SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน
ผูเขียน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย (วันศุกรที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2553)
งานบางสวนของศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ศวท.) เปนงานบริการ ซึ่งจําเปนตองมี
การประเมินความพึงพอใจ เชน การอบรมสัมมนา เพื่อใหบุคลากรของ ศวท. สามารถวิเคราะห ประเมินผล และ
รายงานผลการประเมินอยางไดเหมาะสม และเปนจุดเริ่มตนของการกาวสูการทํางานปกติเปนงานวิจัย (Routine to
Research) การศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสถิติวิจัยเพื่อการทํางาน จึงเปนความรูสําคัญที่บุคลากร ศวท. ควรศึกษา
และนําไปประยุกตใชงาน
การศึกษาสถิติวิจัย จะยกตัวอยางจากแบบประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ
ดังนี้
การฝกอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง ...............................
วันที่ ...............................
ขอมูลเบื้องตน
สังกัด ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน บุคคล
หัวขอการประเมิน
นอย ปานกลาง มากรายการ
0 1 2 3 4 5
1. กอนเขาฟงการบรรยาย ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด
2. หลังจากฟงการบรรยายแลว ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด
3. บรรยาย โดย ........
- ผูบรรยายไดนําเสนอชัดเจน/ตรรกะเพียงใด
- ผูบรรยายใชภาษาที่ชัดเจน เขาใจงายเพียงใด
- ผูบรรยายมีการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอนั้นลึกซึ้ง
เพียงใด
- ผูบรรยายมีศิลปะในการนําเสนอใหนาสนใจเพียงใด
5. ทานไดความรูใหมจากการบรรยายมาก-นอยเพียงใด
6. เอกสารประกอบการบรรยายมีประโยชนเพียงใด
7. คําแนะนําอื่นๆ
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
2
แบบประเมินมาตรวัดลิเครท (Likert Type Scale หรือ Likert’s Method of Summated Rating)
แบบประเมินดังกลาวขางตนของ ศวท. เปนประเมินการวัดความพึงพอใจที่ออกแบบโดยยึดเกณฑวัดตาม
มาตรวัดลิเครท (Likert Type Scale หรือ Likert’s Method of Summated Rating) ซึ่งคิดคนโดย เรนซีส ลิเครท
(Rensis Likert) ในป คริสตศักราช 1932 โดยเนนการวัดเจตคติของบุคคลที่มีตอสิ่งใดๆ โดยกําหนดชวงการวัดที่มีคา
ตอเนื่องกัน (Attitude continuous) วามีทิศทางใด ปริมาณความเขมระดับใด มีลักษณะสําคัญ 2 ประการ คือ
1. กําหนดขอความที่เปนรายการความคิดเห็นที่เกี่ยวของกับเจตคติที่ตองการวัด ใหผูตอบประเมินความรูสึก
ของตนเอง บนมาตรวัดที่เปนชวงของความรูสึกที่กําหนดไวเปนระดับ (3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ หรือ 6 ระดับดัง
ตัวอยาง)
2. ใหคาของระดับผลการประเมินแตละขอความ เชน ขอความทางบวก ใหคาของระดับเห็นดวยอยางยิ่งเปน
5 4 3 2 1 ขอความทางลบ ใหคาของระดับเห็นดวยอยางยิ่งเปน 1 2 3 4 5
สถิติที่ควรทราบ
การวิเคราะหแบบสอบถามในการเก็บขอมูลเพื่อการวิจัยหรือการประเมิน จําเปนที่จะตองมีการใชสถิติ
ดังตอไปนี้
1. การแจกแจงความถี่และรอยละ (Frequency Distribution and Percent)
2. การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Measure of Central Tendency)
3. การวัดการกระจาย (Measure of Variability)
การแจกแจงความถี่และรอยละ (Frequency Distribution and Percent)
การแจกแจงความถี่และหาคารอยละ เพื่อแสดงวาตัวแปรแตละตัวที่ศึกษา มีลักษณะการแจกแจงเปนแบบ
ใด กลาวคือในแตละประเภทหรือแตละระดับของตัวแปรหนึ่ง มีความถี่หรือมีจํานวนขอมูลเทาไร คิดเปนรอยละเทาไร
และตัวแปรใดหรือระดับใดมีจํานวนขอมูลมากที่สุด หรือนอยที่สุด เปนตน ขอมูลที่นํามาแจกแจงความถี่ และหาคา
รอยละเปนขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) ใชวิธีแยกหรือจําแนกจํานวนขอมูลที่ไมเหมือนกันออกจากกันเปน
ประเภท แลวนับจํานวนความถี่ของขอมูลที่เหมือนกันนับรวมกันในกลุมประเภทเดียวกัน
หลักการจําแนกความถี่ ตองแยกประเภทขอมูลที่ไมเหมือนกันออกจากกันอยางเด็ดขาด ไมใหปะปนหรือ
ซ้ําซอนกัน ขอมูลหนึ่งตัวจะจัดใหอยูเกินหนึ่งประเภทไมได เมื่อรวมความถี่ของขอมูลแตละประเภทแลว
จากตัวอยางขอมูลเบื้องตนมีตัวแปร คือ สังกัด สามารถจําแนกตัวแปรสังกัด ออกเปน 5 ประเภท คือ ราชการ
หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และ บุคคล ที่เหลือเปนขอมูลการประเมินที่ใชมาตรวัดแบบลิเครท ซึ่งจะใชวิธีการ
คํานวณและประเมินแยกออกไป
ตัวอยางการปอนขอมูล/ประเมินผลดวย OpenOffice.org Calc
1. เปด OpenOffice.org Calc
2. สรางตารางขอมูล โดยใหคํานวณแถวแทนจํานวนแบบประเมินที่
สงกลับ เชน ไดรับแบบประเมินมา 13 ชุด แสดงวามีผูเขารับการ
อบรมประเมินผลการสัมมนาให 13 ราย ซึ่งสามารถสราง
ตารางขอมูลไดดังนี้
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3
3. กําหนดคาใหกับตัวแปร เชน
• กรณีที่ผูประเมินไมระบุสังกัดใหปอนเลข 0
• ผูประเมินสังกัดหนวยงานราชการ ใหปอนเลข 1
• ผูประเมินสังกัดหนวยงานของรัฐ ใหปอนเลข 2
• ผูประเมินสังกัดหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ใหปอนเลข 3
• ผูประเมินสังกัดหนวยงานเอกชน ใหปอนเลข 4
• ผูประเมินเปนบุคคลทั่วไป ใหปอนเลข 5
4. ตัวอยางแบบประเมินของคนที่ 1 ระบุเปนหนวยงานของรัฐ ใหปอนเลข 2 ใหกับคนที่ 1 และคนที่ 2 ระบุ
สังกัดราชการ ใหปอนเลข 1 เปนตน
5. ตัวอยางขอมูลที่ปอน
6. ลําดับถัดไปจะเปนการตรวจเช็คความถูกตองของขอมูล และแยกประเภทของสังกัด (ตัวแปร) โดยใช
การสรางตารางสรุปสาระสําคัญ (Data Pilot) โดยคลิกเมาสในเซลลใดๆ ของตารางขอมูล แลวเลือก
คําสั่ง Data, DataPilot, Start คลิกปุม Ok แลวลากฟลดมาวาง และปรับคาฟงกชันของสังกัดเปน Count
ดังนี้
• ลากฟลด “สังกัด” มาวางที่ Row Fields เพื่อใหโปรแกรมจําแนกสังกัดเปนรายการ
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
4
• ลากฟลด “สังกัด” มาวางที่ Data Fields เพื่อนําคาของสังกัดมาคํานวณ และดับเบิลคลิกเพื่อ
เปลี่ยนฟงกชันคํานวณเปน Count – สังกัด เพื่อนําคามานับจํานวนแตละรายการ เมื่อคลิกปุม
OK จะปรากฎผลดังนี้
จะพบวาโปรแกรมแยกตัวแปรแตละคาเปนรายการรายแถว รายการแรกแสดงดวยเลข 1 คือหนวยงาน
ราชการ มีคาเทากับ 2 (เรียกคานี้วาความถี่) แสดงวามีผูตอบแบบสอบถามสังกัดหนวยงานราชการ 2
ราย เปนตน สวนสําคัญอีกสวนคือ Total Results จะตองเทากับจํานวนผูตอบแบบประเมินเพื่อใชเปนคา
เช็คความถูกตองของการปอนขอมูล กรณีนี้เทากับ 13 ซึ่งเทากับจํานวนแบบประเมินที่สงกลับมาเพื่อ
ประเมิน
7. ขั้นถัดไปเปนการหาคารอยละของแตละรายการ (สังกัด) หรือการหาคารอยละของความถี่แตละประเภท
โดยเอาคาความถี่คูณ 100 แลวหารดวยจํานวนขอมูลทั้งหมดหรือความถี่รวมทั้งหมดของตัวแปร ดัง
สมการ
เปอรเซ็นต (p) = )100(
N
f
เมื่อ f คือ จํานวนความถี่แตละประเภท
N คือ ความถี่รวมของตัวแปรทั้งหมด
8. การหาคารอยละโดย OpenOffice.org Calc ทําไดโดยสรางคอลัมนใหมถัดจากคอลัมนจํานวนรวม และ
ปอนสูตรคํานวณ =b19/b24 เพื่อคํานวณรอยละของรายการแรก ดังนี้
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
5
ทําซ้ํากับรายการอื่น โดยเปลี่ยนคาตําแหนงเซลลใหถูกตอง จะไดผลลัพธ ดังนี้
เพื่อใหการแสดงผลสวยงาม ควรปรับคาทศนิยมเปนคารอยละ โดยเลือกเซลลแลวคลิกปุมเครื่องมือ %
ตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง โดยคลิกเมาสในเซลล C24 แลวคลิกปุม Sum ผลลัพธจะตองเทากับ
100% ดังนี้
9. ผลลัพธที่ได จะตองนําไปแสดงผลบนรายการในรูปแบบ Word (OpenOffice.org Writer) โดยปรับแตง
ใหเหมาะสม ดังนี้
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
6
ตาราง 1 การแจกแจงความถี่และรอยละของสถานะภาพผูตอบแบบสอบถาม
สถานะภาพผูตอบแบบสอบถาม ความถี่ รอยละ
สังกัด
ราชการ 2 15.38
หนวยงานของรัฐ 6 46.15
รัฐวิสาหกิจ 2 15.38
เอกชน 2 15.38
บุคคล 1 7.69
13 100.00รวม
10. นําขอมูลจากตารางรายงานเปนขอความพรรณา โดยเนนการรายงานขอมูลชุดใหญสุด และ/หรือ
ประกอบดวยขอมูลเปาหมาย ตัวอยางการสรุปผล จากตาราง 1 พบวา สถานภาพผูตอบแบบสอบถาม
มาจากหนวยงานของรัฐมากที่สุด คิดเปนรอยละ 46.15 โดยที่หนวยงานเปาหมายคือ หนวยงานราชการ
มาลําดับ 2 เทากับหนวยงานรัฐวิสาหกิจ และเอกชน รอยละ 15.38 และมีบุคคลทั่วไปสมัครมารวม
อบรม 1 รายคิดเปนรอยละ 7.69
การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง(Measure of Central Tendency)
การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางเปนการสรุปภาพรวมของลักษณะของกลุมขอมูล ดวยคาสถิติเพียงคาเดียว
เทานั้น เพื่อใหสามารถสื่อความหมายเขาใจไดงายและรวดเร็ว โดยหาคาตัวกลางของขอมูลหรือของตัวแปรแตละตัว
ไดแก คาเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average) มัธยฐาน (Median) และฐานนิยม (Mode) เปน
ตน
จากตัวอยางแบบประเมินผลการเขาอบรมสัมมนาขางตน ในสวนที่ 2 เปนแบบสอบถามระดับความคิดเห็น
ดังนั้นสถิติใชวิเคราะหขอมูลที่เหมาะสม คือ คาเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต ซึ่งใชสรุปขอมูลเชิงปริมาณ
คาเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average) คือ คาเฉลี่ยจากขอมูลทั้งหมดโดยเอาขอมูล
แตละคามาบวกกันแลวหารดวยจํานวนขอมูล
การหาคาเฉลี่ยดวย OpenOffice.org Calc
1. สรางตารางขอมูลใน OpenOffice.org Calc โดยจํานวนแถวเทากับจํานวนแบบประเมิน และระบุหัว
คอลัมนเปนลําดับรายการแบบประเมิน ดังนี้
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
7
2. ลงรหัสคะแนนตามขอคําถามทีละรายการ โดยใชตัวเลข 0 – 5 ตามที่ผูเขารับการอบรมใหขอมูล
(รายการใดไมระบุใหปอนดวยเลข 9) ดังตัวอยาง
3. คํานวณหาคะแนนรวมของขอคําถามแตละขอ (∑ xi ) เชน ขอที่ 1 รวมจากคะแนนผูตอบ 13 คน จาก
คนที่ 1 ถึงคนที่ 13 คะแนนรวมขอที่ 1 เทากับ =sum(f2:f14) เทากับ 12 ทําซ้ําจนครบทุกขอ
4. หาคะแนนคาเฉลี่ย ( ) ของขอที่ 1 ไดมาจากคะแนนรวมหารดวยจํานวนผูตอบ 13 คน มีคาเทากับ
0.92 แสดงวิธีหาคาเฉลี่ย( ) ดังนี้
x
x
x =
N
xi∑
; โดยที่ i ขอคําถามขอที่ 1 – 8
=
13
12
= 0.92
สําหรับ OpenOffice.org Calc มีวิธีการคํานวณที่สะดวกกวาโดยใชฟงกชัน =average( … ) ดังนี้
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
8
5. จากตารางประมวลผลขางตน ขั้นถัดไปเปนการวิเคราะหคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นของผูเขาอบรม โดย
เริ่มจากการกําหนดชวงการประเมิน ดังตัวอยาง
คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับดีมาก/สูงมาก
คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับดี/สูง
คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับปานกลาง
คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับไมดี/ต่ํา
คาเฉลี่ย 0.00 – 1.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับไมดีอยางยิ่ง/ต่ํามาก
6. นําขอมูลจากตารางและชวงการประเมินตามขอ 4 และขอ 5 มาเขียนพรรณาในรายงานสรุป ดังตัวอยาง
รายการประเมิน x
1. กอนเขาฟงการบรรยาย ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 0.92
2. หลังจากฟงการบรรยายแลว ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 4.62
3. บรรยาย โดย ........
- ผูบรรยายไดนําเสนอชัดเจน/ตรรกะเพียงใด 4.77
- ผูบรรยายใชภาษาที่ชัดเจน เขาใจงายเพียงใด 4.31
- ผูบรรยายมีการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอนั้นลึกซึ้งเพียงใด 5
- ผูบรรยายมีศิลปะในการนําเสนอใหนาสนใจเพียงใด 4.69
5. ทานไดความรูใหมจากการบรรยายมาก-นอยเพียงใด 4.31
6. เอกสารประกอบการบรรยายมีประโยชนเพียงใด 4.08
กอนเขาฟงการบรรยาย ผูเขารับการอบรมสวนใหญมีความรูมากอนนอยมาก และเมื่อเสร็จสิ้นการอบรม
ผูเขารับการอบรมมีความรูเพิ่มขึ้นโดยภาพรวมในระดับดีมาก ทัศนคติของผูเขารับการอบรมตอวิทยากร
โดยภาพรวมอยูในระดับดี โดยเฉพาะประเด็นการออกแสดงถึงความเขาใจในเนื้อหาที่สอน ที่ผูเขาอบรม
ใหคาประเมินระดับสูงสุดระดับ 5 ทุกคน ผูเขารับการอบรมไดรับความรูใหมเพิ่มขึ้นและเอกสารมี
ประโยชนในระดับที่ดี
3. การวัดการกระจาย (Measure of Variability)
การวัดการกระจาย เปนการวัดความแตกตางของขอมูล เพื่อสรุปใหทราบวาขอมูลที่นํามาวิเคราะห มีความ
แตกตางกันมากนอยเพียงไร ดวยคาสถิติเพียงคาเดียว เชน พิสัย (Range) คาเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Average Deviation)
คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ความแปรปรวน (Variance) และสัมประสิทธิ์การกระจาย (Coefficient
of variation) เปนตน
สําหรับการวิเคราะหขอมูลในแบบประเมินการเขารับการอบรม ดังตัวอยางขางตน จะใชเนื้อหาในตอนที่ 2
ระดับความคิดเห็นของผูตอบคําถามตามรายการมาวิเคราะห และสถิติใชวิเคราะหขอมูลคือ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) อันเปนการกระจายโดยเฉลี่ยที่ขอมูล (คะแนน) แตละจํานวนเบนหางจากคาเฉลี่ยเทาใด หาได
จากขอมูลแตละตัวนั้นเบี่ยงเบนไปจากคาเฉลี่ยเทาใด แลวนําเอาคาเบี่ยงเบนแตละคามายกกําลังสองกอนแลวจึงหา
ผลรวม แลวหารผลรวมนี้ดวย N (หรือ N –1) เมื่อหารเสร็จแลวจึงถอดกรณที่ 2 (Square Root) ของผลหารก็จะไดคา
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
9
Si
2
เมื่อนําขอมูลมาสรุปเปนตาราง จะไดผลดังนี้
รายการประเมิน x S.D.
1. กอนเขาฟงการบรรยาย ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 0.92 0.86
2. หลังจากฟงการบรรยายแลว ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 4.62 1.45
3. บรรยาย โดย ........
- ผูบรรยายไดนําเสนอชัดเจน/ตรรกะเพียงใด 4.77 0.44
- ผูบรรยายใชภาษาที่ชัดเจน เขาใจงายเพียงใด 4.31 1.55
- ผูบรรยายมีการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอนั้นลึกซึ้งเพียงใด 5 0
- ผูบรรยายมีศิลปะในการนําเสนอใหนาสนใจเพียงใด 4.69 1.44
5. ทานไดความรูใหมจากการบรรยายมาก-นอยเพียงใด 4.31 0.75
6. เอกสารประกอบการบรรยายมีประโยชนเพียงใด 4.08 0.76
หมายเหตุ การประเมินผลชนิด 5 ระดับขางตน ถา S.D. มีคาเกิน 1 แลวถือวาผูประเมินมีความเห็นแตกตาง
กันมาก
ตัวอยางสรุปผล
ผูเขารับการอบรมตางเห็นรวมกันกับการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอที่บรรยายของวิทยากร และให
เกณฑคะแนนสูงสุด อยางไรก็ดีผูเขารับการอบรมมีความเห็นแตกตางกันในประเด็นศิลปะการนําเสนอและการใชภาษา
ของวิทยากร อันเปนประเด็นสําคัญที่วิทยากรตองพิจารณาปรับปรุง
รวมทั้งประเด็นการไดรับความรูเพิ่มหลังการอบรมสัมมนาแมนวาเกณฑประเมินอยูในระดับดีมาก แตก็ยัง
เปนความเห็นที่แตกตางกันของผูเขารับการอบรม แสดงวายังมีผูเขารับการอบรมจํานวนหนึ่งอาจจะไมสามารถรับรู
สาระสําคัญของการอบรมไดตามเปาที่วางไว
สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
Microsoft power point การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3
Microsoft power point   การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3Microsoft power point   การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3
Microsoft power point การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลpeesartwit
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169Chanakan Sojayapan
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย OkChanakan Sojayapan
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Mais procurados (20)

สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
Microsoft power point การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3
Microsoft power point   การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3Microsoft power point   การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3
Microsoft power point การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
สถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูลสถิติและข้อมูล
สถิติและข้อมูล
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
Data
DataData
Data
 
Role math stat_cs
Role math stat_csRole math stat_cs
Role math stat_cs
 

Semelhante a Statistical research for work - OpenOffice.org Calc

สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesiswilailukseree
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57somdetpittayakom school
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5Tonkaow Jb
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxPAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxorioman1
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบkrupawit
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
Plane com p4_01
Plane com p4_01Plane com p4_01
Plane com p4_01senawong
 

Semelhante a Statistical research for work - OpenOffice.org Calc (20)

17
1717
17
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesisสถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
สถิติและคอมพิวเตอร์ Testing hypothesis
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
Pp โปรเจค
Pp โปรเจคPp โปรเจค
Pp โปรเจค
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxPAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
Plane com p4_01
Plane com p4_01Plane com p4_01
Plane com p4_01
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 

Mais de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Statistical research for work - OpenOffice.org Calc

  • 1. สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน ผูเขียน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย (วันศุกรที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) งานบางสวนของศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ศวท.) เปนงานบริการ ซึ่งจําเปนตองมี การประเมินความพึงพอใจ เชน การอบรมสัมมนา เพื่อใหบุคลากรของ ศวท. สามารถวิเคราะห ประเมินผล และ รายงานผลการประเมินอยางไดเหมาะสม และเปนจุดเริ่มตนของการกาวสูการทํางานปกติเปนงานวิจัย (Routine to Research) การศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสถิติวิจัยเพื่อการทํางาน จึงเปนความรูสําคัญที่บุคลากร ศวท. ควรศึกษา และนําไปประยุกตใชงาน การศึกษาสถิติวิจัย จะยกตัวอยางจากแบบประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ ดังนี้ การฝกอบรมเชิงปฎิบัติการเรื่อง ............................... วันที่ ............................... ขอมูลเบื้องตน สังกัด ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน บุคคล หัวขอการประเมิน นอย ปานกลาง มากรายการ 0 1 2 3 4 5 1. กอนเขาฟงการบรรยาย ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 2. หลังจากฟงการบรรยายแลว ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 3. บรรยาย โดย ........ - ผูบรรยายไดนําเสนอชัดเจน/ตรรกะเพียงใด - ผูบรรยายใชภาษาที่ชัดเจน เขาใจงายเพียงใด - ผูบรรยายมีการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอนั้นลึกซึ้ง เพียงใด - ผูบรรยายมีศิลปะในการนําเสนอใหนาสนใจเพียงใด 5. ทานไดความรูใหมจากการบรรยายมาก-นอยเพียงใด 6. เอกสารประกอบการบรรยายมีประโยชนเพียงใด 7. คําแนะนําอื่นๆ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 2. 2 แบบประเมินมาตรวัดลิเครท (Likert Type Scale หรือ Likert’s Method of Summated Rating) แบบประเมินดังกลาวขางตนของ ศวท. เปนประเมินการวัดความพึงพอใจที่ออกแบบโดยยึดเกณฑวัดตาม มาตรวัดลิเครท (Likert Type Scale หรือ Likert’s Method of Summated Rating) ซึ่งคิดคนโดย เรนซีส ลิเครท (Rensis Likert) ในป คริสตศักราช 1932 โดยเนนการวัดเจตคติของบุคคลที่มีตอสิ่งใดๆ โดยกําหนดชวงการวัดที่มีคา ตอเนื่องกัน (Attitude continuous) วามีทิศทางใด ปริมาณความเขมระดับใด มีลักษณะสําคัญ 2 ประการ คือ 1. กําหนดขอความที่เปนรายการความคิดเห็นที่เกี่ยวของกับเจตคติที่ตองการวัด ใหผูตอบประเมินความรูสึก ของตนเอง บนมาตรวัดที่เปนชวงของความรูสึกที่กําหนดไวเปนระดับ (3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ หรือ 6 ระดับดัง ตัวอยาง) 2. ใหคาของระดับผลการประเมินแตละขอความ เชน ขอความทางบวก ใหคาของระดับเห็นดวยอยางยิ่งเปน 5 4 3 2 1 ขอความทางลบ ใหคาของระดับเห็นดวยอยางยิ่งเปน 1 2 3 4 5 สถิติที่ควรทราบ การวิเคราะหแบบสอบถามในการเก็บขอมูลเพื่อการวิจัยหรือการประเมิน จําเปนที่จะตองมีการใชสถิติ ดังตอไปนี้ 1. การแจกแจงความถี่และรอยละ (Frequency Distribution and Percent) 2. การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Measure of Central Tendency) 3. การวัดการกระจาย (Measure of Variability) การแจกแจงความถี่และรอยละ (Frequency Distribution and Percent) การแจกแจงความถี่และหาคารอยละ เพื่อแสดงวาตัวแปรแตละตัวที่ศึกษา มีลักษณะการแจกแจงเปนแบบ ใด กลาวคือในแตละประเภทหรือแตละระดับของตัวแปรหนึ่ง มีความถี่หรือมีจํานวนขอมูลเทาไร คิดเปนรอยละเทาไร และตัวแปรใดหรือระดับใดมีจํานวนขอมูลมากที่สุด หรือนอยที่สุด เปนตน ขอมูลที่นํามาแจกแจงความถี่ และหาคา รอยละเปนขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) ใชวิธีแยกหรือจําแนกจํานวนขอมูลที่ไมเหมือนกันออกจากกันเปน ประเภท แลวนับจํานวนความถี่ของขอมูลที่เหมือนกันนับรวมกันในกลุมประเภทเดียวกัน หลักการจําแนกความถี่ ตองแยกประเภทขอมูลที่ไมเหมือนกันออกจากกันอยางเด็ดขาด ไมใหปะปนหรือ ซ้ําซอนกัน ขอมูลหนึ่งตัวจะจัดใหอยูเกินหนึ่งประเภทไมได เมื่อรวมความถี่ของขอมูลแตละประเภทแลว จากตัวอยางขอมูลเบื้องตนมีตัวแปร คือ สังกัด สามารถจําแนกตัวแปรสังกัด ออกเปน 5 ประเภท คือ ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และ บุคคล ที่เหลือเปนขอมูลการประเมินที่ใชมาตรวัดแบบลิเครท ซึ่งจะใชวิธีการ คํานวณและประเมินแยกออกไป ตัวอยางการปอนขอมูล/ประเมินผลดวย OpenOffice.org Calc 1. เปด OpenOffice.org Calc 2. สรางตารางขอมูล โดยใหคํานวณแถวแทนจํานวนแบบประเมินที่ สงกลับ เชน ไดรับแบบประเมินมา 13 ชุด แสดงวามีผูเขารับการ อบรมประเมินผลการสัมมนาให 13 ราย ซึ่งสามารถสราง ตารางขอมูลไดดังนี้ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. 3 3. กําหนดคาใหกับตัวแปร เชน • กรณีที่ผูประเมินไมระบุสังกัดใหปอนเลข 0 • ผูประเมินสังกัดหนวยงานราชการ ใหปอนเลข 1 • ผูประเมินสังกัดหนวยงานของรัฐ ใหปอนเลข 2 • ผูประเมินสังกัดหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ใหปอนเลข 3 • ผูประเมินสังกัดหนวยงานเอกชน ใหปอนเลข 4 • ผูประเมินเปนบุคคลทั่วไป ใหปอนเลข 5 4. ตัวอยางแบบประเมินของคนที่ 1 ระบุเปนหนวยงานของรัฐ ใหปอนเลข 2 ใหกับคนที่ 1 และคนที่ 2 ระบุ สังกัดราชการ ใหปอนเลข 1 เปนตน 5. ตัวอยางขอมูลที่ปอน 6. ลําดับถัดไปจะเปนการตรวจเช็คความถูกตองของขอมูล และแยกประเภทของสังกัด (ตัวแปร) โดยใช การสรางตารางสรุปสาระสําคัญ (Data Pilot) โดยคลิกเมาสในเซลลใดๆ ของตารางขอมูล แลวเลือก คําสั่ง Data, DataPilot, Start คลิกปุม Ok แลวลากฟลดมาวาง และปรับคาฟงกชันของสังกัดเปน Count ดังนี้ • ลากฟลด “สังกัด” มาวางที่ Row Fields เพื่อใหโปรแกรมจําแนกสังกัดเปนรายการ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 4. 4 • ลากฟลด “สังกัด” มาวางที่ Data Fields เพื่อนําคาของสังกัดมาคํานวณ และดับเบิลคลิกเพื่อ เปลี่ยนฟงกชันคํานวณเปน Count – สังกัด เพื่อนําคามานับจํานวนแตละรายการ เมื่อคลิกปุม OK จะปรากฎผลดังนี้ จะพบวาโปรแกรมแยกตัวแปรแตละคาเปนรายการรายแถว รายการแรกแสดงดวยเลข 1 คือหนวยงาน ราชการ มีคาเทากับ 2 (เรียกคานี้วาความถี่) แสดงวามีผูตอบแบบสอบถามสังกัดหนวยงานราชการ 2 ราย เปนตน สวนสําคัญอีกสวนคือ Total Results จะตองเทากับจํานวนผูตอบแบบประเมินเพื่อใชเปนคา เช็คความถูกตองของการปอนขอมูล กรณีนี้เทากับ 13 ซึ่งเทากับจํานวนแบบประเมินที่สงกลับมาเพื่อ ประเมิน 7. ขั้นถัดไปเปนการหาคารอยละของแตละรายการ (สังกัด) หรือการหาคารอยละของความถี่แตละประเภท โดยเอาคาความถี่คูณ 100 แลวหารดวยจํานวนขอมูลทั้งหมดหรือความถี่รวมทั้งหมดของตัวแปร ดัง สมการ เปอรเซ็นต (p) = )100( N f เมื่อ f คือ จํานวนความถี่แตละประเภท N คือ ความถี่รวมของตัวแปรทั้งหมด 8. การหาคารอยละโดย OpenOffice.org Calc ทําไดโดยสรางคอลัมนใหมถัดจากคอลัมนจํานวนรวม และ ปอนสูตรคํานวณ =b19/b24 เพื่อคํานวณรอยละของรายการแรก ดังนี้ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 5. 5 ทําซ้ํากับรายการอื่น โดยเปลี่ยนคาตําแหนงเซลลใหถูกตอง จะไดผลลัพธ ดังนี้ เพื่อใหการแสดงผลสวยงาม ควรปรับคาทศนิยมเปนคารอยละ โดยเลือกเซลลแลวคลิกปุมเครื่องมือ % ตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง โดยคลิกเมาสในเซลล C24 แลวคลิกปุม Sum ผลลัพธจะตองเทากับ 100% ดังนี้ 9. ผลลัพธที่ได จะตองนําไปแสดงผลบนรายการในรูปแบบ Word (OpenOffice.org Writer) โดยปรับแตง ใหเหมาะสม ดังนี้ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 6. 6 ตาราง 1 การแจกแจงความถี่และรอยละของสถานะภาพผูตอบแบบสอบถาม สถานะภาพผูตอบแบบสอบถาม ความถี่ รอยละ สังกัด ราชการ 2 15.38 หนวยงานของรัฐ 6 46.15 รัฐวิสาหกิจ 2 15.38 เอกชน 2 15.38 บุคคล 1 7.69 13 100.00รวม 10. นําขอมูลจากตารางรายงานเปนขอความพรรณา โดยเนนการรายงานขอมูลชุดใหญสุด และ/หรือ ประกอบดวยขอมูลเปาหมาย ตัวอยางการสรุปผล จากตาราง 1 พบวา สถานภาพผูตอบแบบสอบถาม มาจากหนวยงานของรัฐมากที่สุด คิดเปนรอยละ 46.15 โดยที่หนวยงานเปาหมายคือ หนวยงานราชการ มาลําดับ 2 เทากับหนวยงานรัฐวิสาหกิจ และเอกชน รอยละ 15.38 และมีบุคคลทั่วไปสมัครมารวม อบรม 1 รายคิดเปนรอยละ 7.69 การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง(Measure of Central Tendency) การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลางเปนการสรุปภาพรวมของลักษณะของกลุมขอมูล ดวยคาสถิติเพียงคาเดียว เทานั้น เพื่อใหสามารถสื่อความหมายเขาใจไดงายและรวดเร็ว โดยหาคาตัวกลางของขอมูลหรือของตัวแปรแตละตัว ไดแก คาเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average) มัธยฐาน (Median) และฐานนิยม (Mode) เปน ตน จากตัวอยางแบบประเมินผลการเขาอบรมสัมมนาขางตน ในสวนที่ 2 เปนแบบสอบถามระดับความคิดเห็น ดังนั้นสถิติใชวิเคราะหขอมูลที่เหมาะสม คือ คาเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต ซึ่งใชสรุปขอมูลเชิงปริมาณ คาเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean or Average) คือ คาเฉลี่ยจากขอมูลทั้งหมดโดยเอาขอมูล แตละคามาบวกกันแลวหารดวยจํานวนขอมูล การหาคาเฉลี่ยดวย OpenOffice.org Calc 1. สรางตารางขอมูลใน OpenOffice.org Calc โดยจํานวนแถวเทากับจํานวนแบบประเมิน และระบุหัว คอลัมนเปนลําดับรายการแบบประเมิน ดังนี้ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 7. 7 2. ลงรหัสคะแนนตามขอคําถามทีละรายการ โดยใชตัวเลข 0 – 5 ตามที่ผูเขารับการอบรมใหขอมูล (รายการใดไมระบุใหปอนดวยเลข 9) ดังตัวอยาง 3. คํานวณหาคะแนนรวมของขอคําถามแตละขอ (∑ xi ) เชน ขอที่ 1 รวมจากคะแนนผูตอบ 13 คน จาก คนที่ 1 ถึงคนที่ 13 คะแนนรวมขอที่ 1 เทากับ =sum(f2:f14) เทากับ 12 ทําซ้ําจนครบทุกขอ 4. หาคะแนนคาเฉลี่ย ( ) ของขอที่ 1 ไดมาจากคะแนนรวมหารดวยจํานวนผูตอบ 13 คน มีคาเทากับ 0.92 แสดงวิธีหาคาเฉลี่ย( ) ดังนี้ x x x = N xi∑ ; โดยที่ i ขอคําถามขอที่ 1 – 8 = 13 12 = 0.92 สําหรับ OpenOffice.org Calc มีวิธีการคํานวณที่สะดวกกวาโดยใชฟงกชัน =average( … ) ดังนี้ สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 8. 8 5. จากตารางประมวลผลขางตน ขั้นถัดไปเปนการวิเคราะหคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นของผูเขาอบรม โดย เริ่มจากการกําหนดชวงการประเมิน ดังตัวอยาง คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับดีมาก/สูงมาก คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับดี/สูง คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับไมดี/ต่ํา คาเฉลี่ย 0.00 – 1.50 หมายถึง มีเจตคติ (ความคิดเห็น) ระดับไมดีอยางยิ่ง/ต่ํามาก 6. นําขอมูลจากตารางและชวงการประเมินตามขอ 4 และขอ 5 มาเขียนพรรณาในรายงานสรุป ดังตัวอยาง รายการประเมิน x 1. กอนเขาฟงการบรรยาย ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 0.92 2. หลังจากฟงการบรรยายแลว ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 4.62 3. บรรยาย โดย ........ - ผูบรรยายไดนําเสนอชัดเจน/ตรรกะเพียงใด 4.77 - ผูบรรยายใชภาษาที่ชัดเจน เขาใจงายเพียงใด 4.31 - ผูบรรยายมีการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอนั้นลึกซึ้งเพียงใด 5 - ผูบรรยายมีศิลปะในการนําเสนอใหนาสนใจเพียงใด 4.69 5. ทานไดความรูใหมจากการบรรยายมาก-นอยเพียงใด 4.31 6. เอกสารประกอบการบรรยายมีประโยชนเพียงใด 4.08 กอนเขาฟงการบรรยาย ผูเขารับการอบรมสวนใหญมีความรูมากอนนอยมาก และเมื่อเสร็จสิ้นการอบรม ผูเขารับการอบรมมีความรูเพิ่มขึ้นโดยภาพรวมในระดับดีมาก ทัศนคติของผูเขารับการอบรมตอวิทยากร โดยภาพรวมอยูในระดับดี โดยเฉพาะประเด็นการออกแสดงถึงความเขาใจในเนื้อหาที่สอน ที่ผูเขาอบรม ใหคาประเมินระดับสูงสุดระดับ 5 ทุกคน ผูเขารับการอบรมไดรับความรูใหมเพิ่มขึ้นและเอกสารมี ประโยชนในระดับที่ดี 3. การวัดการกระจาย (Measure of Variability) การวัดการกระจาย เปนการวัดความแตกตางของขอมูล เพื่อสรุปใหทราบวาขอมูลที่นํามาวิเคราะห มีความ แตกตางกันมากนอยเพียงไร ดวยคาสถิติเพียงคาเดียว เชน พิสัย (Range) คาเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Average Deviation) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ความแปรปรวน (Variance) และสัมประสิทธิ์การกระจาย (Coefficient of variation) เปนตน สําหรับการวิเคราะหขอมูลในแบบประเมินการเขารับการอบรม ดังตัวอยางขางตน จะใชเนื้อหาในตอนที่ 2 ระดับความคิดเห็นของผูตอบคําถามตามรายการมาวิเคราะห และสถิติใชวิเคราะหขอมูลคือ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) อันเปนการกระจายโดยเฉลี่ยที่ขอมูล (คะแนน) แตละจํานวนเบนหางจากคาเฉลี่ยเทาใด หาได จากขอมูลแตละตัวนั้นเบี่ยงเบนไปจากคาเฉลี่ยเทาใด แลวนําเอาคาเบี่ยงเบนแตละคามายกกําลังสองกอนแลวจึงหา ผลรวม แลวหารผลรวมนี้ดวย N (หรือ N –1) เมื่อหารเสร็จแลวจึงถอดกรณที่ 2 (Square Root) ของผลหารก็จะไดคา สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 9. 9 Si 2 เมื่อนําขอมูลมาสรุปเปนตาราง จะไดผลดังนี้ รายการประเมิน x S.D. 1. กอนเขาฟงการบรรยาย ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 0.92 0.86 2. หลังจากฟงการบรรยายแลว ทานมีความรูเรื่องนี้เพียงใด 4.62 1.45 3. บรรยาย โดย ........ - ผูบรรยายไดนําเสนอชัดเจน/ตรรกะเพียงใด 4.77 0.44 - ผูบรรยายใชภาษาที่ชัดเจน เขาใจงายเพียงใด 4.31 1.55 - ผูบรรยายมีการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอนั้นลึกซึ้งเพียงใด 5 0 - ผูบรรยายมีศิลปะในการนําเสนอใหนาสนใจเพียงใด 4.69 1.44 5. ทานไดความรูใหมจากการบรรยายมาก-นอยเพียงใด 4.31 0.75 6. เอกสารประกอบการบรรยายมีประโยชนเพียงใด 4.08 0.76 หมายเหตุ การประเมินผลชนิด 5 ระดับขางตน ถา S.D. มีคาเกิน 1 แลวถือวาผูประเมินมีความเห็นแตกตาง กันมาก ตัวอยางสรุปผล ผูเขารับการอบรมตางเห็นรวมกันกับการแสดงออกถึงความเขาใจในหัวขอที่บรรยายของวิทยากร และให เกณฑคะแนนสูงสุด อยางไรก็ดีผูเขารับการอบรมมีความเห็นแตกตางกันในประเด็นศิลปะการนําเสนอและการใชภาษา ของวิทยากร อันเปนประเด็นสําคัญที่วิทยากรตองพิจารณาปรับปรุง รวมทั้งประเด็นการไดรับความรูเพิ่มหลังการอบรมสัมมนาแมนวาเกณฑประเมินอยูในระดับดีมาก แตก็ยัง เปนความเห็นที่แตกตางกันของผูเขารับการอบรม แสดงวายังมีผูเขารับการอบรมจํานวนหนึ่งอาจจะไมสามารถรับรู สาระสําคัญของการอบรมไดตามเปาที่วางไว สถิติวิจัยเพื่อการทํางาน นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี