อที่พิมพ์ในหน้าสารบัญต้องตรงกับหัวข้อที่อยู่ในเนื้อหา หากมีเลขลาดับหน้าหัวข้อ
  • 2. ต้องนามาเขียนไว้ด้วย (การให้เลขลาดับหน้าหัวข้อต่าง ๆ ในแต่ละบทจึงต้องเป็นระบบเดียวกัน) ส่วนที่ ๒ ส่วนของเนื้อหา ๑. บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เป็นการกล่าวถึงความเป็นมาของระบบการดาเนินงาน ลักษณะที่เป็นอยู่เดิมเป็นอย่างไร หรือสิ่งที่จะทานั้นมีความเป็นมาอย่างไร ความสนใจหรือเหตุผลว่าทาไมถึงสนใจในการเขียนความเรียงขั้น สูง เรื่องนี้ เมื่อดาเนินงานการเขียนความเรียงขั้นสูง นี้แล้วจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร ในหัวข้อนี้ควรเขียนแบ่งเป็นย่อหน้า โดยแต่ละประเด็นอาจกล่าวถึง ภูมิหลังของการศึกษาเรื่องนั้น ๆ เช่น ประวัติ ที่มา ต้นเหตุหรือทฤษฎีของเรื่องที่จะทาการศึกษา การดาเนินงานของหน่วยงานองค์กรที่ศึกษา หรือเรื่องที่จะ ศึกษาว่ามีการดาเนินงานอย่างไรปัญหาที่เกิดขึ้น หรือต้องการที่จะพัฒนาในส่วนไหน (Problem/Requirement) โดยยังไม่ต้องกล่าวถึงระบบหรือรูปแบบที่จะ นามาแก้ปัญหาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสนับสนุน ในการแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือสิ่งที่ต้องการจะพัฒนาและย่อหน้า สุดท้ายควรมีการสรุปว่า จะพัฒนา ....................... ด้วย/โดย..................................... เพื่อประโยชน์....................................... ๑.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ให้บอกความต้องการและสิ่งที่ต้องการจะทาให้สาเร็จ โดยเขียนเป็นข้อ ย่อย โดยปกติวัตถุประสงค์ของการศึกษา ควรจะประมาณ ๒-๓ ข้อ และแต่ละข้อความสั้นกะทัดรัดได้ใจความ วัตถุประสงค์ข้อแรกคือเพื่อพัฒนา ระบบ.... หรือการทาให้บรรลุถึงชื่อของการศึกษานั้น ๆ ๑.๓ ขอบเขตการดาเนินงาน เป็นการกล่าวถึงขอบเขตของการเขียนความเรียงขั้นสูง ว่าจะจัดทาในส่วนใด ครอบคลุมเนื้อหาหรือ สิ่งที่ต้องการทาแค่ไหน การบอกขอบเขตทาให้งานถูกจากัดให้แคบลง นอกจากนี้ควรกาหนดขอบเขตข้อมูลที่จะปรากฏในชิ้นงาน หรือในฐานที่จะใช้ทดสอบในกรณีมีข้อจากัดที่เกิด จากฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ที่คาดว่าจะใช้ในการพัฒนาชิ้นงาน ควรเขียนข้อจากัดนั้นและให้เหตุผล ประกอบด้วย ๑.๔ เครื่องมือในการดาเนินงาน ให้กาหนดอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่คาดว่าจะใช้เมื่อดาเนินการ เขียนรายงาน ๑.๕ ขั้นตอนในการดาเนินงาน ให้แบ่งการดาเนินงาน ตามวิธีของการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน ๑.๕.๑ นาเสนอหัวข้อต่ออาจารย์ที่ปรึกษา (ศึกษาทฤษฎีและเทคโนโลยีที่ใช้)
  • 3. ๑.๕.๒ ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล ๑.๕.๓ วิเคราะห์ข้อมูล ๑.๕.๔ ออกแบบโปรแกรม/ระบบ ๑.๕.๕ พัฒนา-ทดสอบประเมินผล ๑.๕.๖ นาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ ๑.๕.๗ จัดทาเอกสาร ๑.๖ ระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาตารางแสดงระยะเวลาในการดาเนินงานการเขียนความเรียงขั้นสูง ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนสุดท้าย โดยแสดงเป็นตารางกิจกรรม หรือ Gantt Chart ๑.๗ นิยามศัพท์เฉพาะ ให้กาหนดหรือให้ความหมายของคาสาคัญหรือศัพท์เฉพาะเพื่อให้เข้าใจได้ถูกต้อง ตรงกัน ๑.๘ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ให้กล่าวถึงผลที่จะได้รับของการเขียนความเรียงขั้นสูง เมื่อทาสาเร็จว่ามี ประโยชน์อย่างไรบ้าง ซึ่งผลที่คาดว่าจะได้รับ โดยส่วนมากจะสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายงาน โดยผลที่คาดว่าจะได้รับข้อแรกก็คือ การได้ระบบ .... ที่พัฒนาด้วยคอมพิวเตอร์ หรือการบรรลุถึงชื่อของ การเขียนความเรียงขั้นสูงนั้น ๆ และต้องเป็นข้อความที่วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ผลที่คาดว่าจะได้รับและวัตถุประสงค์แต่ละข้อเป็นตัวชี้วัดที่สาคัญในการพิจารณาในห้องสอบเพื่อบอกถึง การดาเนินการเขียนความเรียงขั้นสูงตามที่กาหนด การปรับปรุงแก้ไขในการสอบอนุมัติการเขียนความเรียงขั้นสูงถือเป็นข้อตกลงร่วมกันในการดาเนินการ เขียนรายงานความเรียงขั้นสูงต่อ ดังนั้น ก่อนตกลงใด ๆ ต้องตระหนักว่าสิ่งใดสามารถเป็นไปได้ / เป็นไปไม่ได้ในศักยภาพส่วนตัวและ ภายใต้ข้อจากัดต่าง ๆ ๒. บทที่ ๒ ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ในการเขียนความเรียงขั้นสูง ผู้ศึกษาจะต้องทาการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารบทความ และวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับงานที่ตนเอง กาลังทาอยู่ให้ได้มากที่สุด เพื่อดูว่าสิ่งใดทาไปแล้วบ้าง มีข้อบกพร่องอย่างไร มีอะไรที่กาลังดาเนินอยู่ หรือไม่ เพื่อแสดงให้ผู้อ่านเห็นภาพรวม ๆ เป็นการคัดเลือกเรื่องราวที่สาคัญ และเกี่ยวข้องในการรวบรวมเอกสารมาใช้อ้างอิงในการเขียนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องนั้น ผู้ศึกษาควรกาหนดหัวข้อใหญ่ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาไว้ก่อนว่ามีเรืองอะไรบ้าง ที่สามารถเกี่ยวโยง ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกับเรื่องที่กาลัง ่ ดาเนินการศึกษาอยู่ จากนั้นจึงแบ่งออกเป็นข้อย่อย
  • 4. แต่อย่าให้ซ้าซ้อน และควรมีความต่อเนื่อง สิ่งที่มีการค้นคว้าอยู่ก่อนแล้ว ควรมีการจัดกลุ่มเอาไว้ด้วยกัน สิ่ง ใดที่เป็นเรื่องที่ขัดแย้งกันก็ควรเขียนแยกกันไว้ ผู้ศึกษาจะต้องคัดเลือกเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกันจริง ๆ เท่านั้น และจะต้องนาเรื่องที่เป็นปัจจุบันที่สุดด้วย วิธีการเขียนควรเป็นการเขียนสรุปด้วยคาพูดของผู้ศึกษา ถ้าหากมีการคัดลอกจากต้นฉบับ ต้องมีการให้เครดิตผู้ที่ทาก่อนด้วย และต้องทาให้ถี่ถ้วน และต้องไม่ลืม เขียนชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ ให้ผู้อ่านได้รับไปด้วย ๓. บทที่ ๓ วิธีดาเนินการ ควรประกอบด้วย ระเบียบวิธีในการจัดทารายงาน แหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการศึกษา วิธีการสร้างหรือผลิต ชิ้นงาน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ การวิเคราะห์ข้อมูล ๔. บทที่ ๔ ผลการศึกษา การรายงานผลการดาเนินงาน โดยจัดหัวข้อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา การเสนอรายงาน โครงการ ในรูปแบบการบรรยายเชิงพรรณนา โดยมีตาราง แผนภูมิ กราฟ หรือภาพอื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการ อธิบาย ในบทนี้จะนาเสนอ ผลที่ได้จากการดาเนินงาน จะต้องนาเสนอวิธีการ และขั้นตอนการใช้งานในระบบนั้น ๆ โดยมีการนาภาพ ขั้นตอนต่าง ๆ พร้อมทั้ง อธิบายการทางานโดยละเอียด ๕. บทที่ ๕ สรุปผลและข้อเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผล - สรุปผลการศึกษาที่ได้จากบทที่ ๕ เอาเฉพาะที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของรายงาน ๕.๒ อภิปรายผล - อภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ของรายงาน โดยนาเสนอเหตุผลที่เกี่ยวข้องกับข้อค้นพบ ของการศึกษา ๕.๓ ข้อเสนอแนะ - เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงดาเนินงานให้ดียิ่งขึ้น ส่วนที่ ๓ ส่วนประกอบท้ายเล่ม ๑. เอกสารอ้างอิง การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม เป็นการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้อ้างอิงในการเขียนผลงานนั้น
  • 5. ๆ โดยอาจรวบรวมเป็นบรรณานุกรม (Bibliography) หรือเอกสารอ้างอิง (References) ก็ได้ บรรณานุกรม ผู้เขียนอาจนารายการเอกสารอื่นที่มิได้อ้างอิงในเนื้อหามารวบรวมไว้โดยเอกสารนั้นมีความ เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เขียน และจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ดังนั้นบรรณานุกรมจึงอาจมีจานวนมากกว่ารายการเอกสารที่ถูกอ้างอิงใน เนื้อหา เอกสารอ้างอิง จะรวบรวมเฉพาะรายการที่ถูกอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น ดังนั้น จานวนเอกสารอ้างอิง ส่วนท้ายเล่ม จึงมีจานวนเท่ากับเอกสารที่ถูกอ้างอิงในเนื้อหา ** แต่การจัดทาการเขียนความเรียงขั้นสูง กาหนดให้นักเรียน ใช้การอ้างอิงท้ายเล่มเป็นบรรณานุกรม (Bibliography) ๒. ภาคผนวก เป็นส่วนที่รายละเอียดปลีกย่อยของเนื้อหาที่ไม่จาเป็นต้องใส่ไว้ในเนื้อหามารวมไว้ตอนท้ายเล่มเพื่ออ้างอิง ในรายละเอียด เท่าที่นักศึกษาเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ต่อรายงานฉบับนั้น การจะมีภาคผนวกหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความจาเป็น และความเหมาะสม หากมีให้เริ่มภาคผนวกในหน้าถัดจากบรรณานุกรมโดยมีข้อความว่า ภาพผนวกอยู่กลางหน้ากระดาษ รายละเอียดในภาคผนวกให้แสดงในหน้าถัดไป หากมีความจาเป็นต้องแบ่งภาคผนวกออกเป็นภาคผนวกย่อย ให้แบ่งเป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ โดยพิมพ์ชื่อภาคผนวกย่อยไว้กลางบรรทัดแรก การเริ่มภาคผนวกย่อยทุกครั้งให้ขึ้นหน้าใหม่ ๓. ประวัติย่อของผู้ศึกษา เป็นหน้าที่แจ้งให้ทราบรายละเอียดส่วนตัวบางประการของผู้ศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลที่ต้องการ ติดต่อกับผู้ศึกษา เป็นส่วนที่อยู่ท้ายสุดของรายงาน การอ้างอิงเอกสาร การอ้างอิงและการเขียนรายการเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม มีรายละเอียดดังนี้ ๑. การอ้างอิงเอกสาร เอกสารต่างๆ ที่นามาใช้ในการจัดทาปัญหาพิเศษ/กรณีศกษาต้องมีการอ้างอิงไว้ในรายงาน และเอกสารทุก ึ
  • 6. เล่มที่อ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อหา จะต้องปรากฏอยู่ในบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ตามแบบฟอร์มการเขียนเอกสารอ้างอิง การอ้างอิงเป็นการแจ้งให้ทราบถึงแหล่งที่มาของข้อความ แนวคิด หรือข้อมูลใด ๆ เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ บุคลากรหรือองค์การ ผู้เป็นเจ้าของข้อความ แนวความคิด หรือข้อมูลนั้น ๆ รวมทั้งเป็นการสะดวกแก่ผู้อ่านที่ประสงค์จะทราบ รายละเอียดอื่น ๆ จากแหล่งที่มา การอ้างอิงจะปรากฏอยู่ในสองแห่ง คือ แห่งแรกจะปรากฏในตัวรายงานหลังข้อความหรือข้อมูลที่อ้างอิง ให้ ใส่ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ และเลขหน้าของเอสารที่อ้างอิงไว้ในวงเล็บกรณีที่ไม่อาจอ้างเลขหน้าได้ ก็ไม่ต้องอ้างเลขหน้า เล่น เอกสารที่ อ้างไม่มีเลขหน้าหรือเป็นการสรุปแนวคิด จากเอกสารทั้งเล่ม แห่งที่สองจะปรากฏอยู่ในรายชื่อบรรณานุกรม ซึ่งจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งที่มา เพียงพอทีผู้อ่านจะสามารถติดตามศึกษาได้ ่ ข้อความใด ภาพใด ตารางใดที่ต้องการอ้างอิง ให้ใส่ชื่อผู้แต่งที่ปรากฏอยู่ในรายชื่อเอกสารอ้างอิงในวงเล็บ หลังข้อความที่ต้องการอ้างอิงใต้ภาพ และคาบรรยายภาพ หรือส่วนล่างของตารางแล้วแต่กรณี ตามด้วยเครื่องหมายจุลภาพ (,) ปีที่พิมพ์ เครื่องหมายจุดคู่ (:) และหน้าที่อ้างอิง หลักการอ้างอิงในเนื้อหา มีรายละเอียดดังนี้ ๑. ผู้แต่ง ๑ คน ๑.๑ ผู้แต่งคนไทย แต่งเอกสารเป็นภาษาไทย ให้ใส่ชื่อและสกุล ตามลาดับ ส่วนคานาหน้าชื่ออื่น ๆ ให้ตัด ออก ไม่ว่าจะเป็นตาแหน่งวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์ หรือคาเรียกทางวิชาชีพ เช่น นายแพทย์ ทันตแพทย์ เป็นต้น ธีระ รามสูตร (๒๕๓๒ : ๓๕-๓๘) สมศักดิ์ ไพบูลย์ (๒๕๔๑ : ๒๖) (ประสพ รัตนากร, ๒๕๔๗ : ๑๑) กรณีผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์ ให้ระบุด้วย ส่วนยศให้ใส่เฉพาะยศสุดท้าย เท่านั้น เช่น (พระธรรมปิฏก, ๒๕๔๐ : ๘) (ม.ล.สุรสวัสดิ์ สุขสัวสดิ์, ๒๕๓๕ : ๑๓๐) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ (๒๕๔๐ : ๕๐๐) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (๒๕๓๙ : ๑๙๒) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (๒๕๓๙ : ๑๐)
  • 7. ๑.๒ ผู้แต่งชาวต่างประเทศ แต่งเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศ ใส่เฉพาะชื่อสกุลเท่านั้น (Anderson, 1992 : 19) ๒. ผู้แต่ง ๒ คน ให้ระบุชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งทั้งสองคนทุกครั้งที่มีการอ้างถึง ๒.๑ สาหรับเอกสารภาษาไทย ๒.๑.๑ ถ้าอ้างอิงผู้แต่งคนไทย ให้ใช้คาว่า “และ” เชื่อมระหว่างผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒ โยธิน แสวงดี และ พิมลพรรณ อิศรภักดี (๒๕๓๓ : ๒๓-๒๕) (อรรจน์ บัณฑิต และ รติรัตน์ มหาทรัพย์, ๒๕๕๐ : ๔๕) ๒.๑.๒ ถ้าอ้างอิงผู้แต่งชาวต่างประเทศ ให้ใช้คาว่า “และ” เชื่อมระหว่างผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒ เช่นกัน โดยใช้เครื่องหมาย “&” เชื่อมระหว่างผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒ กรีน และ แม็คครีนเนอร์ (Green & McCreaner, 1996 : 2-6) (Anderson & Green, 2005 : 15) ๓. ผู้แต่ง ๓ - ๖ การอ้างครั้งแรกให้ระบุชื่อหรือสกุลผู้แต่งทุกคน โดยผู้แต่งคนที่ ๑ ถึง ๕ ให้คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) ส่วนผู้แต่งคนสุดท้าย คั่นด้วยคาว่า “และ” สาหรับเอกสารภาษาไทย และเครื่องหมาย “&” สาหรับ ภาษาอังกฤษ ส่วนการอ้างอิงครั้งถัดไป ให้ระบุเฉพาะผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคาว่า “และคณะ” สาหรับเอกสารภาษาไทย และ คาว่า “et al.” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่าง (ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์ และ ไพโรจน์ เพ็ญสุข, ๒๕๒๙ : ๑๐)... [อ้างอิงครั้งแรก]…(ทัดดาว ผ่องพรรณ และคณะ, ๒๕๒๙ : ๑๕)...[อ้างอิงครั้งถัดไป] ๔. ผู้แต่งมากกว่า ๖ คน การอ้างทุกครั้งให้ระบุเฉพาะชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งคนที่ ๑ ตามด้วยข้อความ “และคณะ” สาหรับเอกสารภาษาไทย และคาว่า “et al” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่าง ทัดดาว ลออโรจน์วงศ์ และคณะ (๒๕๔๑ : ๒๕) (Piot et al., 1992 : 2) ๕. ผู้แต่งที่เป็นสถาบัน ให้ระบุชื่อของสถาบันอย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้ผู้อ่านสับสนกับสถาบันอื่น ๆ ที่อาจมีชื่อคล้าย ๆ กัน โดยมี หลักการดังนี้
  • 8. ๕.๑ ให้ระบุชื่อสถาบันตามที่ปรากฏ (ชมรมผู้สูงอายุจังหวัดอุดรธานี, ๒๕๔๘ : ๑๒) (สมาคมผู้ส่งออกไทย, ๒๕๓๘ : ๔) สานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (๒๕๓๙ : ๔๕) ๕.๒ ถ้าเป็นหน่วยงานของรัฐ ให้เริ่มต้นจากหน่วยงานใหญ่ไปหน่วยงานย่อยยกเว้นหน่วยงานที่มีผลงาน เป็นที่รู้จักอาจลงจากหน่วยงานย่อยได้เลย เช่น (มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์, ๒๕๔๒ : ๑) (กรมศิลปากร, ๒๕๓๙ : ๑๐) (กรมการฝึกหัดครู กองการเจ้าหน้าที,่ ๒๕๔๐ : ๑๘๙) ๖. ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ๖.๑ ถ้ามีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ให้ระบุชื่อหรือสกุลบรรณาธิการ หรือผู้รวบรวมแทนชื่อหรือชื่อสกุล ผู้แต่ง และ ระบุคาว่า “บรรณาธิการ” หรือ “ผู้รวบรวม” ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ (...) เสมอ เช่น (พงษ์เทพ นนทนันท์ (บรรณาธิการ), ๒๕๔๖ : ๑๐-๑๒) (ศรีสุรางค์ ทรงสุวรรณ (ผู้รวบรวม), ๒๕๓๙ : ๓๗) ๖.๒ ถ้าไม่มีทั้งบรรณาธิการหรือ ผู้รวบรวม ให้ใส่ชื่อเรื่องของบทความหรือชื่อเรื่องของหนังสือหรือ เอกสารแทน โดยอาจใส่ชื่อเรื่องที่สมบูรณ์หรือตัดให้สั้นลงตามด้วยเครื่องหมายจุดสามครั้ง (...) ก็ได้ สาหรับชื่อเรื่องของบทความให้ใส่ในเครื่องหมาย อัญประกาศ (“..........”) เช่น (“Mad cow”, 2001 : 3) (“โรคเอดส์ในประเทศโลกที่สาม...”, ๒๕๔๒ : ๗) ถ้าเป็นชื่อเรื่องของหนังสือหรือเอกสารให้พิมพ์เป็น ตัวเอน เช่น (ลิลิตพระลอ, ๒๕๐๐ : ๑๕-๑๙) ๗. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ใส่ “ม.ป.ป.” สาหรับเอกสารภาษาไทย หรือ “n.d.” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษแทนปีที่พิมพ์ ดัง ตัวอย่าง คานูน สิทธิสมาน (ม.ป.ป.) (พนัส นาคินทร์, ม.ป.ป.) (Viravaidya, n.d.)
  • 9. ๘. การบรรยาย / อภิปราย / สัมภาษณ์ ๘.๑ ถ้าต้องการอ้างอิงบทสัมภาษณ์ การบรรยายทางวิชาการ หรือการอภิปรายทางวิชาการให้ใส่ชื่อ ผู้บรรยาย ผู้ให้สัมภาษณ์ โดยระบุให้ทราบหลังชื่อว่าเป็นการบรรยายหรือสัมภาษณ์ เช่น (ชวน หลีกภัย, บรรยาย) (แก้วสรร อติโพธิ, สัมภาษณ์) ๘.๒ ถ้าเป็นเอกสารประเภทจดหมาย บันทึกการสนทนา บันทึกการสัมภาษณ์ ฯลฯ ให้ระบุชอ ื่ ผู้เขียน ลักษณะพิเศษ พร้อมกับวันที่ (ถ้ามี) เช่น (ชวน หลีกภัย, สัมภาษณ์, ๕ กันยายน ๒๕๓๙) (คุณหญิงปรียา กุลละวนิช, สัมภาษณ์ ๑๕ เมษายน ๒๕๔๕) (Buch, Interview, May 7, 1995) ๙. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ๙.๑ การอ้างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้อ้างอิงเหมือนกับเอกสารทั่วไป โดยระบุชื่อ หรือสกุลผู้แต่ง ตามด้วยปีพิมพ์ และเลขหน้า (ถ้ามี) ไว้ในวงเล็บตัวอย่าง เช่น (จันทวรรณ น้อยวัน, ๒๕๔๘ : ๒๗-๓๐) ๙.๒ ถ้าต้องการอ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซท์ทั้งเว็บไซท์ การอ้างอิงไม่จาเป็นต้องระบุรายการนีไว้ในรายการ ้ อ้างอิงท้ายเล่ม ให้อ้างอิงที่อยู่ของเว็บไซท์ (URL) แทน ตัวอย่างเช่น ...การจัดการแฟ้มข้อมูลอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลที่อยู่ใน แฟ้มข้อมูลและของแฟ้มข้อมูล (http://www.uni.net.th/) การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม การอ้างอิงส่วนท้ายเล่ม เป็นการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้อ้างอิงในการเขียนผลงานนั้น ๆ โดยอาจรวบรวมเป็นบรรณานุกรม (Bibliography) หรือเอกสารอ้างอิง (References) ก็ได้ หลักทั่วไป หมายเหตุ เครื่องหมาย “/” ในตัวอย่าง เป็นการบอกถึงการเว้นระยะของรายการแต่ละรายการเท่านั้น ใน การเขียนรายงานไม่ต้องใช้ “/” ๑. ชื่อผู้แต่ง
  • 10. ๑.๑ ผู้แต่งคนไทย แต่งเอกสารเป็นภาษาไทย ให้ใส่ชื่อและชื่อสกุลตามลาดับ โดยไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ ยศ ตาแหน่ง หรือ คุณวุฒิ ยกเว้น ราชทิน นาม ฐานันดรศักดิ์ ให้นาไปใส่ท้ายชื่อสกุล โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างชื่อกับราชทินนามและฐานันดร ศักดิ์ ส่วนสมศักดิ์ให้คงรูปตามเดิม ดังตัวอย่าง สัญญา ธรรมศักดิ์ ประเวศ วะสี สุขุมพันธ์ บริพัตร,ม.ร.ว. ๑.๒ ผู้แต่งชาวต่างประเทศหรือผู้แต่งคนไทยที่แต่งเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศให้ขึ้นต้นด้วย ชื่อ สกุล ตามด้วยตัวอักษรย่อของชื่อต้น ชื่อกลาง (ถ้ามี) และใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างชื่อสกุลและอักษรย่อของชื่อต้น ชื่อกลาง เช่น Alleyne, R.L. Panyarachun,A. ๑.๓ หนังสือที่มีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวมและต้องการอ้างถึงหนังสือทั้งเล่ม หนังสือที่มีบรรณาธิการ (Editor) ให้เขียนชื่อสกุลบรรณาธิการแทนผู้แต่ง และระบุคา ว่า “บรรณาธิการ” หรือ “Ed.” หรือ “Eds.” ไว้ท้ายชื่อหรือชื่อสกุลบรรณาธิการโดยใส่เครื่องหมายวงเล็บ ( ) เช่น สมจิตร หนุเจริญกุล. (บรรณาธิการ) Ray, L. (Ed.) Stock, G., & Campbell, J. (Eds.) หนังสือที่มีผู้รวบรวม (Compiler) ให้ใส่คาว่า “ผู้รวบรวม” หรือ “Comp.” หรือ “Comps.” ไว้ใน เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อท้ายชื่อหรือชื่อสกุลผู้รวบรวม เช่น สมพันธ์ เตชะอธิก. (ผู้รวบรวม) Hernon, P. (Comp.) ๑.๔ ผู้ที่แต่งที่เป็นสถาบัน ๑.๔.๑ สาหรับเอกสารภาษาไทย ให้ลงชื่อสถาบันนั้น ๆ ตามที่ปรากฏในเอกสารและเว้นวรรค จากหน่วย ใหญ่ ไปหาหน่วยงานย่อย เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์ โปรแกรมวิชาสุขศึกษา ธนาคารแห่งประเทศไทย
  • 11. สานักนายกรัฐมนตรี สานักงานสถิติแห่งชาติ ๑.๕ ผู้แต่ง ๒ คน ให้ใส่ชื่อและชื่อสกุลทั้งสองคนตามลาดับที่ปรากฏ โดยระหว่าผู้แต่งคนที่ ๑ และผู้แต่งคนที่ ๒ ให้เชื่อม ด้วยคาว่า “และ” สาหรับเอกสารภาษาไทย หรือเครื่องหมาย “&” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ เช่น สุวัฒนา วิบูลย์เศรษฐ์ และเกื้อ วงศ์บุญสิน Fukutake,T., & Marioka,K. ๑.๖ ผู้แต่ง ๓ - ๖ คน ให้ใส่ชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งคนแรก คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) แล้วจึงใส่ชื่อคนที่สองไปเรื่อย ๆ จนถึง คนที่ ๕ แล้วจึงเชื่อมด้วยคาว่า “และ” หรือ “&” ก่อนใส่ชื่อหรือชื่อสกุลผู้แต่งคนสุดท้าย เช่น ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์ และไพโรจน์ เพ็ญสุข ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์, ไพโรจน์ เพ็ญสุข, สมศรี สุขโข และ ลออ อยู่สวัสดิ์ Mann, J.M., Tarantola, D.J., Netter., T.W., Sande, P., Volberding, A., & Berger,j. ๑.๗ ผู้แต่งมากกว่า ๖ คน ให้ระบุชื่อและชื่อสกุลผู้แต่งคนแรก คนที่สองไปเรื่อย ๆ จนถึงคนที่ ๖ คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) จากนั้นให้ระบุคาว่า “และคณะ” หรือ “et al.” แทนคนที่ ๗ เป็นต้นไปเช่น ทัดดาว ผ่องพรรณ, รัตนากร ชุติมา, ศุภวรรณ สัจจานันท์, ไพโรจน์ เพ็ญสุข, สมศรี สุขโข, ลออ อยู่สวัสดิ์ และคณะ Netti, B.P., Algatt-Bergstrom, P.J., sande, P., Wollan, P., Greco, M., Mann, J.M., etal. ๒. ปีที่พิมพ์ ๒.๑ ให้ระบุเฉพาะตัวเลขปี พ.ศ. ที่พิมพ์หนังสือเล่มนั้นสาหรับเอกสารภาษาไทย หรือ ค.ศ. สาหรับ เอกสารภาษาต่างประเทศ ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ต่อจากชื่อผู้แต่ง โดยไม่ต้องระบุคาว่า พ.ศ. หรือ ค.ศ. เช่น Spencer, M. (1996). ประเวศ วะสี. (๒๕๔๑).
  • 12. ๓. ชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง ๓.๑ ชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง (Title of Publication) ให้ใส่ชื่อเต็มตามที่ปรากฏในเอสาร โดยให้พิมพ์เป็นตัวเอน (Ltalic) หรือ ตัวหนา (Bold) ก็ได้ และถ้าใช้รูปแบบใดให้ใช้รูปแบบนั้นตลอดทั้งเล่ม สาหรับชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ให้พิมพ์ตัวอักษรตัวแรก เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนคาอื่น ๆ ให้ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์เล็กยกเว้นกรณีที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น เทียนฉาย กีระนันท์. (๒๕๔๒). การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน: แนวคิดเชิงทฤษฎี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Levy,J.A. (1998). HIV and the pathogenesis of AIDS. Washington, DC: ASM Press. ๓.๒ ถ้ามีชื่อเรื่องรอง (Sub-title หรือ Two – part Title) ให้ใส่ชื่อเรื่องรองตามหลังชื่อเรื่อง คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) กรณีชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ให้พิมพ์อักษรตัวแรกคาแรกของชื่อเรื่องรองเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วนคาอื่น ๆ ให้ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์เล็ก เช่นเดียวกัน ยกเว้นกรณีที่เป็นชื่อเฉพาะเช่น ปรีชา จาปารัตน์ และ ไพศาล ชัยมงคล. (๒๕๒๐). การบริหารพัสดุ:ทฤษฎี และปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. Banta, G.R. (1982). Asian cropping systems research: Microeconomic evaluation procedures. Ottawa: International Development Research Center. ๔. ครั้งที่พิมพ์ ให้ใส่ครั้งที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่ ๒ ขึ้นไป ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ระบุลาดับที่ของการนับตัวเลขด้วย เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. Harry Potter. 5 th ed. หากมีข้อความระบุการปรับปรุงแก้ไข (Revised) หรือการแก้ไขเพิ่มเติม (Enlarged) ให้ใส่ไว้ด้วย เช่น พิมพ์ครั้งที่ ๒ 2 th ed. พิมพ์ครั้งที่ ๓ ฉบับปรับปรุง 3 th rev.ed. พิมพ์ครั้งที่ ๒ แก้ไขเพิ่มเติม 2 th rev.& enl.ed.
  • 13. ๕. สถานที่พิมพ์ ๕.๑ ให้ระบุชื่อเมืองหรือชื่อจังหวัดซึ่งเป็นที่ตั้งของสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏในเอกสารถ้ามีหลายเมือง ให้ ใส่ชื่อแรกเท่านั้น ในกรณีที่มีชื่อเมืองซ้ากันหรือเป็นเมืองที่ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ให้ระบุอักษรย่อหลังชื่อเมืองด้วย โดยคั่นด้วย เครื่องหมายจุลภาค (,) เช่น กรุงเทพฯ New York Princeton, Nj. ๕.๒ ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ “ม.ป.ท.” หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ สาหรับเอกสาร ภาษาไทย หรือ “n.p.” หมายถึง no place สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษแทน โดยใส่ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] เช่น [ม.ป.ท.] [n.p.] ๖. สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์ ๖.๑ ให้ระบุตามที่ปรากฏในหน้าปก หากมีทั้งชื่อสานักพิมพ์ และชื่อโรงพิมพ์ให้ใส่ชื่อสานักพิมพ์ ๖.๒ ถ้ามีหลายสานักพิมพ์ ให้ใส่ชื่อสานักพิมพ์แรกหรือชื่อสานักพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยตัวหนา หรือตัวใหญ่เป็น พิเศษ ๖.๓ ถ้าไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ทั้งในปกหน้าปกใน หลังหน้าปกใน ให้ใส่ชื่อโรงพิมพ์แทน เช่น โรง พิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว เป็นต้น ๖.๔ ถ้าเป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตโดยสถาบัน เช่น หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรต่าง ๆ ให้ใส่ชื่อสถาบัน เช่น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ๖.๕ คาประกอบทั้งหลาย เช่น บริษัท, ห้างหุ้นส่วนจากัด, Incorporation, Limited,Ltd. ให้ตัดออก เช่น สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จากัด ให้ใช้คาว่า ไทยวัฒนาพานิช Longman Group Ltd. ให้ใช้คาว่า Longman Group ยกเว้นโรงพิมพ์ให้ใส่โรงพิมพ์ด้วย เช่น โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ๖.๖ ไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ ให้ระบุคาว่า “ม.ป.พ” หรือ “n.p.” โดยระบุไว้ใน เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม เช่น [ม.ป.พ.] หรือ [n.p.]
  • 14. รูปแบบการลงรายการส่วนท้ายเล่มและตัวอย่าง ๑. หนังสือทั่วไป ๑.๑ ผู้แต่ง ๑ คน ๑.๑.๑ ผู้แต่งทั่วไป อมรา คัมภิรานนท์. (๒๕๔๐). พันธุศาสตร์ของเซลล์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Whitfielf,P. (1998). Evolution : The greatest story ever told. London: Marshell Publishing. ๑.๑.๒ ผู้แต่งมีฐานันดรศักดิ/์ บรรดาศักดิ์ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต). (๒๕๔๑). ธรรมะกับการทางาน. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก. วิจิตรวาทการ, หลวง. (๒๕๔๑). ทางสู้ในชีวิต. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค. อากาศดาเกิง รพีพัฒน์,ม.จ. (๒๕๔๑). ละครชีวิต. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า. ๑.๒ ผู้แต่ง ๒ คน เชาว์ ชิโนรักษ์ และ พรรณี ชิโนรักษ์. (๒๕๒๘). ชีววิทยา ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : บูรพาสาส์น Levetin, E., & Mcmahon, k. (๒๐๐๓). Plants and society. 3 rd ed. Boston: McGraw-Hill. ๑.๓ ผู้แต่ง ๓ - ๖ คน Feber, M., Manstettan,R., & Proops, J. (1996). Ecological: Concepts and Methods. Cheltenham: Elgar. ๑.๔ ผู้แต่งมากกว่า ๖ คน ธงชัย คืนถิ่น, พิภพ ธงธวัชชัย, สุธี แซ่ลิ้ม, นพชัย เดชอุดม, พงษ์พันธ์ วรพัฒน์, ศิริ ดิถีเจริญ และคณะ. (๒๕๔๓). การพัฒนารูปแบบการดูแลจากคนในครอบครัวของผู้สูงอายุที่ป่วย เรื้อรัง. นครราชสีมา : สีมาการพิมพ์. ๑.๕ ผู้แต่งที่เป็นสถาบันหรือเป็นนิติบุคคล กรมการศาสนา. (๒๕๔๒). วัดธรรมกาย. กรุงเทพฯ: กรมฯ.
  • 15. สานักงานสถิติแห่งชาติ กองคลังข้อมูลและสนเทศสถิติ. (๒๕๔๑). สมุดรายงานสถิติภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๔๑. กรุงเทพฯ: กองฯ. Office of the National Culture Commision (ONCC). (1990). Eassay on cultural Thailand. Bangkok: ONCC. ๑.๖ หนังสือที่มีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวมและต้องการอ้างหนังสือทั้งเล่ม พิทยา ว่องกุล. (บรรณาธิการ). (๒๕๔๑). ไทยยุควัฒนธรรมทาส. กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์. ๑.๗ ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี. ๒. วิทยานิพนธ์ ๑) ปีพิมพ์ วิทยานิพนธ์ภาษาไทยระบุเป็นพุทธศักราช ถ้าเป็นภาษาอังกฤษระบุเป็นคริสต์ศกราช ั ๒) ใส่ข้อมูลระบุชื่อปริญญา สาขาวิชา และสถาบันการศึกษา สมพร อินทะกนก. (๒๕๔๘). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ด้วยกระบวนการสอนของ เฮวินส์. วิทยานิพนธ์ปริญญาคุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและ การ สอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. ๓. บทความในวารสาร และหนังสือพิมพ์ ๓.๑ บทความในวารสาร วารสาร (Journal) เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่มีกาหนดออกที่แน่นอนและระบุปีที่ เล่มที่ไว้ชัดเจน ซึ่งใน วารสาร ๑ ฉบับ จะประกอบด้วยบทความหลาย ๆ บทความ ๑) ผู้เขียนบทความ ปีที่พิมพ์ ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับหนังสือ บทความที่เป็นภาษาอังกฤษ แม้จะตีพิมพ์ ในวารสารภาษาไทยก็ให้เขียนโดย ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับหนังสือที่เป็นภาษาอังกฤษ ๒) ชื่อบทความ ให้พิมพ์ตัวพิมพ์ธรรมดา (Normal) ๓) ชื่อวารสาร ให้ใช้ชื่อเต็ม ห้ามใช้คาย่อ นอกจากชื่อวารสารนั้นปรากฏเป็นคาย่อยู่แล้ว ให้พิมพ์ด้วยตัวพิมพ์หนา (Bold) หรือ ตัวพิมพ์เอน (Italic) ๔) ชื่อวารสาร และปีที่ (Vol.) สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษให้พิมพ์ด้วย ตัวพิมพ์หนา (Bold) หรือ
  • 16. ตัวพิมพ์เอน (Italic) อักษรตัวแรกของคาทุกคาให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ยกเว้น คานาหน้า หรือคาเชื่อม เช่น บุพบท หรือสันทาน เป็น ต้น ๕) เลขที่หน้าปรากฏ ให้ระบุว่าบทความนั้นปรากฏอยู่ในเลขหน้าใดของวารสารโดยไม่ต้องมีคาว่า “หน้า” หรือ “P” หรือ “PP.” จีรรัตน์ นามประดิษฐ์, มานิตย์ โฆษิตตระกูล, สุมน มาสุธน และ กวิศร์ วานิชกุล. (๒๕๔๕). การเจริญเติบโตของผลกระท้อนพันธุ์ปุยฝ้ายที่ได้รับและไม่ได้รับการห่อ: ลักษณะภายนอก. วิทยาศาสตร์ มข., ๓๐ (๓), ๑๙๙-๒๑๑. วิชาญ เตชิตธีระ. (๒๕๔๐). เอกภาพกับชีวิต. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, ๗(๓), ๑๒-๑๕ Klimoski, R.,& Palmer, S. (๑๙๙๓). The ADA and the hiring Process in organization. Consulting Psycology Journal: Practice and Research, ๔๕ (๒), ๑๐-๓๖. ๓.๒ บทความในหนังสือพิมพ์ ๑) การระบุหน้า ให้ใส่คาว่า “หน้า” หรือ “P” หรือ “PP” ด้วย ๒) ถ้าไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้ใช้ชื่อบทความแทนชื่อผู้แต่ง ไตรรัตน์ สุนทรประภัสสร. (๒๕๔๐,๘ พฤศจิกายน). อนาคตจีน-อเมริกา. เดลินิวส์, หน้า ๖. อานันท์ ปันยารชุน. (๒๕๔๑,๒๙ มีนาคม – ๑ เมษายน). ธรรมรัฐกับอนาคตของประเทศ ไทย. ฐานเศรษฐกิจ, หน้า ๙. ๔. รายงานการประชุมทางวิชาการและเอกสารประกอบการประชุม ๔.๑ บทความในรายงานการประชุมทางวิชาการ รายงานการประชุมทางวิชาการ เป็นเอกสารที่รวบรวมผลงานหลาย ๆ เรื่องจากผู้เขียนผลงานหลาย ๆ คนจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม การประชุมเหล่านั้นอาจจัดเป็นครั้งคราว หรือจัดเป็นประจา รูปแบบการเขียน เอกสารอ้างอิงรายละเอียดดังนี้ ๑) ปีพิมพ์ให้ระบุปีจัดพิมพ์รายงาน ไม่ใช่ปีของการประชุม ๒) ชื่อการประชุมให้ใส่ชื่อเต็มตามที่ปรากฏในเอกสาร ๓) ในส่วนของสานักพิมพ์ถ้าไม่ปรากฏ ให้ระบุหน่วยงานที่จัดการประชุมครั้งนั้น พร้อมด้วยสถานที่จัด ประชุม สุชน ตั้งทวีวิพัฒนา และ บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. (๒๕๓๓). การใช้เมล็ดทานตะวันเป็นแหล่งโปรตีนและ พลังงานในอาหารสัตว์ปี. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ ๒๘ (สาขาสัตวศาสตร์และ
  • 17. ประมง), หน้า ๔๗-๕๙. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. แน่งน้อย ย่านวารี. (๒๕๔๙). ปรากฏการณ์วิทยา, แนวคิดและการนาไปใช้ในการวิจัย. ในรายงานสรุปผลการอบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยเชิงคุณภาพสาหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี, หน้า ๓๑-๔๔. อุดรธานี : สานักงานโครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. ๔.๒ เอกสารประกอบการประชุม เทียนฉาย กีระนันท์. (๒๕๔๖). การเตรียมพร้อมของมหาวิทยาลัยรัฐเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยทางการบริหารการศึกษา จัดโดยสานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา และสภาผู้บริหารหลักสูตรการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๒ – ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๖ ณ ศูนย์ประชุมอิมแพคเมืองทองธานี นนทบุรี. ๕. เอกสารอัดสาเนาหรือเอกสารไม่ได้ตีพิมพ์ เอกสารอัดสาเนาหรือเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ ให้ใช้แบบแผนเดียวกับการอ้างอิงหนังสือ แต่ให้ใส่ชื่อ เอกสารอัดสาเนา หรือเอกสารเหล่านั้นไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศ (“.......”) แทนการพิมพ์ด้วยตัวเอนหรือตัวหนา และวงเล็บคาว่า “เอกสารอัดสาเนา” ไว้ท้ายสุด สานักงาน ก.พ. (๒๕๓๗). “ข้อบังคับ ก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพล เรือน พ.ศ. ๒๕๒๗” กรุงเทพฯ: สานักงานฯ. (เอกสารอัดสาเนา) อัมพร ศุภชาติวงศ์. [ม.ป.ป.]. “การฝึกอบรม” กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (เอกสารอัดสาเนา) ๖. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ชวน หลีกภัย. (๒๕๔๓, ๑๒ เมษายน). นายกรัฐมนตรี. สัมภาษณ์. ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา. (๒๕๓๘, ๑๒ ตุลาคม). ประธานกรรมการประจาสาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สัมภาษณ์. สมควร ดีประเสริฐ. (๒๕๔๒, ๑๑ มิถุนายน). ราษฎรหมู่บ้านโนนม่วง ต.ศิลา อ.เมือง จ. ขอนแก่น. สัมภาษณ์. ๗. สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย วัสดุที่ไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์รวมไปถึง
  • 18. อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีคุณค่าทางการศึกษา สื่อประเภทนี้บางครั้งจาเป็นต้องอ้างอิงเพื่อประกอบการนาเสนอเนื้อหา ๑) ปีที่จัดทา หมายถึง ปีที่ผลิตหรือปีที่เผยแพร่สื่อ ๒) ชื่อเรื่อง ให้ระบุชื่อสื่อ เช่น ชื่อไฟล์ ชื่อโปรแกรม ชื่อวีดีทัศน์ ลักษณะเดียวกับชื่อหนังสือ ๓) ประเภทสื่อ ให้ระบุลักษณะของสื่อนั้น ๆ ๔) สถานที่เผยแพร่ สถานที่ผลิต ถ้ามีสถานที่เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือสถานที่เผยแพร่เป็นสถานที่ เดียวกับที่ผลิต ให้ระบุแต่เพียงชื่อเดียว ๗.๑ วีดีทัศน์ สานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติภาพ. (๒๕๔๔). พลังงานนิวเคลียร์: พลังที่ขับเคลื่อนเอกภพ. [วีดี ทัศน์]. กรุงเทพฯ : สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ. ๑ ม้วน (๓๐ นาที) ๗.๒ แผนที่ กรมอุทกศาสตร์ ราชนาวีไทย. (๒๕๓๐). ประเทศไทย : อ่าวไทย – ฝั่งตะวันออก: เกาะช้างถึงเกาะ ยอ. [แผนที]. กรุงเทพฯ : ่ กรมอุทกศาสตร์ราชนาวีไทย. ๔๓x๕๘ ซม. ๗.๓ ซีดีรอม การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (๒๕๔๔). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. [ซีดีรอม]. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวฯ. ๘. อินเทอร์เน็ต ๘.๑ เอกสาร/สารสนเทศที่ได้รับจากเว็บไซต์ ประสพ รัตนากร. (๒๕๔๘). ใจเขาใจเรา. สืบค้นเมื่อ ๓ ธันวาคม ๒๕๔๘, จาก Htpp://www.bnn.go.th/files/library/c-a๐๓.htm ๘.๒ เอกสารที่ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนและไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ประวัติการเมืองไทย. [ม.ป.ป.] สืบค้นเมื่อ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๕, จาก http://www.parliament.go.th/files/library/t-b๐๓.htm การจัดเรียงและการพิมพ์รายการอ้างอิงท้ายเล่ม ๑. รายการเอกสารทุกชิ้นที่ถูกอ้างไว้ในส่วนเนื้อเรื่องให้นามารวบรวมไว้ในส่วนท้ายเรื่องภายใต้ หัวข้อ เอกสารอ้างอิง ๒. จัดเรียนรายการเอกสาร มีหลักการเรียง ดังนี้
  • 19. ๒.๑ ใช้หลักการเรียงแบบพจนานุกรม กรณีที่มีทั้งเอกสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้เรียงรายการ เอกสารภาษาไทยไว้ก่อนจนหมด แล้วจึงเรียงรายการเอกสารภาษาอังกฤษ ๒.๒ กรณีชื่อผู้แต่งซ้ากัน หรือผู้แต่งคนเดียวกัน ให้จัดเรียงรายการเอกสารตามลาดับปีพิมพ์ หากปีพิมพ์ ซ้ากันให้ระบุตัวอักษรชื่อเรื่อง หากผู้แต่งคนเดิมมีทั้งรายการเอกสารที่แต่งคนเดียวและแต่งร่วมกับบุคคลอื่น ให้จัดเรียงรายการเอกสารที่ แต่งคนเดียวก่อนแล้วจึงตามด้วยรายการแรก รายการต่อ ๆ ไป ให้ใช้เครื่องหมายขีดเส้นใต้ Underline พิมพ์ติดต่อกัน ๖-๘ ครั้งและจบด้วยเครื่องหมาย มหัพภาพ (.) หรือเครื่องหมายจุลภาค (,) แล้วแต่กรณี ดังตัวอย่าง ประเวศ วะสี. (๒๕๓๙). พุทธศาสนากับ... _______. (๒๕๔๑). ประชาคม... _______. และ ทานากะ, วาย. (๒๕๓๓). การพัฒนา... _______. และ อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว. (๒๕๓๖). ชุมชุน... การใส่เครื่องหมาย ____. ใช้กับผู้แต่งคนแรกเท่านั้น ๓. หลักการพิมพ์ที่ควรทราบ ๓.๑ พิมพ์เครื่องหมายใด ๆ ต่อท้ายข้อความโดยไม่ต้องเว้นวรรค โดยหลังเครื่องหมายมหัพภาค (.) ให้ เว้น ๒ ช่วงตัวอักษร ยกเว้นหลังชื่อต้นและชื่อกลางให้เว้น ๑ ช่วงตัวอักษร หลังเครื่องหมายจุลภาค (,) เครื่องหมาย ทวิภาค (:) และเครื่องหมายอัฒภาค (;) ให้เว้น ๑ ช่วงตัวอักษร ดังตัวอย่าง ๓.๒ หากพิมพ์ข้อความไม่พอใน ๑ บรรทัด เมื่อขึ้นบรรทัดใหม่ให้ย่อหน้าล้าเข้าไป (Indent) ๕ – ๗ ช่วงตัวอักษร เช่น อาทิตย์ กันธินาม. (๒๕๔๘). สภาพและปัญหาการดาเนินงานฝ่ายบริการในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัด หนองคาย วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (ย่อหน้า) รูปแบบการพิมพ์ ตัวอักษร ๑. พิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอักษรสีดา คมชัด ๒. ลักษณะตัวอักษร (Font) อาจใช้แบบไทย สารบัญ (TH Saraban) หรือแบบใดแบบหนึ่งตลอดทั้งเล่ม ๓. ใช้ขนาด ๒๐ พอยท์ แบบตัวพิมพ์หนา (Bold) ในการพิมพ์ชื่อบท
  • 20. ๔. ใช้ขนาด ๑๘ พอยท์ แบบตัวพิมพ์หนา (Bold) ในการพิมพ์หัวข้อใหญ่ ๕. ใช้ขนาด ๑๖ พอยท์ แบบตัวพิมพ์หนา (Bold) ในการพิมพ์หัวข้อย่อยและชื่อตาราง (ตามความ เหมาะสม) ๖. ใช้ขนาด ๑๖ พอยท์ แบบตัวพิมพ์ธรรมดา (Normal) ในการพิมพ์เนื้อหา การเว้นริมขอบกระดาษ ให้เว้นริมขอบกระดาษทั้งสี่ด้าน ดังนี้ ขอบบน เว้น ๑ นิ้ว สาหรับหน้าทั่ว ๆ ไป เว้น ๑.๕ นิ้ว สาหรับหน้าที่ขึ้นบทใหม่และหน้าที่มีหัวข้อ ได้แก่ คานา สารบัญ ขอบล่าง เว้น ๑ นิ้ว ขอบซ้าย เว้น ๑.๕ นิ้ว ขอบขวา เว้น ๑ นิ้ว