SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 100
Baixar para ler offline
Pix source: Jirapat Mobkhuntod “Treatment of human equality” (PMAC 2015 World Art Contest, 9-13 years old)
หน้าที่ของระบบสุขภาพ (Funtions of Health Systems)
ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
RACM 302: Community Medicine
29 พ.ย. 60
https://www.slideshare.net/borwornsom/functions-of-health-systems
Learning Objectives of RACM302: Health Systems
RACM302: 5 (+2) Learning Objectives
1. สุขภาพและปัจจัยกำหนดสุขภาพ
2. ระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ
3. การสร้างเสริมสุขภาพ
4. ศักยภาพชุมชนในการพัฒนาสุขภาพ
5. บทบาทแพทย์ต่อผู้ป่วยและสังคม
6. [เครื่องมือทางระบาดวิทยา: QUAN]
7. [เครื่องมือศึกษาชุมชน: QUAL]
Source: www.facebook.com/pages/เครื่องมือ-7-ชิ้น-วิถีชุมชน/341466792618644
Research Methods & Tools
• QUAN: ระบาดวิทยาและชีวสถิติ
เช่น “cross-sectional survey”
• QUAL: การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อ
สังเคราะห์บทเรียนจากการเรียนรู้
ภาคสนาม เช่น “การประยุกต์ใช้
เครื่องมือ 7 ชิ้นเพื่อศึกษาวิถีชุมชน”
Ø“Up and down the ladder of abstraction”
Source: influxentrepreneur.com/wendyelwell/
Learning Community Medicine
นามธรรม (abstract):
• แนวคิด (concepts)
• ทฤษฎี (theories)
• หลักการ (principles)
• กลยุทธ์ (strategies)
รูปธรรม (concrete):
• การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (data)
• กรณีศึกษา (case studies)
• การทำงานภาคสนาม (fieldwork)
• การนำเสนองาน (presentations)
1) แนวคิดเรื่องระบบ (concepts of systems)
– ระบบซับซ้อนที่ปรับตัวได้ (complex adaptive systems: CAS)
2) หน้าที่ของระบบสุขภาพ (structure of health systems)
– ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ
– “เป้าหมาย” ของระบบสุขภาพ
– “คุณลักษณะ” ของระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์
– “หลักการ” และ “แนวทางการดำเนินงาน” ของกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ
– บทบาทแพทย์ในการพัฒนาระบบสุขภาพ (roles of physicians)
3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies)
Outline
Pix source: online.wsj.com
“ระบบสุขภาพ/ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์
มีหน้าตาอย่างไร? มีคุณสมบัติเป็นอย่างไร?”
Case Study #2:
“Thailand - The Price of Health”
(22 min)
Pix source: online.wsj.com
Question #1:
จากการพิจารณาข้อมูลที่ได้จากกรณีศึกษา
“Thailand - The Price of Health” ข้างต้น
ท่านมีความคิดหรือความรู้สึกเกี่ยวกับระบบสุขภาพ
ของประเทศไทยในปัจจุบันอย่างไรบ้าง?
(2 min)
หน้าที่ของระบบสุขภาพ
(Functions of Health Systems)
Pix source: online.wsj.com
Structure & Functions of Health Systems
Pix source: www.free-ed.net/free-ed/HealthCare/Physiology/default.asp
— Structure &
Organizations
• Patient Care Teams
• PCUs/Clinics
• Hospitals
• Systems/Networks
• Governance Bodies
— Functions & Systems
Building Blocks
• Governing
• Financing
• Creating Resources
• Delivering Services
• Achieving Goals
“Anatomy of Health Systems” “Physiology of Health Systems”
(Structure = What) (Functions = How)
Source: WHO (2000). The World Health Report 2000; Pix source: Modified from: buelahman.files.wordpress.com
The World Health Report 2000:
• The WHO’s first major analysis of the world’s healthcare systems.
• Health systems of all member states were analyzed and ranked by eight measures that
explain how health systems perform.
• Thailand was ranked the 47th on the overall health systems performance.
Japan
(10th)
Thailand
(47th)
China
(144th)
Germany
(25th)
Japan
(10th)
Canada
(30th)
USA
(37th)
UK
(18th)
Swiss
(20th)
Mexico
(61th)
France
(1st)
India
(144th)
Israel
(28th)
Italy
(2nd) Australia
(32nd)
• “ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจ และทางสังคม และไม่ใช่เพียงแค่ภาวะที่
ปราศจากโรคหรือปราศจากการรักษาพยาบาลเท่านั้น”
(Health is a state of complete physical, mental and social well-being
and not merely the absence of disease or infirmity.(1))
• “ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม
เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล(2)”
– สุขภาพทางกาย (physical health)
– สุขภาพทางจิต (mental health)
– สุขภาพทางปัญญา (spiritual health)**
– สุขภาพทางสังคม (social health)
แนวคิดเรื่อง “สุขภาพ” (Concepts of Health)
Source: 1) Preamble to the Constitution of the World Health Organization 1946; 2) พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
• “องค์กร กลุ่มประชากร และกิจกรรมทั้งหมดซึ่งมีเป้าประสงค์หลักใน
การสร้างสุขภาพ ซ่อมสุขภาพ และรักษาสุขภาพ”
(all organizations, people and actions whose primary interest
is to promote, restore or maintain health.(1))
• “ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ”(2)
“ระบบสุขภาพ” (Health Systems)
Source: 1) World Health Organization (200); 2) ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552)
Health System’s Performance
Pix source: WHO (2000). World Health Report 2000.
ระบบสุขภาพ (Health Systems)
AUS CAN FRA GER NETH NZ NOR SWE SWIZ UK US
OVERALL RANKING (2013) 4 10 9 5 5 7 7 3 2 1 11
Quality Care 2 9 8 7 5 4 11 10 3 1 5
Effective Care 4 7 9 6 5 2 11 10 8 1 3
Safe Care 3 10 2 6 7 9 11 5 4 1 7
Coordinated Care 4 8 9 10 5 2 7 11 3 1 6
Patient-Centered Care 5 8 10 7 3 6 11 9 2 1 4
Access 8 9 11 2 4 7 6 4 2 1 9
Cost-Related Problem 9 5 10 4 8 6 3 1 7 1 11
Timeliness of Care 6 11 10 4 2 7 8 9 1 3 5
Efficiency 4 10 8 9 7 3 4 2 6 1 11
Equity 5 9 7 4 8 10 6 1 2 2 11
Healthy Lives 4 8 1 7 5 9 6 2 3 10 11
Health Expenditures/Capita, 2011** $3,800 $4,522 $4,118 $4,495 $5,099 $3,182 $5,669 $3,925 $5,643 $3,405 $8,508
COUNTRY RANKINGS
Top 2*
Middle
Bottom 2*
EXHIBIT ES-1. OVERALL RANKING
Notes: * Includes ties. ** Expenditures shown in $US PPP (purchasing power parity); Australian $ data are from 2010.
Source: Calculated by The Commonwealth Fund based on 2011 International Health Policy Survey of Sicker Adults; 2012 International Health Policy Survey of Primary Care Physicians; 2013 International Health
Policy Survey; Commonwealth Fund National Scorecard 2011; World Health Organization; and Organization for Economic Cooperation and Development, OECD Health Data, 2013 (Paris: OECD, Nov. 2013).
Pix source: http://www.commonwealthfund.org/publications/fund-reports/2014/jun/mirror-mirror
The Commonwealth Fund’s Ranking of Healthcare Systems:
Overall Ranking (2014)
1. ระบบบริการสุขภาพ (health services systems)
– ประเภทของการจัดบริการสุขภาพ (type of health services)
– ระดับของระบบบริการสุขภาพ (level of health services)
– ประเภทขององค์กรผู้ให้การบริการสุขภาพ (type of healthcare organizations)
– องค์ประกอบพื้นฐาน (“Building Blocks”) ในการทำหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ
2. ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (social determinants of
health: SDH)
– ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านปัจเจก
– ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อม
Structure of Health Systems
• หน้าที่ของระบบสุขภาพ ได้แก่ การทำงานขององค์ประกอบต่างๆ
ภายในระบบสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนในทุกมิติ โดยมี
“เป้าหมายร่วม” (mutual goals) ได้แก่
1. การทำให้สุขภาวะของประชาชนให้ดีขึ้น (improving health status)
2. การป้องกันความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงทางสังคมของประชาชน
(financial and social risk protection)
3. การตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพในแต่ละบริบทได้เหมาะสม
(responsiveness) เพื่อทำให้ประชาชนรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบ
สุขภาพมีความพึงพอใจ (satisfaction)
Functions of Health Systems
Source: WHO (2000); Roberts MJ, Hsiao W, Berman P, Reich MR (2004)
ระบบสุขภาพทำหน้าที่อย่างไร?
(How Health Systems Are Functioning?)
Systems Analysis & Systems Thinking
Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO”
การทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ (functions of health systems)
โครงสร้างของ
ระบบสุขภาพ
(structure of
health systems)
(= How)
(= What)
เป้าหมาย
ของระบบ
สุขภาพ
(goals of
health
systems)
=“ในระบบ”
=“นอกระบบ”
=“เกณฑ์การจำแนกใน-นอกระบบ”
Desirable Functions of Health Systems
• คุณลักษณะของระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ (characteristics of desirable
health services system) ส่งเสริมการทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ ได้แก่:
1. ความเป็นธรรม (Equity)
2. คุณภาพ (Quality)
3. ประสิทธิภาพ (Efficient)
4. ธรรมาภิบาล (Good Governance) เช่น
• มีความรับผิดรับชอบต่อสังคม (Social Accountability)
• การตอบสนองต่อบริบทจำเพาะของสังคม (Relevancy/Relevance)
Desirable Health Services System
Source: WHO (1964)
“EQESaR”
Different Levels of Health Systems
Pix source: Gilson (2012); de Savigny & Adam (2009)
ประเทศ, โลก
องค์กร, ท้องถิ่น
ทีมดูแลสุขภาพ
• ความเป็นธรรม (Equity):
– ระบบบริการสุขภาพที่มีความเป็นธรรม หมายถึง ระบบบริการสุขภาพที่เปิด
โอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่ม เช่น ทุกเพศ ทุกเชื้อชาติศาสนา ทุกกลุ่มที่อยู่อาศัย
ทางภูมิศาสตร์ และทุกกลุ่มสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม มีโอกาสที่เท่าเทียม
ในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ (equality of opportunity)
ตรงตามความต้องการด้านสุขภาพของแต่ละคน (equal services for
equal needs, and unequal services for unequal needs) ไม่ว่าจะ
เป็นบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพ
1. Equitable Health Services
Pix source: www.stephenharrington-online.com
Theory of Justice
Pix source: hp-lexicon.org/wizards; helenicproducts.com
• How should we fairly cut this cake into two pieces for
each of the twins?
Theory of Justice
Source: John Rawls. The Theory of Justice (1971, 2001): Pix source: irwinbartlet.wordpress.com
“Fair decisions should be made from the original position where
no one knows what burdens or benefits he or she might receive
once the veil of ignorance is lifted.” --John Rawls
• “Justice as Fairness”
“ความเป็นธรรม”
“ความยุติธรรม”
(Equity)
Equity vs. Equality
Pix source: twicsy.com/i/TwC76c
• Equity means equality of opportunity (“justice as fairness”).
• Equality is not always justice.
Being Equal (“=Sameness”)
Being Equitable (“=Fairness”)
“ความเสมอภาค”
“ความเท่าเทียม”
(Equality)
“Where is a Fair Starting Point for Health Equity?”
Health
System
Source: www.independent.co.uk/news/world/politics/credit-suisse-global-wealth-world-most-unequal-countries-revealed-a7434431.html
• ความเป็นธรรมทางสุขภาพ (health equity) อาจวัดได้ค่อนข้างลำบาก
• บริการสุขภาพที่เป็นธรรม (equitable health services) อาจเป็นตัวชี้วัดทดแทน
(proxy measures) ของการวัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพิจารณาจาก
ความสามารถของระบบบริการสุขภาพที่ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ
สุขภาพที่เหมาะสมได้ (accessibility to health services) ซึ่งรวมทั้ง:
– ความสามารถในการเข้าถึงทางกายภาพ (physical accessibility)
– ความสามารถในการเข้าถึงทางจิตใจ (psychological accessibility)
– ความสามารถในการเข้าถึงทางการเงิน (financial accessibility)
– ความสามารถในการเข้าถึงทางข้อมูลข่าวสาร (information accessibility)
Equitable Health Services
Source: WHO/Europe (2007)
Pix source: twicsy.com/i/TwC76c
Equal (“Same”) Equitable (“Fair”)
“ความเสมอภาค”
“ความเท่าเทียม”
(Equality)
“ความเป็นธรรม”
“ความยุติธรรม”
(Equity)
โอกาสในการดูกีฬา vs. โอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
Pix source: https://pbs.twimg.com/media/CaYQ2SpUcAAliof.jpg
โอกาสในการดูกีฬา vs. โอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
“ความเป็นจริงในบางประเทศ”
Pix source: http://culturalorganizing.org/the-problem-with-that-equity-vs-equality-graphic/
Question #2: สังคมไทยกำหนดนิยามของ “ความเป็นธรรม” ไว้อย่างไร?
“การกำจัดอุปสรรคใน
การเข้าถึงโดยเสรี”
โอกาสในการดูกีฬา vs. โอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
“ท่านกำหนดนิยามของ
ความเป็นธรรมในแบบ
ของท่านอย่างไร?”
• ตัวอย่างของการพัฒนาความเป็นธรรมของระบบบริการสุขภาพ :
– การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเฝ้าระวังการที่ประชากรบางกลุ่มได้รับการ
รักษาที่แตกต่างกัน หรือได้รับการบริการสุขภาพที่มีคุณภาพที่ด้อยกว่า
ประชากรกลุ่มอื่นๆ
– การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเฝ้าระวังการที่ประชากรบางกลุ่มได้รับผลลัพธ์
ของการรักษาที่แตกต่างกัน
– มุ่งเน้นการพัฒนาการเข้าถึงบริการสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพของ
กระบวนการให้บริการสุขภาพในประชากรกลุ่มดังกล่าว เพื่อลดความไม่เป็น
ธรรมของระบบบริการสุขภาพ
Equitable Health Services
Source: WHO/Europe (2007)
Universal Health Coverage in Action!
Source: จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (2557). ทิศทางงานวิจัยเชิงระบบและนโยบายด้านสุขภาพ.
Universal Health Coverage in Action!
Source: Campbell et al. (2013)
“มีบริการ”
“เข้าถึงบริการ”
“ ยอมรับบริการ”
“ใช้บริการ”
“ใช้บริการที่มีคุณภาพ”
• คุณภาพ (quality):
–ระบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ หมายถึง ระบบบริการสุขภาพที่
ปลอดภัย ให้บริการทันเวลา มีประสิทธิผล และใช้ผู้ป่วยเป็น
ศูนย์กลางในการจัดบริการสุขภาพ (safe, timely, effective,
patient-centered: STEP)
2. Quality Health Services
Source: WHO/Europe (2007)
• ความปลอดภัย (Safety): ได้แก่ การออกแบบระบบบริการสุขภาพให้
สามารถป้องกันความผิดพลาดทางการแพทย์ (medical errors) หรือ
หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บของผู้ป่วยซึ่งเกิดจากการได้รับบริการสุขภาพ
(iatrogenic injuries)
Quality as Safety
Source: Modified from IOM (2001); Pix source: thieme-connect.de/ejournals; tumblr.com
Patient Safety vs. Medical Errors
Source: amazon.com, matichonbook.com
• By design, a safe healthcare system prevents medical errors
and avoid iatrogenic injuries.
(Disclaimer: Obviously, this is partly my self-advertisement!)
• ตัวอย่างของการพัฒนาความปลอดภัยของระบบบริการสุขภาพ :
– เมื่อมีความผิดพลาดทางการแพทย์เกิดขึ้น มีกระบวนการทำงานมุ่งเน้นการค้นหา
รากของปัญหา (root cause analysis) ของความผิดพลาดทางการแพทย์นั้น
โดยการพิจารณาทั้งการพัฒนาทักษะของวิชาชีพ และการแก้ไขปัญหาเชิงระบบ
– มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กรในระบบบริการสุขภาพซึ่งเน้นความปลอดภัย
(safety culture) มากกว่าการมุ่งเน้นการจับผิดบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงาน
ผิดพลาด (blame culture)
– มีกระบวนการเฝ้าระวังการทำงานที่ผิดพลาดก่อนที่จะเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย
(near miss)
Quality as Safety
• ความทันเวลา (timeliness): ได้แก่ การลดการรอคอยและการเสียเวลา
ของทั้งผู้ให้บริการสุขภาพและผู้รับบริการสุขภาพ ซึ่งบางครั้งอาจจะ
นำไปสู่การเกิดอันตรายแก่ผู้รับบริการสุขภาพได้ เช่น มีระบบให้การ
วินิจฉัยโรคและรักษาโรคอย่างทันเวลาไม่รอจนให้อาการรุนแรง เป็นต้น
Quality as Timeliness
Source: Modified from IOM (2001); Pix source: toonpool.com/cartoons.jpg
• ตัวอย่างของการพัฒนาความทันเวลาของระบบบริการสุขภาพ :
– การลดอุปสรรคด้านการเงินและอุปสรรคด้านการเดินทางที่อาจทำให้ผู้ป่วย
ฉุกเฉินไม่สามารถไปรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ใกล้ที่สุดได้ (accessibility)
เช่น การจัดรถพยาบาล (ambulance) ไปรับผู้ป่วยในที่เกิดเหตุมายังห้องฉุกเฉิน
– การเพิ่มการตอบสนองของระบบบริการสุขภาพต่อปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย
ฉุกเฉิน (systems responsiveness) เช่น การลดระยะเวลาการรอคอยการพบ
แพทย์ของผู้ป่วยฉุกเฉินที่ห้องฉุกเฉิน หรือการลดระยะเวลาการรอคอยการผ่าตัด
ของผู้ป่วยหลังได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคที่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดฉุกเฉิน
Quality as Timeliness
• ประสิทธิผล (effectiveness): ได้แก่
การจัดบริการสุขภาพตามแนวทางมาตรฐาน
บนพื้นฐานของความรู้และหลักฐานทาง
วิทยาศาสตร์ (evidence-based) ให้แก่
ประชาชนทุกคนที่จะสามารถได้ประโยชน์จาก
บริการสุขภาพนั้นๆ (หลีกเลี่ยง underuse)
และหลีกเลี่ยงการให้บริการสุขภาพที่มีแนวโน้ม
ไม่ก่อประโยชน์ (หลีกเลี่ยง overuse และ
misuse) เช่น การกำหนดแนวทางการให้การ
บริการสุขภาพตาม clinical practice
guidelines (CPGs) เป็นต้น
Quality as Effectiveness
Source: Modified from IOM (2001); Pix source: www.rch.org.au/clinicalguide
• ตัวอย่างของการพัฒนาประสิทธิผลของระบบบริการสุขภาพเพื่อ
ลดช่องว่างระหว่างมาตรฐานที่ผู้ป่วยควรจะได้รับและสิ่งที่ได้รับจริง :
– ผู้กำหนดนโยบายสุขภาพและผู้บริหารระบบบริการสุขภาพกำหนดนโยบายเพื่อ
ส่งเสริมการใช้ยาหรือส่งเสริมการตรวจวินิจฉัยโรคตาม evidence-based
guideline ที่ทันสมัย
– การดำเนินโครงการเพื่อวัดสมรรถนะของการทำงานของแพทย์ในการดูแลผู้ป่วย
ทางคลินิก (performance measures) และให้การพัฒนาทักษะสำหรับแพทย์ที่
มีสมรรถนะการทำงานไม่ผ่านมาตรฐาน
Quality as Effectiveness
• การมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในการจัดบริการ (patient-centeredness): ได้แก่
การจัดบริการสุขภาพที่เคารพในสิทธิของผู้ป่วย ตอบสนองต่อความต้องการ
ความเชื่อ และการให้คุณค่าในเรื่องสุขภาพของผู้ป่วยแต่ละคน เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยมี
ส่วนร่วมตัดสินใจเรื่องการรับบริการสุขภาพต่างๆ ของตนเอง สร้างความพึงพอใจ
ให้แก่ผู้รับบริการ ไม่ยึดการรักษาตัวโรคเป็นศูนย์กลาง (disease-centeredness)
และ ไม่ยึดผู้ให้บริการสุขภาพเป็นศูนย์กลาง (provider-centeredness)
Quality as Patient-Centeredness
Source: Modified from IOM (2001); Pix source: blog.skylight.com/patient-centric
Pix source: ppvoice.thainhf.org
“รักษาโรค หรือ รักษาคน?”
-- ศ.นพ.ประเวศ วะสี
Patient-Centered Care for Elderly & Dying
Source: amazon.com, openworlds.in.th
(Disclaimer: Obviously, this is partly my self-advertisement!)
• ตัวอย่างของการพัฒนาการมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในการจัดบริการ :
– การสร้างทางเลือกในการรักษาพยาบาล (options) เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัว
สามารถเลือกกระบวนการรักษาพยาบาลที่สอดคล้องกับคุณค่าและเป้าหมาย
(goals and values) ในการดำเนินชีวิตของตนเอง
– ในการให้การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย ผู้ป่วยบางรายอาจต้องการเลือก
การรักษาพยาบาลที่มุ่งเน้นการมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะเวลาที่เหลืออยู่มากกว่า
การักษาพยาบาลที่มุ่งเน้นการยืดอายุออกไป
– การจัดกระบวนการรักษาพยาบาลที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ที่ดีในระหว่างที่
ผู้ป่วยอยู่ในกระบวนการรักษาพยาบาล (patients’ experience) เช่น ให้การ
ดูแลเพื่อควบคุมความเจ็บปวด ลดความทุกข์ทรมาณ เคารพการตัดสินใจของ
ผู้ป่วยและญาติ และรักษาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย
Quality as Patient-Centeredness
• ประสิทธิภาพ (efficiency):
– ระบบบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง การจัดบริการ
สุขภาพโดยการใช้ทรัพยากรสุขภาพ (health resources) เช่น ยา บุคลากร
ทางการแพทย์ หรือ งบประมาณที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า
(cost-effectiveness) ได้ผลอรรถประโยชน์สูงสุด (utility maximization)
และมีการสูญเปล่าของทรัพยกรน้อยที่สุด (waste reduction)
3. Efficient Health Services
Source: Modified from IOM (2001)
Efficiency of Thai Healthcare??
“31.2% of diabetes patients and 50.3% of
hypertension patients are not diagnosed.
Only 28.5% and 20.9% of cases have been
diagnosed, treated and brought under control.”
Figure source: Kanchanachitra .et al. (2010)
• การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพสามารถทำได้ 2 วิธี ได้แก่
– การเพิ่มประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (technical efficiency)
– การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร (allocative efficiency)
Technical vs. Allocative Efficiency
Pix source: www.wsed.at/en/
• ตัวอย่างของการพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ :
– หลีกเลี่ยงการใช้ตรวจทางห้องปฏิบัติการแบบใหม่ที่ได้ผลเท่าเดิมแต่ราคาแพงกว่า
ของเดิมเนื่องจากเป็นการสูญเปล่าของทรัพยากรสุขภาพ
– ใช้การผ่าตัดแบบใหม่ซึ่งได้ผลเท่าเดิมหรือดีกว่าเดิมแต่เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการ
ผ่าตัดแบบเดิม เช่น minimally invasive surgeries (MIS) ซึ่งผู้ป่วยไม่
จำเป็นต้องนอนพักรักษาตัวภายในโรงพยาบาล
– กรณีที่เทคโนโลยีทางการแพทย์ใหม่มีประสิทธิผลดีกว่ามากแต่แพงกว่าเดิม หรือมี
ประสิทธิผลต่ำกว่าเดิมแต่ราคาถูกกว่าเดิม จำเป็นต้องมีการประเมินเทคโนโลยี
ด้านสุขภาพ (health technology assessment: HTA) เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี
ทางการแพทย์ใหม่ที่มี “ความคุ้มค่า” (value) มากที่สุด
Efficient Health Services
• การตอบสนองต่อภาระรับผิดชอบต่อสังคม (social accountability):
– การอภิบาลระบบบริการสุขภาพที่มีกลยุทธ์จัดการบริการสุขภาพทั้งระบบ
– มีการจัดทำกฎเกณฑ์การดำเนินการตามกฎเกณฑ์ และกำกับติดตามระบบ
บริการสุขภาพ มีระบบความรับผิดรับชอบเมื่อไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่
สังคมต้องการ (accountability system) และมีความโปร่งใส
(transparency) สามารถให้สังคมตรวจสอบได้ในทุกๆ ด้าน
– ตัวอย่างเช่น มีระบบการตรวจสอบคุณภาพบริการ มีความเป็นธรรมในการ
เข้าถึงบริการ และมีประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรของส่วนรวม
4. Good Systems Governance:
Socially Accountable Health Services
Governance of Health Systems:
Social Accountability
Source: https-//dhdcblog.files.wordpress.com/2015/03/pic_1
• การตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในบริบทจำเพาะของสังคม (relevancy):
– การจัดการระบบบริการสุขภาพที่ตอบสนองปัญหาสุขภาพของสังคมได้อย่าง
เหมาะสมกับบริบท ทั้งในด้านคุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึง
บริการ และประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร
– ตัวอย่างเช่น การจัดบริการสุขภาพที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพในระดับพื้นที่
5. Good Systems Governance:
Relevant Health Services
Source: WHO/Europe (2007)
Governance of District Health Systems
• ระบบการบังคับบัญชา/สั่งการตามระบบราชการ (ส่วนกลาง, ส่วนภูมิภาค, ส่วนท้องถิ่น)
VS. ระบบประสานงาน (เช่น ระบบสุขภาพอำเภอ)
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย
สํานักงาน
ปลัดสธ.กรมฯ
(อธิบดี)
ศูนย์วิชาการ
(ผอ.ศูนย์ฯ เขต)
ทีOว่าการจังหวัด
(ผู้ว่าราชการจังหวัด)
สํานักงาน
สาธารณสุขอําเภอ
(สสอ.)
รพ.สต. (สอ.)
(ผอ.รพ.สต.)
ทีOว่าการอําเภอ
(นายอําเภอ)
สํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด
(นพ.สสจ.)
รพศ., รพท.
(ผอ.รพ.)
รพช.
(ผอ.รพ.)
เทศบาล, อบต.
(นายกเทศมนตรี)
- คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.)
- คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
เอกชน
Relevancy
“ระบบบริการสุขภาพทำงานร่วมกับ
ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคมอย่างไร?”
กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ
(Health Promotion)
Pix source: online.wsj.com
Six Building Blocks of
Health Services Systems
Health
Services
System
Health System
“IPO”
Health Promotion: Definition
Source: สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี (2556) แปลจาก First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21 November 1986
“การสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการที่เอื้ออํานวยให้ประชาชนสามารถเพิ่มความ
สามารถในการควบคุมและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง (the process of enabling
people to increase control over, and to improve, their health) การจะ
เข้าถึงสภาวะที่สมบูรณ์ท้ังกาย จิตและสังคมน้ัน บุคคลหรือกลุ่มบุคคลต้องสามารถระบุ
ถึงสิ่งที่ต้องการบรรลุและบรรลุในส่ิง ที่ต้องการได้ รวมถึงสามารถปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม
หรือสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ สุขภาพจึงมิใช่เป้าหมายแห่ง
การดํารงชีวิตอยู่อีกต่อไป หากแต่เป็นแหล่งประโยชน์ของทุกวันที่เราดําเนินชีวิต สุขภาพ
เป็นแนวคิดด้านบวกท่ีมุ่งเน้นแหล่งประโยชน์ทางสังคม และแหล่งประโยชน์ส่วนบุคคล
รวมถึงศักยภาพทางกายของบุคคล ดังน้ันการสร้างเสริมสุขภาพ จึงไม่เป็นเพียงความ
รับผิดชอบของภาคส่วนท่ีดูแลสุขภาพเท่าน้ัน แต่ยังมุ่งไปที่รูปแบบการดําเนินชีวิตท่ีส่งผล
ดีต่อสุขภาพซึ่จะนําไปสู่การมีสุขภาวะ (well-being) ในที่สุด”
Health Promotion: Definition
“การกระทําท่ีมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทาง กาย จิต
ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อมและ
สภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว
และชุมชน”
--ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2552
① Health Promotion in Clinical Practice
• “การส่งเสริมสุขภาพ”
• Individual-focused
• Services-based
• It’s necessary, but can have
limited impacts
ØRequires a process to link
health promotion in clinical
practice & health promotion
at the the population level
Pix source: www.barnesandnoble.com
② Health Promotion at Population Level
• การสร้างเสริมสุขภาพ/พัฒนาสุขภาพ
• Population-focused
• Not necessarily services-based
• A “process”, including a change
of socioeconomic policies,
politics, culture that can
influence health status of the
population and health equity
Pix source: www.cpha.ca/en/about/digest/xxxv-4/9.aspxarnesandnoble.com
“Ottawa Charter of Health Promotion (1986)”
Health Promotion vs. Disease Prevention
Pix source: greenpeace.org; twirlit.com; who.int/bulletin; cha-amcity.go.th
• Health is not merely the absence of disease or infirmity.
• Health promotion strategies have to go beyond health services sector.
“Social Determinants
of Health (SDH)”
Levels of Disease Prevention
Pix source: Adapted from Leavell & Clark (1958)
• Chronological view
Levels of Disease Prevention
Pix source: www.qualityprofiles.org
• Cardiovascular Disease (CVD) Continuum
Levels of Disease Prevention
Pix source: Adapted from Primary Health Care Classification Consortium of WONCA International Classification Committee Working Groups, 2013)
• Relational view
Scope of Health Services
Types/Functions of
Health Services
Level of Disease Prevention
• การส่งเสริมสุขภาพ
(Health promotion)
• การป้องกันโรค
(Disease prevention)
• การรักษาโรค
(Medical treatments)
• การฟื้นฟูสภาพ
(Rehabilitation)
• การป้องกันขั้นแรก
(Primary prevention)
• การป้องกันขั้นที่สอง
(Secondary prevention)
• การป้องกันขั้นที่สาม
(Tertiary prevention)
• การป้องกันขั้้นที่สี่
(Quaternary prevention)
Health Promotion Action
Source: First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21 November 1986
Ø การดําเนินการสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion Action) หมายถึง:
1. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(Build healthy public policy)
2. สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อสุขภาพ
(Create supportive environment)
3. เสริมสร้างการดําเนินการในชุมชนที่เข้มแข็ง
(Strengthen community action)
4. พัฒนาทักษะส่วนบุคคล
(Develop personal skills)
5. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
(Reorient health services)
Ottawa Charter of Health Promotion (1986)
1.สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(Build healthy public policy)
3.เสริมสร้างการดําเนินการในชุมชนที่เข้มแข็ง
(Strengthen community action)
2.สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อสุขภาพ
(Create supportive environment)
4.พัฒนาทักษะส่วนบุคคล
(Develop personal skills)
5.การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
(Reorient health services)
Principles of Health Promotion
Ø Three Basic Prerequisites of Health Promotion:
① การสนับสนุนชี้แนะ
(Advocacy)
② การเสริมสร้างความสามารถ
(Enabling)
③ การเป็นสื่อกลาง
(Mediation)
Source: สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี (2556) แปลจาก First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21 November 1986
Principles of Health Promotion
Ø Five Principles Underlying Health Promotion:
1) การเสริมสร้างอำนาจ (Empowerment)
2) การมีส่วนร่วมของสาธารณะ (Public involvement)
3) ความร่วมมือระหว่างภาคี (Intersectoral co-operation)
4) การลดความไม่เท่าเทียมและความไม่เป็นธรรมในด้านสุขภาพ
(Reducing the inequality in health)
5) การให้ความสำคัญกับปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
(Concern social & Environment factors)
Principles of Health Promotion
Ø Summary: Principles of Health Promotion:
①การสนับสนุนชี้แนะ (Advocacy)
1) การลดความไม่เท่าเทียมและความไม่เป็นธรรมในด้านสุขภาพ
(Reducing the inequality in health)
②การเสริมสร้างความสามารถ (Enabling)
2) การเสริมสร้างพลังอำนาจของประชาชน (Empowerment)
3) การให้ความสำคัญกับปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (Concern
social & environment factors)
③การเป็นสื่อกลาง (Mediation)
4) การมีส่วนร่วมของสาธารณะ (Public involvement)
5) ความร่วมมือระหว่างภาคี (Intersectoral co-operation)
Pix Source: www.bangkokpost.com, www.kapook,com
5E: Education, Traffic Engineering, Law Enforcement,
Public Empowerment, Emergency Medical Services
“แพทย์ควรแสดงบทบาทอย่างไรบ้าง
ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน
ภายในระบบสุขภาพของประเทศไทย?”
(Roles of Physicians in Health Systems)
การประยุกต์การคิดเชิงระบบเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพ
(Systems Thinking for Health Systems Strengthening)
Pix source: online.wsj.com
3 Types of Systems
Source: Adapted from Glouberman and Zimmerman (2002)
#1 Simple Systems
Source: W.K. Kellogg Foundation (2004)
• An example of simple “logic” model:
“ผลงาน” “ผลลัพธ์” “ผลกระทบ”
#2 Complicated Systems
Pix Source: www.edrawsoft.com/example-service-workflow.php
• An example of complicated “engineering” model:
#3 Complex Systems
Source: www.nature.com/nrclinonc/journal/v11/n3/fig_tab/nrclinonc.2014.6_F1.html
• A complex interactions between molecular networks within cells:
Systems Analysis & Systems Thinking
Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO”
การทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ (functions of health systems)
โครงสร้างของ
ระบบสุขภาพ
(structure of
health systems)
(= How)
(= What)
เป้าหมาย
ของระบบ
สุขภาพ
(goals of
health
systems)
=“ในระบบ”
=“นอกระบบ”
=“เกณฑ์การจำแนกใน-นอกระบบ”
“Thailand’s Health Systems”
Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO”
ตัวอย่างเช่น ”ระบบสุขภาพของประเทศไทย”
ตัวอย่างเช่น สภาวะเศรษฐกิจและการเมืองของโลก (politico-economics environment)
ตัวอย่างเช่น “สุขภาพของคนไทย”
ตัวอย่างเช่น
“ทรัพยากร
สุขภาพของ
ประเทศไทย”
ตัวอย่างเช่น
“ครอบคลุมประเด็น
สุขภาพซึ่งสังคมไทย
สามารถจัดการได้”
“Complex Adaptive Systems” (CAS)
Source: Scheerens and Bosker 1997
ผู้รับผลงาน1,2,3,…
(Customers)
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย1,2,3,…
(Stakeholders)
กระบวนการตอบสนองย้อนกลับ
(Feedback Loop)
การจัดการตัวเอง
(Self-organizing)
การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
(Constantly changing)
Characteristics of Complex Systems
Source: Adapted from Glouberman and Zimmerman (2002)
• องค์ประกอบภายในระบบ “เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด” (tightly linked)
• “คุณสมบัติผุดบังเกิด” หรือ“คุณสมบัติอุบัติใหม่” (emerging property)
ที่เกิดขึ้นใหม่จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อยภายในระบบ
(“The whole is not equal to the sum of its parts.”)
• “การตอบสนองย้อนกลับ” (governance by feedback)
• “การจัดการตัวเอง” (self-organizing)
• “การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง” (constantly changing)
“Thailand’s Health Systems”
Source: Scheerens and Bosker 1997 “CIPO”
ตัวอย่างเช่น เวลา (time) สถานที่ (place)
ตัวอย่างเช่น ประเทศไทย พ.ศ.2519 ตัวอย่างเช่น ประเทศไทย พ.ศ.2560
“Thailand’s Health Systems”
ตัวอย่างเช่น ประเทศไทย พ.ศ.2540
“CIPO”
Acute Complicated Diseases Chronic Complex Diseases
• เกิดอาการขึ้นอย่างเฉียบพลัน (abrupt
onset)
• ส่วนใหญ่สามารถระบุสาเหตุได้
• การวินิจฉัยโรคและการพยากรณ์โรคมักจะมี
ความแม่นยำ
• เทคโนโลยีในการรักษาที่มีอยู่มักจะมี
ประสิทธิผลที่ดีและทำให้ผู้ป่วยหายขาด
(cure) กลับไปสู่สุขภาวะที่ดีได้
• ความรู้ทางวิชาชีพแพทย์มีความสำคัญมากกว่า
ความรู้
โดยทั่วไปของประชาชนที่ไม่มีประสบการณ์
• เกิดอาการขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual
onset)
• เกิดจากหลายสาเหตุร่วมกัน (multivariate
cause)
• การวินิจฉัยโรคและการพยากรณ์โรคไม่
แน่นอน
• เทคโนโลยีในการรักษาที่มีอยู่ยังไม่ดีพอและ
อาจมีผลเสีย ไม่สามารถรักษาให้หายขาด (no
cure) และต้องการการจัดการ การให้
คำแนะนำ การดูแลตนเอง (management,
coaching, self-care)
• ความรู้ทางวิชาชีพและความรู้ทั่วไปของ
ประชาชนต่างก็มีความสำคัญในการทำให้
สุขภาพของผู้ป่วยดีขึ้น
Source: Adapted from Holman and Lorig (2000)
Source: Adapted from Innes, Campion, Griffiths (2005) และ โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (2558)
Relationship Between Complexity & Patient Care Process
Pix source: WHO’s framework for action. (2007)
Relationship Between Complexity & Services Improvement
“Health Services Systems”
Pix source: Don de Savigny and Taghreed Adam (2009).
"Pay-for-performance: P4P”
Pix source: Don de Savigny and Taghreed Adam (2009).
Vicious Cycle of Congestion at Emergency Departments
“Health Systems = Complex Systems”
Pix source: WHO’s framework for action. (2007)
• Interconnections among “WHO’s Six Building Blocks of health systems
John Godfrey Saxe's ( 1816-1887) version of the famous Indian legend
Health Systems &
Health Services Systems
Health
Services
System
Health System
Roles of Physicians in Health Systems
Health
System
1) แนวคิดเรื่องระบบ (concepts of systems)
– ระบบซับซ้อนที่ปรับตัวได้ (complex adaptive systems: CAS)
2) หน้าที่ของระบบสุขภาพ (structure of health systems)
– ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ
– “เป้าหมาย” ของระบบสุขภาพ
– “คุณลักษณะ” ของระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์
– “หลักการ” และ “แนวทางการดำเนินงาน” ของกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ
– บทบาทแพทย์ในการพัฒนาระบบสุขภาพ (roles of physicians)
3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies)
Summary
Pix source: online.wsj.com
Health Systems Exercise:
Module II
Pix source: online.wsj.com
Ø“Experience, not explanation.”
Picture source: commonsenseatheism.com; variety.thaiza.com
Learning Community Medicine
EXPERIENCE
นศพ.จะเรียนรู้ “โครงสร้าง” และ “การทำหน้าที่” ของระบบสุขภาพไทย
จากการเรียนรู้และการทำงานในภาคสนาม (fieldwork) ได้อย่างไร?
Pix source: ecrins2010.blogspot.com
Q & A
borwornsom.lee@mahidol.ac.th
Pix source: online.wsj.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Health system in thailand by wilawan senaratana
Health system in thailand by wilawan senaratanaHealth system in thailand by wilawan senaratana
Health system in thailand by wilawan senaratanaUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนDr.Suradet Chawadet
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDODr.Suradet Chawadet
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAOnprapa Wannasut
 

Mais procurados (20)

Mna thai
Mna thaiMna thai
Mna thai
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
Health system in thailand by wilawan senaratana
Health system in thailand by wilawan senaratanaHealth system in thailand by wilawan senaratana
Health system in thailand by wilawan senaratana
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวช
 
Cpg alcoholism
Cpg alcoholismCpg alcoholism
Cpg alcoholism
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากA
 

Semelhante a Functions of Health Systems

The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...Borwornsom Leerapan
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Borwornsom Leerapan
 
Hpe 21 มศก. 600815
Hpe 21 มศก. 600815Hpe 21 มศก. 600815
Hpe 21 มศก. 600815Pattie Pattie
 
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าChuchai Sornchumni
 
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงNawanan Theera-Ampornpunt
 

Semelhante a Functions of Health Systems (20)

The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
Access&quality of care
Access&quality of careAccess&quality of care
Access&quality of care
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
 
Hpe 21 มศก. 600815
Hpe 21 มศก. 600815Hpe 21 มศก. 600815
Hpe 21 มศก. 600815
 
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
 
G health system.pdf
G health system.pdfG health system.pdf
G health system.pdf
 
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
 
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้าทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
ทิศทางการพัฒนาระบบทศวรรษหน้า
 
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
 

Mais de Borwornsom Leerapan

Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?Borwornsom Leerapan
 
Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians Borwornsom Leerapan
 
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and ChallengesDevelopment of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and ChallengesBorwornsom Leerapan
 
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...Borwornsom Leerapan
 
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...Borwornsom Leerapan
 
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4Borwornsom Leerapan
 
Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28Borwornsom Leerapan
 
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21Borwornsom Leerapan
 
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedLeadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedBorwornsom Leerapan
 
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine courseworkBorwornsom Leerapan
 
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentationBorwornsom Leerapan
 
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...Borwornsom Leerapan
 
Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27Borwornsom Leerapan
 
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24Borwornsom Leerapan
 
Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17Borwornsom Leerapan
 
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...Borwornsom Leerapan
 

Mais de Borwornsom Leerapan (20)

Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
 
Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians
 
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and ChallengesDevelopment of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
 
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
 
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
 
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
 
Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28
 
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
 
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedLeadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
 
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
 
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
 
2015.3.3 Research ethics
2015.3.3 Research ethics2015.3.3 Research ethics
2015.3.3 Research ethics
 
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
 
Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27
 
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
 
Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17
 
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
 

Functions of Health Systems

  • 1. Pix source: Jirapat Mobkhuntod “Treatment of human equality” (PMAC 2015 World Art Contest, 9-13 years old) หน้าที่ของระบบสุขภาพ (Funtions of Health Systems) ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ RACM 302: Community Medicine 29 พ.ย. 60 https://www.slideshare.net/borwornsom/functions-of-health-systems
  • 2. Learning Objectives of RACM302: Health Systems RACM302: 5 (+2) Learning Objectives 1. สุขภาพและปัจจัยกำหนดสุขภาพ 2. ระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ 3. การสร้างเสริมสุขภาพ 4. ศักยภาพชุมชนในการพัฒนาสุขภาพ 5. บทบาทแพทย์ต่อผู้ป่วยและสังคม 6. [เครื่องมือทางระบาดวิทยา: QUAN] 7. [เครื่องมือศึกษาชุมชน: QUAL] Source: www.facebook.com/pages/เครื่องมือ-7-ชิ้น-วิถีชุมชน/341466792618644 Research Methods & Tools • QUAN: ระบาดวิทยาและชีวสถิติ เช่น “cross-sectional survey” • QUAL: การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อ สังเคราะห์บทเรียนจากการเรียนรู้ ภาคสนาม เช่น “การประยุกต์ใช้ เครื่องมือ 7 ชิ้นเพื่อศึกษาวิถีชุมชน”
  • 3. Ø“Up and down the ladder of abstraction” Source: influxentrepreneur.com/wendyelwell/ Learning Community Medicine นามธรรม (abstract): • แนวคิด (concepts) • ทฤษฎี (theories) • หลักการ (principles) • กลยุทธ์ (strategies) รูปธรรม (concrete): • การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (data) • กรณีศึกษา (case studies) • การทำงานภาคสนาม (fieldwork) • การนำเสนองาน (presentations)
  • 4. 1) แนวคิดเรื่องระบบ (concepts of systems) – ระบบซับซ้อนที่ปรับตัวได้ (complex adaptive systems: CAS) 2) หน้าที่ของระบบสุขภาพ (structure of health systems) – ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ – “เป้าหมาย” ของระบบสุขภาพ – “คุณลักษณะ” ของระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ – “หลักการ” และ “แนวทางการดำเนินงาน” ของกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ – บทบาทแพทย์ในการพัฒนาระบบสุขภาพ (roles of physicians) 3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies) Outline Pix source: online.wsj.com
  • 6. Case Study #2: “Thailand - The Price of Health” (22 min) Pix source: online.wsj.com
  • 7. Question #1: จากการพิจารณาข้อมูลที่ได้จากกรณีศึกษา “Thailand - The Price of Health” ข้างต้น ท่านมีความคิดหรือความรู้สึกเกี่ยวกับระบบสุขภาพ ของประเทศไทยในปัจจุบันอย่างไรบ้าง? (2 min)
  • 9. Structure & Functions of Health Systems Pix source: www.free-ed.net/free-ed/HealthCare/Physiology/default.asp — Structure & Organizations • Patient Care Teams • PCUs/Clinics • Hospitals • Systems/Networks • Governance Bodies — Functions & Systems Building Blocks • Governing • Financing • Creating Resources • Delivering Services • Achieving Goals “Anatomy of Health Systems” “Physiology of Health Systems” (Structure = What) (Functions = How)
  • 10. Source: WHO (2000). The World Health Report 2000; Pix source: Modified from: buelahman.files.wordpress.com The World Health Report 2000: • The WHO’s first major analysis of the world’s healthcare systems. • Health systems of all member states were analyzed and ranked by eight measures that explain how health systems perform. • Thailand was ranked the 47th on the overall health systems performance. Japan (10th) Thailand (47th) China (144th) Germany (25th) Japan (10th) Canada (30th) USA (37th) UK (18th) Swiss (20th) Mexico (61th) France (1st) India (144th) Israel (28th) Italy (2nd) Australia (32nd)
  • 11. • “ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจ และทางสังคม และไม่ใช่เพียงแค่ภาวะที่ ปราศจากโรคหรือปราศจากการรักษาพยาบาลเท่านั้น” (Health is a state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity.(1)) • “ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล(2)” – สุขภาพทางกาย (physical health) – สุขภาพทางจิต (mental health) – สุขภาพทางปัญญา (spiritual health)** – สุขภาพทางสังคม (social health) แนวคิดเรื่อง “สุขภาพ” (Concepts of Health) Source: 1) Preamble to the Constitution of the World Health Organization 1946; 2) พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
  • 12. • “องค์กร กลุ่มประชากร และกิจกรรมทั้งหมดซึ่งมีเป้าประสงค์หลักใน การสร้างสุขภาพ ซ่อมสุขภาพ และรักษาสุขภาพ” (all organizations, people and actions whose primary interest is to promote, restore or maintain health.(1)) • “ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ”(2) “ระบบสุขภาพ” (Health Systems) Source: 1) World Health Organization (200); 2) ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552)
  • 13. Health System’s Performance Pix source: WHO (2000). World Health Report 2000. ระบบสุขภาพ (Health Systems)
  • 14. AUS CAN FRA GER NETH NZ NOR SWE SWIZ UK US OVERALL RANKING (2013) 4 10 9 5 5 7 7 3 2 1 11 Quality Care 2 9 8 7 5 4 11 10 3 1 5 Effective Care 4 7 9 6 5 2 11 10 8 1 3 Safe Care 3 10 2 6 7 9 11 5 4 1 7 Coordinated Care 4 8 9 10 5 2 7 11 3 1 6 Patient-Centered Care 5 8 10 7 3 6 11 9 2 1 4 Access 8 9 11 2 4 7 6 4 2 1 9 Cost-Related Problem 9 5 10 4 8 6 3 1 7 1 11 Timeliness of Care 6 11 10 4 2 7 8 9 1 3 5 Efficiency 4 10 8 9 7 3 4 2 6 1 11 Equity 5 9 7 4 8 10 6 1 2 2 11 Healthy Lives 4 8 1 7 5 9 6 2 3 10 11 Health Expenditures/Capita, 2011** $3,800 $4,522 $4,118 $4,495 $5,099 $3,182 $5,669 $3,925 $5,643 $3,405 $8,508 COUNTRY RANKINGS Top 2* Middle Bottom 2* EXHIBIT ES-1. OVERALL RANKING Notes: * Includes ties. ** Expenditures shown in $US PPP (purchasing power parity); Australian $ data are from 2010. Source: Calculated by The Commonwealth Fund based on 2011 International Health Policy Survey of Sicker Adults; 2012 International Health Policy Survey of Primary Care Physicians; 2013 International Health Policy Survey; Commonwealth Fund National Scorecard 2011; World Health Organization; and Organization for Economic Cooperation and Development, OECD Health Data, 2013 (Paris: OECD, Nov. 2013). Pix source: http://www.commonwealthfund.org/publications/fund-reports/2014/jun/mirror-mirror The Commonwealth Fund’s Ranking of Healthcare Systems: Overall Ranking (2014)
  • 15. 1. ระบบบริการสุขภาพ (health services systems) – ประเภทของการจัดบริการสุขภาพ (type of health services) – ระดับของระบบบริการสุขภาพ (level of health services) – ประเภทขององค์กรผู้ให้การบริการสุขภาพ (type of healthcare organizations) – องค์ประกอบพื้นฐาน (“Building Blocks”) ในการทำหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ 2. ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (social determinants of health: SDH) – ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านปัจเจก – ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อม Structure of Health Systems
  • 16. • หน้าที่ของระบบสุขภาพ ได้แก่ การทำงานขององค์ประกอบต่างๆ ภายในระบบสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนในทุกมิติ โดยมี “เป้าหมายร่วม” (mutual goals) ได้แก่ 1. การทำให้สุขภาวะของประชาชนให้ดีขึ้น (improving health status) 2. การป้องกันความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงทางสังคมของประชาชน (financial and social risk protection) 3. การตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพในแต่ละบริบทได้เหมาะสม (responsiveness) เพื่อทำให้ประชาชนรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบ สุขภาพมีความพึงพอใจ (satisfaction) Functions of Health Systems Source: WHO (2000); Roberts MJ, Hsiao W, Berman P, Reich MR (2004)
  • 18. Systems Analysis & Systems Thinking Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO” การทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ (functions of health systems) โครงสร้างของ ระบบสุขภาพ (structure of health systems) (= How) (= What) เป้าหมาย ของระบบ สุขภาพ (goals of health systems) =“ในระบบ” =“นอกระบบ” =“เกณฑ์การจำแนกใน-นอกระบบ”
  • 19. Desirable Functions of Health Systems
  • 20. • คุณลักษณะของระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ (characteristics of desirable health services system) ส่งเสริมการทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ ได้แก่: 1. ความเป็นธรรม (Equity) 2. คุณภาพ (Quality) 3. ประสิทธิภาพ (Efficient) 4. ธรรมาภิบาล (Good Governance) เช่น • มีความรับผิดรับชอบต่อสังคม (Social Accountability) • การตอบสนองต่อบริบทจำเพาะของสังคม (Relevancy/Relevance) Desirable Health Services System Source: WHO (1964) “EQESaR”
  • 21. Different Levels of Health Systems Pix source: Gilson (2012); de Savigny & Adam (2009) ประเทศ, โลก องค์กร, ท้องถิ่น ทีมดูแลสุขภาพ
  • 22. • ความเป็นธรรม (Equity): – ระบบบริการสุขภาพที่มีความเป็นธรรม หมายถึง ระบบบริการสุขภาพที่เปิด โอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่ม เช่น ทุกเพศ ทุกเชื้อชาติศาสนา ทุกกลุ่มที่อยู่อาศัย ทางภูมิศาสตร์ และทุกกลุ่มสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม มีโอกาสที่เท่าเทียม ในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ (equality of opportunity) ตรงตามความต้องการด้านสุขภาพของแต่ละคน (equal services for equal needs, and unequal services for unequal needs) ไม่ว่าจะ เป็นบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ 1. Equitable Health Services Pix source: www.stephenharrington-online.com
  • 23. Theory of Justice Pix source: hp-lexicon.org/wizards; helenicproducts.com • How should we fairly cut this cake into two pieces for each of the twins?
  • 24. Theory of Justice Source: John Rawls. The Theory of Justice (1971, 2001): Pix source: irwinbartlet.wordpress.com “Fair decisions should be made from the original position where no one knows what burdens or benefits he or she might receive once the veil of ignorance is lifted.” --John Rawls • “Justice as Fairness”
  • 25. “ความเป็นธรรม” “ความยุติธรรม” (Equity) Equity vs. Equality Pix source: twicsy.com/i/TwC76c • Equity means equality of opportunity (“justice as fairness”). • Equality is not always justice. Being Equal (“=Sameness”) Being Equitable (“=Fairness”) “ความเสมอภาค” “ความเท่าเทียม” (Equality)
  • 26. “Where is a Fair Starting Point for Health Equity?” Health System
  • 28. • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ (health equity) อาจวัดได้ค่อนข้างลำบาก • บริการสุขภาพที่เป็นธรรม (equitable health services) อาจเป็นตัวชี้วัดทดแทน (proxy measures) ของการวัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพิจารณาจาก ความสามารถของระบบบริการสุขภาพที่ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ สุขภาพที่เหมาะสมได้ (accessibility to health services) ซึ่งรวมทั้ง: – ความสามารถในการเข้าถึงทางกายภาพ (physical accessibility) – ความสามารถในการเข้าถึงทางจิตใจ (psychological accessibility) – ความสามารถในการเข้าถึงทางการเงิน (financial accessibility) – ความสามารถในการเข้าถึงทางข้อมูลข่าวสาร (information accessibility) Equitable Health Services Source: WHO/Europe (2007)
  • 29. Pix source: twicsy.com/i/TwC76c Equal (“Same”) Equitable (“Fair”) “ความเสมอภาค” “ความเท่าเทียม” (Equality) “ความเป็นธรรม” “ความยุติธรรม” (Equity) โอกาสในการดูกีฬา vs. โอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
  • 30. Pix source: https://pbs.twimg.com/media/CaYQ2SpUcAAliof.jpg โอกาสในการดูกีฬา vs. โอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ “ความเป็นจริงในบางประเทศ”
  • 31. Pix source: http://culturalorganizing.org/the-problem-with-that-equity-vs-equality-graphic/ Question #2: สังคมไทยกำหนดนิยามของ “ความเป็นธรรม” ไว้อย่างไร? “การกำจัดอุปสรรคใน การเข้าถึงโดยเสรี” โอกาสในการดูกีฬา vs. โอกาสในการเข้าถึงบริการสุขภาพ “ท่านกำหนดนิยามของ ความเป็นธรรมในแบบ ของท่านอย่างไร?”
  • 32. • ตัวอย่างของการพัฒนาความเป็นธรรมของระบบบริการสุขภาพ : – การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเฝ้าระวังการที่ประชากรบางกลุ่มได้รับการ รักษาที่แตกต่างกัน หรือได้รับการบริการสุขภาพที่มีคุณภาพที่ด้อยกว่า ประชากรกลุ่มอื่นๆ – การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเฝ้าระวังการที่ประชากรบางกลุ่มได้รับผลลัพธ์ ของการรักษาที่แตกต่างกัน – มุ่งเน้นการพัฒนาการเข้าถึงบริการสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพของ กระบวนการให้บริการสุขภาพในประชากรกลุ่มดังกล่าว เพื่อลดความไม่เป็น ธรรมของระบบบริการสุขภาพ Equitable Health Services Source: WHO/Europe (2007)
  • 33. Universal Health Coverage in Action! Source: จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (2557). ทิศทางงานวิจัยเชิงระบบและนโยบายด้านสุขภาพ.
  • 34. Universal Health Coverage in Action! Source: Campbell et al. (2013) “มีบริการ” “เข้าถึงบริการ” “ ยอมรับบริการ” “ใช้บริการ” “ใช้บริการที่มีคุณภาพ”
  • 35. • คุณภาพ (quality): –ระบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ หมายถึง ระบบบริการสุขภาพที่ ปลอดภัย ให้บริการทันเวลา มีประสิทธิผล และใช้ผู้ป่วยเป็น ศูนย์กลางในการจัดบริการสุขภาพ (safe, timely, effective, patient-centered: STEP) 2. Quality Health Services Source: WHO/Europe (2007)
  • 36. • ความปลอดภัย (Safety): ได้แก่ การออกแบบระบบบริการสุขภาพให้ สามารถป้องกันความผิดพลาดทางการแพทย์ (medical errors) หรือ หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บของผู้ป่วยซึ่งเกิดจากการได้รับบริการสุขภาพ (iatrogenic injuries) Quality as Safety Source: Modified from IOM (2001); Pix source: thieme-connect.de/ejournals; tumblr.com
  • 37. Patient Safety vs. Medical Errors Source: amazon.com, matichonbook.com • By design, a safe healthcare system prevents medical errors and avoid iatrogenic injuries. (Disclaimer: Obviously, this is partly my self-advertisement!)
  • 38. • ตัวอย่างของการพัฒนาความปลอดภัยของระบบบริการสุขภาพ : – เมื่อมีความผิดพลาดทางการแพทย์เกิดขึ้น มีกระบวนการทำงานมุ่งเน้นการค้นหา รากของปัญหา (root cause analysis) ของความผิดพลาดทางการแพทย์นั้น โดยการพิจารณาทั้งการพัฒนาทักษะของวิชาชีพ และการแก้ไขปัญหาเชิงระบบ – มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กรในระบบบริการสุขภาพซึ่งเน้นความปลอดภัย (safety culture) มากกว่าการมุ่งเน้นการจับผิดบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำงาน ผิดพลาด (blame culture) – มีกระบวนการเฝ้าระวังการทำงานที่ผิดพลาดก่อนที่จะเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย (near miss) Quality as Safety
  • 39. • ความทันเวลา (timeliness): ได้แก่ การลดการรอคอยและการเสียเวลา ของทั้งผู้ให้บริการสุขภาพและผู้รับบริการสุขภาพ ซึ่งบางครั้งอาจจะ นำไปสู่การเกิดอันตรายแก่ผู้รับบริการสุขภาพได้ เช่น มีระบบให้การ วินิจฉัยโรคและรักษาโรคอย่างทันเวลาไม่รอจนให้อาการรุนแรง เป็นต้น Quality as Timeliness Source: Modified from IOM (2001); Pix source: toonpool.com/cartoons.jpg
  • 40. • ตัวอย่างของการพัฒนาความทันเวลาของระบบบริการสุขภาพ : – การลดอุปสรรคด้านการเงินและอุปสรรคด้านการเดินทางที่อาจทำให้ผู้ป่วย ฉุกเฉินไม่สามารถไปรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ใกล้ที่สุดได้ (accessibility) เช่น การจัดรถพยาบาล (ambulance) ไปรับผู้ป่วยในที่เกิดเหตุมายังห้องฉุกเฉิน – การเพิ่มการตอบสนองของระบบบริการสุขภาพต่อปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย ฉุกเฉิน (systems responsiveness) เช่น การลดระยะเวลาการรอคอยการพบ แพทย์ของผู้ป่วยฉุกเฉินที่ห้องฉุกเฉิน หรือการลดระยะเวลาการรอคอยการผ่าตัด ของผู้ป่วยหลังได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคที่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดฉุกเฉิน Quality as Timeliness
  • 41. • ประสิทธิผล (effectiveness): ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพตามแนวทางมาตรฐาน บนพื้นฐานของความรู้และหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์ (evidence-based) ให้แก่ ประชาชนทุกคนที่จะสามารถได้ประโยชน์จาก บริการสุขภาพนั้นๆ (หลีกเลี่ยง underuse) และหลีกเลี่ยงการให้บริการสุขภาพที่มีแนวโน้ม ไม่ก่อประโยชน์ (หลีกเลี่ยง overuse และ misuse) เช่น การกำหนดแนวทางการให้การ บริการสุขภาพตาม clinical practice guidelines (CPGs) เป็นต้น Quality as Effectiveness Source: Modified from IOM (2001); Pix source: www.rch.org.au/clinicalguide
  • 42. • ตัวอย่างของการพัฒนาประสิทธิผลของระบบบริการสุขภาพเพื่อ ลดช่องว่างระหว่างมาตรฐานที่ผู้ป่วยควรจะได้รับและสิ่งที่ได้รับจริง : – ผู้กำหนดนโยบายสุขภาพและผู้บริหารระบบบริการสุขภาพกำหนดนโยบายเพื่อ ส่งเสริมการใช้ยาหรือส่งเสริมการตรวจวินิจฉัยโรคตาม evidence-based guideline ที่ทันสมัย – การดำเนินโครงการเพื่อวัดสมรรถนะของการทำงานของแพทย์ในการดูแลผู้ป่วย ทางคลินิก (performance measures) และให้การพัฒนาทักษะสำหรับแพทย์ที่ มีสมรรถนะการทำงานไม่ผ่านมาตรฐาน Quality as Effectiveness
  • 43. • การมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในการจัดบริการ (patient-centeredness): ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพที่เคารพในสิทธิของผู้ป่วย ตอบสนองต่อความต้องการ ความเชื่อ และการให้คุณค่าในเรื่องสุขภาพของผู้ป่วยแต่ละคน เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยมี ส่วนร่วมตัดสินใจเรื่องการรับบริการสุขภาพต่างๆ ของตนเอง สร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ ไม่ยึดการรักษาตัวโรคเป็นศูนย์กลาง (disease-centeredness) และ ไม่ยึดผู้ให้บริการสุขภาพเป็นศูนย์กลาง (provider-centeredness) Quality as Patient-Centeredness Source: Modified from IOM (2001); Pix source: blog.skylight.com/patient-centric
  • 44. Pix source: ppvoice.thainhf.org “รักษาโรค หรือ รักษาคน?” -- ศ.นพ.ประเวศ วะสี
  • 45. Patient-Centered Care for Elderly & Dying Source: amazon.com, openworlds.in.th (Disclaimer: Obviously, this is partly my self-advertisement!)
  • 46. • ตัวอย่างของการพัฒนาการมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในการจัดบริการ : – การสร้างทางเลือกในการรักษาพยาบาล (options) เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัว สามารถเลือกกระบวนการรักษาพยาบาลที่สอดคล้องกับคุณค่าและเป้าหมาย (goals and values) ในการดำเนินชีวิตของตนเอง – ในการให้การดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย ผู้ป่วยบางรายอาจต้องการเลือก การรักษาพยาบาลที่มุ่งเน้นการมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะเวลาที่เหลืออยู่มากกว่า การักษาพยาบาลที่มุ่งเน้นการยืดอายุออกไป – การจัดกระบวนการรักษาพยาบาลที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ที่ดีในระหว่างที่ ผู้ป่วยอยู่ในกระบวนการรักษาพยาบาล (patients’ experience) เช่น ให้การ ดูแลเพื่อควบคุมความเจ็บปวด ลดความทุกข์ทรมาณ เคารพการตัดสินใจของ ผู้ป่วยและญาติ และรักษาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย Quality as Patient-Centeredness
  • 47. • ประสิทธิภาพ (efficiency): – ระบบบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง การจัดบริการ สุขภาพโดยการใช้ทรัพยากรสุขภาพ (health resources) เช่น ยา บุคลากร ทางการแพทย์ หรือ งบประมาณที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า (cost-effectiveness) ได้ผลอรรถประโยชน์สูงสุด (utility maximization) และมีการสูญเปล่าของทรัพยกรน้อยที่สุด (waste reduction) 3. Efficient Health Services Source: Modified from IOM (2001)
  • 48. Efficiency of Thai Healthcare?? “31.2% of diabetes patients and 50.3% of hypertension patients are not diagnosed. Only 28.5% and 20.9% of cases have been diagnosed, treated and brought under control.” Figure source: Kanchanachitra .et al. (2010)
  • 49. • การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพสามารถทำได้ 2 วิธี ได้แก่ – การเพิ่มประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (technical efficiency) – การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร (allocative efficiency) Technical vs. Allocative Efficiency Pix source: www.wsed.at/en/
  • 50. • ตัวอย่างของการพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ : – หลีกเลี่ยงการใช้ตรวจทางห้องปฏิบัติการแบบใหม่ที่ได้ผลเท่าเดิมแต่ราคาแพงกว่า ของเดิมเนื่องจากเป็นการสูญเปล่าของทรัพยากรสุขภาพ – ใช้การผ่าตัดแบบใหม่ซึ่งได้ผลเท่าเดิมหรือดีกว่าเดิมแต่เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการ ผ่าตัดแบบเดิม เช่น minimally invasive surgeries (MIS) ซึ่งผู้ป่วยไม่ จำเป็นต้องนอนพักรักษาตัวภายในโรงพยาบาล – กรณีที่เทคโนโลยีทางการแพทย์ใหม่มีประสิทธิผลดีกว่ามากแต่แพงกว่าเดิม หรือมี ประสิทธิผลต่ำกว่าเดิมแต่ราคาถูกกว่าเดิม จำเป็นต้องมีการประเมินเทคโนโลยี ด้านสุขภาพ (health technology assessment: HTA) เพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี ทางการแพทย์ใหม่ที่มี “ความคุ้มค่า” (value) มากที่สุด Efficient Health Services
  • 51. • การตอบสนองต่อภาระรับผิดชอบต่อสังคม (social accountability): – การอภิบาลระบบบริการสุขภาพที่มีกลยุทธ์จัดการบริการสุขภาพทั้งระบบ – มีการจัดทำกฎเกณฑ์การดำเนินการตามกฎเกณฑ์ และกำกับติดตามระบบ บริการสุขภาพ มีระบบความรับผิดรับชอบเมื่อไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ สังคมต้องการ (accountability system) และมีความโปร่งใส (transparency) สามารถให้สังคมตรวจสอบได้ในทุกๆ ด้าน – ตัวอย่างเช่น มีระบบการตรวจสอบคุณภาพบริการ มีความเป็นธรรมในการ เข้าถึงบริการ และมีประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรของส่วนรวม 4. Good Systems Governance: Socially Accountable Health Services
  • 52. Governance of Health Systems: Social Accountability Source: https-//dhdcblog.files.wordpress.com/2015/03/pic_1
  • 53. • การตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในบริบทจำเพาะของสังคม (relevancy): – การจัดการระบบบริการสุขภาพที่ตอบสนองปัญหาสุขภาพของสังคมได้อย่าง เหมาะสมกับบริบท ทั้งในด้านคุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึง บริการ และประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร – ตัวอย่างเช่น การจัดบริการสุขภาพที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพในระดับพื้นที่ 5. Good Systems Governance: Relevant Health Services Source: WHO/Europe (2007)
  • 54. Governance of District Health Systems • ระบบการบังคับบัญชา/สั่งการตามระบบราชการ (ส่วนกลาง, ส่วนภูมิภาค, ส่วนท้องถิ่น) VS. ระบบประสานงาน (เช่น ระบบสุขภาพอำเภอ) กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย สํานักงาน ปลัดสธ.กรมฯ (อธิบดี) ศูนย์วิชาการ (ผอ.ศูนย์ฯ เขต) ทีOว่าการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) สํานักงาน สาธารณสุขอําเภอ (สสอ.) รพ.สต. (สอ.) (ผอ.รพ.สต.) ทีOว่าการอําเภอ (นายอําเภอ) สํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด (นพ.สสจ.) รพศ., รพท. (ผอ.รพ.) รพช. (ผอ.รพ.) เทศบาล, อบต. (นายกเทศมนตรี) - คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) - คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เอกชน Relevancy
  • 57. Six Building Blocks of Health Services Systems Health Services System Health System “IPO”
  • 58. Health Promotion: Definition Source: สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี (2556) แปลจาก First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21 November 1986 “การสร้างเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการที่เอื้ออํานวยให้ประชาชนสามารถเพิ่มความ สามารถในการควบคุมและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง (the process of enabling people to increase control over, and to improve, their health) การจะ เข้าถึงสภาวะที่สมบูรณ์ท้ังกาย จิตและสังคมน้ัน บุคคลหรือกลุ่มบุคคลต้องสามารถระบุ ถึงสิ่งที่ต้องการบรรลุและบรรลุในส่ิง ที่ต้องการได้ รวมถึงสามารถปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม หรือสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ สุขภาพจึงมิใช่เป้าหมายแห่ง การดํารงชีวิตอยู่อีกต่อไป หากแต่เป็นแหล่งประโยชน์ของทุกวันที่เราดําเนินชีวิต สุขภาพ เป็นแนวคิดด้านบวกท่ีมุ่งเน้นแหล่งประโยชน์ทางสังคม และแหล่งประโยชน์ส่วนบุคคล รวมถึงศักยภาพทางกายของบุคคล ดังน้ันการสร้างเสริมสุขภาพ จึงไม่เป็นเพียงความ รับผิดชอบของภาคส่วนท่ีดูแลสุขภาพเท่าน้ัน แต่ยังมุ่งไปที่รูปแบบการดําเนินชีวิตท่ีส่งผล ดีต่อสุขภาพซึ่จะนําไปสู่การมีสุขภาวะ (well-being) ในที่สุด”
  • 59. Health Promotion: Definition “การกระทําท่ีมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทาง กาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อมและ สภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว และชุมชน” --ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ.2552
  • 60. ① Health Promotion in Clinical Practice • “การส่งเสริมสุขภาพ” • Individual-focused • Services-based • It’s necessary, but can have limited impacts ØRequires a process to link health promotion in clinical practice & health promotion at the the population level Pix source: www.barnesandnoble.com
  • 61. ② Health Promotion at Population Level • การสร้างเสริมสุขภาพ/พัฒนาสุขภาพ • Population-focused • Not necessarily services-based • A “process”, including a change of socioeconomic policies, politics, culture that can influence health status of the population and health equity Pix source: www.cpha.ca/en/about/digest/xxxv-4/9.aspxarnesandnoble.com “Ottawa Charter of Health Promotion (1986)”
  • 62. Health Promotion vs. Disease Prevention Pix source: greenpeace.org; twirlit.com; who.int/bulletin; cha-amcity.go.th • Health is not merely the absence of disease or infirmity. • Health promotion strategies have to go beyond health services sector. “Social Determinants of Health (SDH)”
  • 63. Levels of Disease Prevention Pix source: Adapted from Leavell & Clark (1958) • Chronological view
  • 64. Levels of Disease Prevention Pix source: www.qualityprofiles.org • Cardiovascular Disease (CVD) Continuum
  • 65. Levels of Disease Prevention Pix source: Adapted from Primary Health Care Classification Consortium of WONCA International Classification Committee Working Groups, 2013) • Relational view
  • 66. Scope of Health Services Types/Functions of Health Services Level of Disease Prevention • การส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion) • การป้องกันโรค (Disease prevention) • การรักษาโรค (Medical treatments) • การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation) • การป้องกันขั้นแรก (Primary prevention) • การป้องกันขั้นที่สอง (Secondary prevention) • การป้องกันขั้นที่สาม (Tertiary prevention) • การป้องกันขั้้นที่สี่ (Quaternary prevention)
  • 67. Health Promotion Action Source: First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21 November 1986 Ø การดําเนินการสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion Action) หมายถึง: 1. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build healthy public policy) 2. สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อสุขภาพ (Create supportive environment) 3. เสริมสร้างการดําเนินการในชุมชนที่เข้มแข็ง (Strengthen community action) 4. พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop personal skills) 5. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ (Reorient health services)
  • 68. Ottawa Charter of Health Promotion (1986) 1.สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build healthy public policy) 3.เสริมสร้างการดําเนินการในชุมชนที่เข้มแข็ง (Strengthen community action) 2.สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อสุขภาพ (Create supportive environment) 4.พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop personal skills) 5.การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ (Reorient health services)
  • 69. Principles of Health Promotion Ø Three Basic Prerequisites of Health Promotion: ① การสนับสนุนชี้แนะ (Advocacy) ② การเสริมสร้างความสามารถ (Enabling) ③ การเป็นสื่อกลาง (Mediation) Source: สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี (2556) แปลจาก First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21 November 1986
  • 70. Principles of Health Promotion Ø Five Principles Underlying Health Promotion: 1) การเสริมสร้างอำนาจ (Empowerment) 2) การมีส่วนร่วมของสาธารณะ (Public involvement) 3) ความร่วมมือระหว่างภาคี (Intersectoral co-operation) 4) การลดความไม่เท่าเทียมและความไม่เป็นธรรมในด้านสุขภาพ (Reducing the inequality in health) 5) การให้ความสำคัญกับปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (Concern social & Environment factors)
  • 71. Principles of Health Promotion Ø Summary: Principles of Health Promotion: ①การสนับสนุนชี้แนะ (Advocacy) 1) การลดความไม่เท่าเทียมและความไม่เป็นธรรมในด้านสุขภาพ (Reducing the inequality in health) ②การเสริมสร้างความสามารถ (Enabling) 2) การเสริมสร้างพลังอำนาจของประชาชน (Empowerment) 3) การให้ความสำคัญกับปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (Concern social & environment factors) ③การเป็นสื่อกลาง (Mediation) 4) การมีส่วนร่วมของสาธารณะ (Public involvement) 5) ความร่วมมือระหว่างภาคี (Intersectoral co-operation)
  • 72. Pix Source: www.bangkokpost.com, www.kapook,com 5E: Education, Traffic Engineering, Law Enforcement, Public Empowerment, Emergency Medical Services
  • 75. 3 Types of Systems Source: Adapted from Glouberman and Zimmerman (2002)
  • 76. #1 Simple Systems Source: W.K. Kellogg Foundation (2004) • An example of simple “logic” model: “ผลงาน” “ผลลัพธ์” “ผลกระทบ”
  • 77. #2 Complicated Systems Pix Source: www.edrawsoft.com/example-service-workflow.php • An example of complicated “engineering” model:
  • 78. #3 Complex Systems Source: www.nature.com/nrclinonc/journal/v11/n3/fig_tab/nrclinonc.2014.6_F1.html • A complex interactions between molecular networks within cells:
  • 79. Systems Analysis & Systems Thinking Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO” การทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ (functions of health systems) โครงสร้างของ ระบบสุขภาพ (structure of health systems) (= How) (= What) เป้าหมาย ของระบบ สุขภาพ (goals of health systems) =“ในระบบ” =“นอกระบบ” =“เกณฑ์การจำแนกใน-นอกระบบ”
  • 80. “Thailand’s Health Systems” Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO” ตัวอย่างเช่น ”ระบบสุขภาพของประเทศไทย” ตัวอย่างเช่น สภาวะเศรษฐกิจและการเมืองของโลก (politico-economics environment) ตัวอย่างเช่น “สุขภาพของคนไทย” ตัวอย่างเช่น “ทรัพยากร สุขภาพของ ประเทศไทย” ตัวอย่างเช่น “ครอบคลุมประเด็น สุขภาพซึ่งสังคมไทย สามารถจัดการได้”
  • 81. “Complex Adaptive Systems” (CAS) Source: Scheerens and Bosker 1997 ผู้รับผลงาน1,2,3,… (Customers) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย1,2,3,… (Stakeholders) กระบวนการตอบสนองย้อนกลับ (Feedback Loop) การจัดการตัวเอง (Self-organizing) การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง (Constantly changing)
  • 82. Characteristics of Complex Systems Source: Adapted from Glouberman and Zimmerman (2002) • องค์ประกอบภายในระบบ “เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด” (tightly linked) • “คุณสมบัติผุดบังเกิด” หรือ“คุณสมบัติอุบัติใหม่” (emerging property) ที่เกิดขึ้นใหม่จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อยภายในระบบ (“The whole is not equal to the sum of its parts.”) • “การตอบสนองย้อนกลับ” (governance by feedback) • “การจัดการตัวเอง” (self-organizing) • “การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง” (constantly changing)
  • 83. “Thailand’s Health Systems” Source: Scheerens and Bosker 1997 “CIPO” ตัวอย่างเช่น เวลา (time) สถานที่ (place)
  • 84. ตัวอย่างเช่น ประเทศไทย พ.ศ.2519 ตัวอย่างเช่น ประเทศไทย พ.ศ.2560 “Thailand’s Health Systems” ตัวอย่างเช่น ประเทศไทย พ.ศ.2540 “CIPO”
  • 85. Acute Complicated Diseases Chronic Complex Diseases • เกิดอาการขึ้นอย่างเฉียบพลัน (abrupt onset) • ส่วนใหญ่สามารถระบุสาเหตุได้ • การวินิจฉัยโรคและการพยากรณ์โรคมักจะมี ความแม่นยำ • เทคโนโลยีในการรักษาที่มีอยู่มักจะมี ประสิทธิผลที่ดีและทำให้ผู้ป่วยหายขาด (cure) กลับไปสู่สุขภาวะที่ดีได้ • ความรู้ทางวิชาชีพแพทย์มีความสำคัญมากกว่า ความรู้ โดยทั่วไปของประชาชนที่ไม่มีประสบการณ์ • เกิดอาการขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual onset) • เกิดจากหลายสาเหตุร่วมกัน (multivariate cause) • การวินิจฉัยโรคและการพยากรณ์โรคไม่ แน่นอน • เทคโนโลยีในการรักษาที่มีอยู่ยังไม่ดีพอและ อาจมีผลเสีย ไม่สามารถรักษาให้หายขาด (no cure) และต้องการการจัดการ การให้ คำแนะนำ การดูแลตนเอง (management, coaching, self-care) • ความรู้ทางวิชาชีพและความรู้ทั่วไปของ ประชาชนต่างก็มีความสำคัญในการทำให้ สุขภาพของผู้ป่วยดีขึ้น Source: Adapted from Holman and Lorig (2000)
  • 86. Source: Adapted from Innes, Campion, Griffiths (2005) และ โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (2558) Relationship Between Complexity & Patient Care Process
  • 87. Pix source: WHO’s framework for action. (2007) Relationship Between Complexity & Services Improvement “Health Services Systems”
  • 88. Pix source: Don de Savigny and Taghreed Adam (2009). "Pay-for-performance: P4P”
  • 89. Pix source: Don de Savigny and Taghreed Adam (2009).
  • 90. Vicious Cycle of Congestion at Emergency Departments
  • 91. “Health Systems = Complex Systems” Pix source: WHO’s framework for action. (2007) • Interconnections among “WHO’s Six Building Blocks of health systems
  • 92. John Godfrey Saxe's ( 1816-1887) version of the famous Indian legend
  • 93.
  • 94. Health Systems & Health Services Systems Health Services System Health System
  • 95. Roles of Physicians in Health Systems Health System
  • 96. 1) แนวคิดเรื่องระบบ (concepts of systems) – ระบบซับซ้อนที่ปรับตัวได้ (complex adaptive systems: CAS) 2) หน้าที่ของระบบสุขภาพ (structure of health systems) – ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ – “เป้าหมาย” ของระบบสุขภาพ – “คุณลักษณะ” ของระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ – “หลักการ” และ “แนวทางการดำเนินงาน” ของกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ – บทบาทแพทย์ในการพัฒนาระบบสุขภาพ (roles of physicians) 3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies) Summary Pix source: online.wsj.com
  • 97. Health Systems Exercise: Module II Pix source: online.wsj.com
  • 98. Ø“Experience, not explanation.” Picture source: commonsenseatheism.com; variety.thaiza.com Learning Community Medicine EXPERIENCE
  • 99. นศพ.จะเรียนรู้ “โครงสร้าง” และ “การทำหน้าที่” ของระบบสุขภาพไทย จากการเรียนรู้และการทำงานในภาคสนาม (fieldwork) ได้อย่างไร? Pix source: ecrins2010.blogspot.com
  • 100. Q & A borwornsom.lee@mahidol.ac.th Pix source: online.wsj.com