SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 108
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกน
กลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑
สารบัญ
หน้า
คำานำา
ทำาไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์ ๑
เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ ๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒
คุณภาพผู้เรียน ๔
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๙
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต ๙
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ๒๔
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร ๓๑
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ ๔๑
สาระที่ ๕ พลังงาน ๔๗
สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ๕๔
สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ ๖๒
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
๖๘
อภิธานศัพท์ ๗๘
คณะผู้จัดทำา ๘๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทำาไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและ
อนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจำาวัน
และการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้
และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำานวยความสะดวกในชีวิต
และการทำางาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสม
ผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้
มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มี
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ
โดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียน
รู้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจำาเป็นต้องได้รับ
การพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจใน
ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำาความรู้
ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม
เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้
วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะ
สำาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน
การสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำากิจกรรมด้วยการลงมือ
ปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กำาหนด
สาระสำาคัญไว้ดังนี้
• สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วย
พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมี
ชีวิต และกระบวนการดำารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทำางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยี
ชีวภาพ
• ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมี
ชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ
ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และ
โลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
• สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและ
การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
• แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า
แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การออกแรงกระทำาต่อวัตถุ การเคลื่อนที่
ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิต
ประจำาวัน
• พลังงาน พลังงานกับการดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูป
พลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการ
ใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
• กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์
ประกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน
หิน นำ้า อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
• ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ
กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความ
สัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสำาคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ
• ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา
และจิตวิทยาศาสตร์
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความ
สัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นำาความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่ง
มีชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสำาคัญของการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมี
ชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี
ชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ
และโลกนำาความรู้ไปใช้ในในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่าง
ยั่งยืน
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยา
ศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ
เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรง
โน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุ
ในธรรมชาติมีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการ
ดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิว
โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง
ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ
สัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗. ๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี
และเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อ
สิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ
จิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่
นำามาใช้ในการสำารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่ง
แวดล้อม
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา
ศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบ
ที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
• เข้าใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิต และการดำารงชีวิตของสิ่ง
มีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น
• เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว
แรงในธรรมชาติ รูปของพลังงาน
• เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน นำ้า อากาศ ดวง
อาทิตย์ และดวงดาว
• ตั้งคำาถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และ
ปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต สำารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ
อย่างง่าย และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่อง เขียน หรือวาด
ภาพ
• ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดำารง
ชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือชิ้นงานตามที่
กำาหนดให้ หรือตามความสนใจ
• แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ และแสดงความ
ซาบซึ้งต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว แสดงถึงความมีเมตตา ความ
ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่น
• ทำางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด
ซื่อสัตย์ จนเป็นผลสำาเร็จ และทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
• เข้าใจโครงสร้างและการทำางานของระบบต่างๆ ของสิ่งมี
ชีวิต และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมที่
แตกต่างกัน
• เข้าใจสมบัติและการจำาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร
สมบัติของสารและการทำาให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวิต
ประจำาวัน การแยกสารอย่างง่าย
• เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำากับวัตถุ ความดัน
หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้น
ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า
• เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และ
บรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผล
ต่อการเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ
• ตั้งคำาถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ คาดคะเนคำาตอบหลาย
แนวทาง วางแผนและสำารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์
วิเคราะห์ข้อมูล และสื่อสารความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบ
• ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำารง
ชีวิต และการศึกษาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือชิ้นงานตามที่
กำาหนดให้หรือตามความสนใจ
• แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์
ในการสืบเสาะหาความรู้
• ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
• แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการ
ใช้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า
• ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของ
ตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
• เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำาคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของการทำางานของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม
• เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์
การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิด
สารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
• เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบ
ต่างๆ ในชีวิตประจำาวัน กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอน
พลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของ
แสง
• เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
• เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่ง
ทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความ
สำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
• เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การ
พัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่ง
แวดล้อม
• ตั้งคำาถามที่มีการกำาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำา
ตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือสำารวจตรวจสอบ วิเคราะห์
และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้
• สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดยการ
พูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในการดำารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้าง
ชิ้นงานตามความสนใจ
• แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และ
ซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้
ผลถูกต้องเชื่อถือได้
• ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่
ใช้ในชีวิตประจำาวันและการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม
ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
• แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้
และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วน
ร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้อง
ถิ่น
• ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของ
ตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
• เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
• เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิว
เทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและ
ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมต่างๆ
• เข้าใจกระบวนการ ความสำาคัญและผลของเทคโนโลยี
ชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
• เข้าใจชนิดของอนุภาคสำาคัญที่เป็นส่วนประกอบใน
โครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยา
เคมีและเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
• เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ
ต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว
• เข้าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการก
ลั่นลำาดับส่วนนำ้ามันดิบ การนำาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์
และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
• เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สำาคัญของพอลิเมอร์และสาร
ชีวโมเลกุล
• เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่
แบบต่างๆ สมบัติของคลื่นกล คุณภาพของเสียงและการได้ยิน สมบัติ
ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและ
พลังงานนิวเคลียร์
• เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์
ทางธรณีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
• เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี
เอกภพและความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
• เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการ
พัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่างๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้
มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อ
ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
• ระบุปัญหา ตั้งคำาถามที่จะสำารวจตรวจสอบ โดยมีการ
กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลาย
แหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจ
สอบสมมติฐานที่เป็นไปได้
• วางแผนการสำารวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคำาถาม
วิเคราะห์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทาง
คณิตศาสตร์หรือสร้างแบบจำาลองจากผลหรือความรู้ที่ได้รับจากการ
สำารวจตรวจสอบ
• สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดยการ
พูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำารง
ชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตาม
ความสนใจ
• แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์
ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูก
ต้องเชื่อถือได้
• ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่
ใช้ในชีวิตประจำาวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ
ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
การพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย
• แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเอง
ร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
• แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้
พบคำาตอบ หรือแก้ปัญหาได้
• ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดย
มีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและ
การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่ง
แวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความ
สัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของ
สิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ใน
การดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑ ๑. เปรียบเทียบความ
แตกต่างระหว่างสิ่งมี
ชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
- สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกต่าง
จากสิ่งไม่มีชีวิต โดยสิ่งมี
ชีวิตจะมีการเคลื่อนที่ กิน
อาหาร ขับถ่าย หายใจ
เจริญเติบโต สืบพันธุ์และ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า แต่สิ่ง
ไม่มีชีวิตจะไม่มีลักษณะดัง
กล่าว
๒. สังเกตและอธิบาย
ลักษณะและหน้าที่
ของโครงสร้าง
ภายนอกของพืชและ
สัตว์
- โครงสร้างภายนอกของพืช
ได้แก่ ราก ลำาต้น ใบ
ดอกและผล แต่ละส่วนทำา
หน้าที่ต่างกัน
- โครงสร้างภายนอกของสัตว์
ได้แก่ ตา หู จมูก ปาก
เท้า และขา แต่ละส่วนทำา
หน้าที่แตกต่างกัน
๓.สังเกตและอธิบาย
ลักษณะ หน้าที่และ
ความสำาคัญของ
อวัยวะภายนอกของ
มนุษย์ ตลอดจนการ
ดูแลรักษาสุขภาพ
- อวัยวะภายนอกของมนุษย์มี
ลักษณะและหน้าที่แตกต่าง
กัน อวัยวะเหล่านี้มีความ
สำาคัญต่อการดำารงชีวิต จึง
ต้องดูแลรักษาและป้องกันไม่
ให้อวัยวะเหล่านั้นได้รับ
อันตราย
ป. ๒ ๑. ทดลองและอธิบาย
นำ้า แสง เป็นปัจจัยที่
จำาเป็นต่อการดำารง
ชีวิตของพืช
- พืชต้องการนำ้าและแสงใน
การเจริญเติบโตและการ
ดำารงชีวิต
๒.อธิบายอาหาร นำ้า
อากาศ เป็นปัจจัยที่
จำาเป็นต่อการดำารง
ชีวิต และการเจริญ
เติบโตของพืชและ
สัตว์และนำาความรู้ไป
- พืชและสัตว์ต้องการอาหาร
นำ้า อากาศ เพื่อการดำารง
ชีวิตดำารงชีวิตและการเจริญ
เติบโต
- นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
การดูแลพืชและสัตว์เพื่อให้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ใช้ประโยชน์ เจริญเติบโตได้ดี
๓. สำารวจและอธิบาย
พืชและสัตว์สามารถ
ตอบสนองต่อแสง
อุณหภูมิ และการสัมผัส
- พืชและสัตว์มีการตอบสนอง
ต่อ แสง อุณหภูมิ และการ
สัมผัส
๔. ทดลองและอธิบาย
ร่างกายของมนุษย์
สามารถ ตอบสนอง
ต่อแสง อุณหภูมิ และ
การสัมผัส
- ร่างกายมนุษย์สามารถตอบ
สนองต่อ แสง อุณหภูมิและ
การสัมผัส
๕. อธิบายปัจจัยที่
จำาเป็นต่อการดำารง
ชีวิต และการเจริญ
เติบโตของมนุษย์
- มนุษย์ต้องการอาหาร นำ้า
อากาศ เพื่อการดำารงชีวิต
และการเจริญเติบโต
ป. ๓ - -
ป. ๔ ๑. ทดลองและอธิบาย
หน้าที่ของท่อลำาเลียง
และ ปากใบของพืช
- ภายในลำาต้นของพืชมีท่อ
ลำาเลียง เพื่อลำาเลียงนำ้าและ
อาหาร และในใบมีปากใบทำา
หน้าที่คายนำ้า
๒. อธิบาย นำ้า แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ แสง
และคลอโรฟิลล์ เป็น
ปัจจัยที่จำาเป็นบาง
ประการต่อ การ
เจริญเติบโตและการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
- ปัจจัยที่สำาคัญต่อการเจริญ
เติบโตและ
การสังเคราะห์ด้วยแสงของ
พืช ได้แก่ นำ้า
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสง
และคลอโรฟิลล์
๓. ทดลองและอธิบาย
การตอบสนองของ
พืชต่อแสง เสียง และ
การสัมผัส
- พืชมีการตอบสนองต่อแสง
เสียง และการสัมผัส ซึ่ง
เป็นสภาพแวดล้อมภายนอก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๔. อธิบายพฤติกรรม
ของสัตว์ที่ตอบสนอง
ต่อแสง อุณหภูมิ
การสัมผัส และนำา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- พฤติกรรมของสัตว์ เป็นการ
แสดงออกของสัตว์ใน
ลักษณะต่าง ๆ เพื่อตอบ
สนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง
อุณหภูมิ การสัมผัส
- นำาความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม
ของสัตว์ไปใช้ ประโยชน์
ในการจัดสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสมกับการดำารงชีวิต
ของสัตว์ และเพื่อพัฒนา
อุตสาหกรรมเกษตร
ป. ๕ ๑. สังเกตและระบุส่วน
ประกอบของดอกและ
โครงสร้างที่เกี่ยวข้อง
กับการสืบพันธุ์ของ
พืชดอก
- ดอกโดยทั่วไปประกอบด้วย
กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสร
เพศผู้ และเกสรเพศเมีย
- ส่วนประกอบของดอกที่ทำา
หน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
สืบพันธุ์ ได้แก่ เกสรเพศเมีย
ประกอบด้วย รังไข่ ออวุล
และเกสร เพศผู้ ประกอบ
ด้วยอับเรณูและละอองเรณู
๒. อธิบายการสืบพันธุ์
ของพืชดอก การ
ขยายพันธุ์พืช และ
นำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- พืชดอกมีการสืบพันธุ์ทั้งแบบ
อาศัยเพศและการสืบพันธุ์
แบบไม่อาศัยเพศ
- การขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่ม
ปริมาณและคุณภาพ ของพืช
ทำาได้หลายวิธี โดยการเพาะ
เมล็ด การปักชำา การตอนกิ่ง
การติดตา การทาบกิ่ง การ
เสียบยอด และการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ
๓. อธิบายวัฏจักรชีวิต
ของพืชดอกบางชนิด
- พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตเต็ม
ที่จะออกดอก ดอกได้รับ
การผสมพันธุ์กลายเป็นผล
ผลมี
เมล็ด ซึ่งสามารถงอก
เป็นต้นพืชต้นใหม่หมุนเวียน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เป็นวัฏจักร
๔. อธิบายการสืบพันธุ์
และการขยายพันธุ์
ของสัตว์
- สัตว์มีการสืบพันธุ์แบบอาศัย
เพศและการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศ
- การขยายพันธุ์สัตว์โดยวิธี
การคัดเลือกพันธุ์และการ
ผสมเทียม ทำาให้มนุษย์ได้
สัตว์ที่มีปริมาณและคุณภาพ
ตามที่ต้องการ
๕. อภิปรายวัฏจักร
ชีวิตของสัตว์บาง
ชนิด และนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
- สัตว์บางชนิด เช่น ผีเสื้อ ยุง
กบ เมื่อไข่ได้รับการผสม
พันธุ์จะเจริญเป็นตัวอ่อน และ
ตัวอ่อน เจริญเติบโตเป็น
ตัวเต็มวัย จนกระทั่งสามารถ
สืบพันธุ์ได้ หมุนเวียนเป็น
วัฏจักร
- มนุษย์นำาความรู้เกี่ยวกับ
วัฏจักรชีวิตของสัตว์ มาใช้
ประโยชน์มากมาย ทั้งทาง
ด้านการเกษตร การ
อุตสาหกรรม และการดูแล
รักษาสิ่งแวดล้อม
ป. ๖ ๑. อธิบายการเจริญ
เติบโตของมนุษย์จาก
วัยแรกเกิดจนถึงวัย
ผู้ใหญ่
- มนุษย์มีการเจริญเติบโตและมี
การเปลี่ยนแปลง ทางด้าน
ร่างกายตั้งแต่แรกเกิดจนเป็น
ผู้ใหญ่
๒. อธิบายการทำางานที่
สัมพันธ์กันของระบบ
ย่อยอาหาร ระบบ
หายใจ และระบบ
หมุนเวียนเลือดของ
มนุษย์
- ระบบย่อยอาหาร ทำาหน้าที่
ย่อยอาหาร ให้เป็นสาร
อาหารขนาดเล็กแล้วจะถูกดูด
ซึมเข้าสู่ระบบหมุนเวียน
เลือด แก๊สออกซิเจนที่ได้
จากระบบหายใจจะทำาให้
สารอาหารเกิดการ
เปลี่ยนแปลงจนกลายเป็น
พลังงานที่ร่างกายนำาไป
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ใช้ได้
๓. วิเคราะห์สารอาหาร
และอภิปรายความ
จำาเป็นที่ร่างกายต้อง
ได้รับสารอาหารใน
สัดส่วนที่เหมาะสมกับ
เพศและวัย
- สารอาหาร ได้แก่ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่
ธาตุ วิตามิน และนำ้า มีความ
จำาเป็นต่อร่างกาย มนุษย์
จำาเป็นต้องได้รับสารอาหาร
ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ
และวัยเพื่อการเจริญเติบโต
และการดำารงชีวิต
ม. ๑ ๑. สังเกตและอธิบายรูป
ร่าง ลักษณะของ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวและเซลล์
ของสิ่งมีชีวิตหลาย
เซลล์
- เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียว และเซลล์ของ สิ่งมี
ชีวิตหลายเซลล์ เช่น เซลล์
พืช และเซลล์สัตว์มีรูปร่าง
ลักษณะแตกต่างกัน
๒. สังเกตและเปรียบเทียบ
ส่วนประกอบสำาคัญของ
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และ
เยื่อหุ้มเซลล์ เป็นส่วน
ประกอบสำาคัญของเซลล์ที่
เหมือนกันของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
- ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
เป็นส่วนประกอบ ที่พบได้ใน
เซลล์พืช
๓. ทดลองและอธิบาย
หน้าที่ของส่วน
ประกอบที่สำาคัญของ
เซลล์พืชและเซลล์
สัตว์
- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อ
หุ้มเซลล์ แวคิวโอล เป็นส่วน
ประกอบที่สำาคัญของเซลล์
สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน
- นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อ
หุ้มเซลล์ แวคิวโอล ผนัง
เซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็น
ส่วนประกอบที่สำาคัญของเซลล์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน
๔. ทดลองและอธิบาย
กระบวนการสารผ่าน
เซลล์ โดยการ
แพร่และออสโมซิส
- การแพร่เป็นการเคลื่อนที่
ของสาร จากบริเวณที่มีความ
เข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี
ความเข้มข้นตำ่า
- ออสโมซิสเป็น การเคลื่อนที่
ของนำ้าผ่านเข้าและออกจาก
เซลล์ จากบริเวณที่มีความ
เข้มข้นของสารละลายตำ่าไป
สู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของ
สารละลายสูง โดยผ่านเยื่อ
เลือกผ่าน
๕. ทดลองหาปัจจัย
บางประการที่จำาเป็น
ต่อการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช และ
อธิบายว่าแสง
คลอโรฟิลล์ แก๊ส
คาร์บอนได-
ออกไซด์ นำ้า เป็น
ปัจจัยที่จำาเป็นต้องใช้
ในการสังเคราะห์ด้วย
แสง
- แสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และนำ้า
เป็นปัจจัยที่จำาเป็นต่อ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช
๖. ทดลองและอธิบาย
ผลที่ได้จากการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
- นำ้าตาล แก๊สออกซิเจนและ
นำ้า เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
กระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช
๗. อธิบายความสำาคัญ
ของกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืชต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
- กระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงมีความสำาคัญต่อการ
ดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ
ต่อสิ่งแวดล้อมใน ด้าน
อาหาร การหมุนเวียนของ
แก๊สออกซิเจนและแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม. ๒
๘. ทดลองและอธิบาย
กลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้อง
กับการลำาเลียงนำ้า
ของพืช
- เนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้าเป็นกลุ่ม
เซลล์เฉพาะเรียงต่อเนื่องกัน
ตั้งแต่ราก ลำาต้น จนถึงใบ
ทำาหน้าที่ ในการลำาเลียงนำ้า
และธาตุอาหาร
๙. สังเกตและอธิบาย
โครงสร้างที่เกี่ยวกับ
ระบบลำาเลียงนำ้าและ
อาหารของพืช
- เนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้าและ
เนื้อเยื่อลำาเลียงอาหารเป็นก
ลุ่มเซลล์ที่อยู่คู่ขนานกันเป็น
ท่อลำาเลียง จากราก ลำาต้น
ถึงใบ ซึ่งการจัดเรียงตัวของ
ท่อลำาเลียงในพืชใบเลี้ยง
เดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่จะแตก
ต่างกัน
- เนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้า ทำาหน้าที่
ในการลำาเลียงนำ้าและธาตุ
อาหารจากรากสู่ใบ ส่วน
เนื้อเยื่อลำาเลียงอาหารทำา
หน้าที่ลำาเลียงอาหารจากใบสู่
ส่วนต่างๆ ของพืช
- การคายนำ้ามีส่วนช่วยในการ
ลำาเลียงนำ้าของพืช
๑๐. ทดลองและอธิบาย
โครงสร้างของดอกที่
เกี่ยวข้องกับการ
สืบพันธุ์ของพืช
- เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
เป็นโครงสร้างที่ใช้ในการ
สืบพันธุ์ของพืชดอก
๑ ๑. อธิบาย
กระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของ
พืชดอกและการ
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัย
เพศของพืช โดยใช้
ส่วนต่างๆ ของพืช
เพื่อช่วยในการขยาย
พันธุ์
- กระบวนการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศของพืชดอก
เป็นการปฏิสนธิระหว่างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์ไข่ใน
ออวุล
- การแตกหน่อ การเกิดไหล
เป็นการสืบพันธุ์ของพืชแบบ
ไม่อาศัยเพศ โดยไม่มีการ
ปฏิสนธิ
- ราก ลำาต้น ใบ และกิ่งของพืช
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สามารถนำาไปใช้ขยายพันธุ์
พืชได้
๑๒. ทดลองและ
อธิบายการตอบสนอง
ของพืชต่อแสง นำ้า
และการสัมผัส
- พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ภายนอก โดยสังเกตได้จาก
การเคลื่อนไหวของส่วน
ประกอบของพืช ที่มีต่อแสง
นำ้า และการสัมผัส
๑๓. อธิบายหลักการ
และผลของการใช้
เทคโนโลยี ชีวภาพ
ในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่ม
ผลผลิตของพืชและ
นำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อ ทำาให้สิ่ง
มีชีวิตหรือองค์ประกอบของ
สิ่งมีชีวิต มีสมบัติตาม
ต้องการ
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
พันธุวิศวกรรม เป็น
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ใน
การขยายพันธุ์ ปรับปรุง
พันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของพืช
๑. อธิบายโครงสร้าง
และการทำางานของ
ระบบ ย่อยอาหาร
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหายใจ ระบบ
ขับถ่าย ระบบ
สืบพันธุ์ ของมนุษย์
และสัตว์ รวมทั้ง
ระบบประสาทของ
มนุษย์
- ระบบย่อยอาหาร ระบบ
หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ
ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์
และระบบประสาทของมนุษย์
ในแต่ละระบบ ประกอบ
ด้วยอวัยวะหลายชนิดที่
ทำางานอย่างเป็นระบบ
- ระบบย่อยอาหาร ระบบ
หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ
ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์
ของสัตว์ ประกอบด้วย
อวัยวะหลายชนิดที่ทำางาน
อย่าง เป็นระบบ
๒. อธิบายความ - ระบบย่อยอาหาร ระบบ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สัมพันธ์ของระบบ
ต่างๆ ของ มนุษย์
และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ
ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์
ของมนุษย์ในแต่ละระบบมี
การทำางานที่สัมพันธ์กัน
ทำาให้มนุษย์ดำารงชีวิตอยู่ได้
อย่างปกติ ถ้าระบบใดระบบ
หนึ่งทำางานผิดปกติ ย่อมส่ง
ผลกระทบต่อระบบอื่นๆ ดัง
นั้นจึงต้องมีการดูแลรักษา
สุขภาพ
๓. สังเกตและอธิบาย
พฤติกรรมของมนุษย์
และสัตว์ที่ตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าภายนอก
และภายใน
- แสง อุณหภูมิ และการสัมผัส
จัดเป็นสิ่งเร้า ภายนอก
ส่วนการเปลี่ยนแปลงระดับ
สารใน ร่างกาย เช่น
ฮอร์โมน จัดเป็นสิ่งเร้า
ภายใน ซึ่งทั้ง สิ่งเร้า
ภายนอกและสิ่งเร้าภายในมี
ผลต่อมนุษย์และสัตว์ ทำาให้
แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา
๔. อธิบายหลักการ
และผลของการใช้
เทคโนโลยีชีวภาพ
ในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ และ
เพิ่มผลผลิตของสัตว์
และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- เทคโนโลยีชีวภาพเป็นการ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อ ทำาให้สิ่ง
มีชีวิตหรือองค์ประกอบของ
สิ่งมีชีวิต มีสมบัติตาม
ต้องการ
- การผสมเทียม การถ่ายฝากตัว
อ่อน การโคลน เป็นการใช้
เทคโนโลยีชีวภาพในการ
ขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และ
เพิ่มผลผลิตของสัตว์
๕. ทดลอง วิเคราะห์
และอธิบายสาร
อาหารในอาหารมี
ปริมาณพลังงานและ
สัดส่วนที่เหมาะสมกับ
เพศและวัย
- แป้ง นำ้าตาล ไขมัน โปรตีน
วิตามินซี เป็นสารอาหารและ
สามารถทดสอบได้
- การบริโภคอาหาร จำาเป็นต้อง
ให้ได้สารอาหาร ที่ครบถ้วน
ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ
และวัย และได้รับปริมาณ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พลังงานที่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
๖. อภิปรายผลของ
สารเสพติดต่อระบบ
ต่าง ๆ ของร่างกาย
และแนวทางในการ
ป้องกันตนเองจาก
สารเสพติด
- สารเสพติดแต่ละประเภทมี
ผลต่อระบบต่างๆ ของ
ร่างกาย ทำาให้ระบบเหล่านั้น
ทำาหน้าที่ ผิดปกติ ดังนั้นจึง
ต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพ
ติด และหาแนวทางในการ
ป้องกันตนเองจาก สารเสพ
ติด
ม.๓ - -
ม. ๔-
ม. ๖
๑. ทดลองและอธิบาย
การรักษาดุลยภาพ
ของเซลล์ของสิ่งมี
ชีวิต
- สารต่าง ๆ เคลื่อนที่ผ่านเข้า
และออกจากเซลล์ ตลอด
เวลา เซลล์จึงต้องมีการ
รักษาดุลยภาพ เพื่อให้
ร่างกายของสิ่งมีชีวิตดำารง
ชีวิตได้ตามปกติ
- เซลล์มีการลำาเลียงสารผ่านเซลล์
โดยวิธีการแพร่ การออสโมซิส
การลำาเลียงแบบฟาซิลิเทต
การลำาเลียงแบบใช้พลังงาน
และการลำาเลียงสารขนาด
ใหญ่
- สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีการ
ลำาเลียงสารเกิดขึ้น ภายใน
เซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ แต่สิ่ง
มีชีวิตหลายเซลล์ต้องอาศัย
การทำางานประสานกันของ
เซลล์จำานวนมาก
๒. ทดลองและอธิบาย
กลไกการรักษา
ดุลยภาพของนำ้าใน
พืช
- พืชมีกลไกในการรักษา
ดุลยภาพของนำ้า โดยมี การ
ควบคุมสมดุลระหว่างการคาย
นำ้าผ่านปากใบ และการดูด
นำ้าที่ราก
- การเปิดปิดของปากใบ
เป็นการควบคุมอัตราการ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คายนำ้าของพืช ซึ่งช่วยใน
การรักษาดุลยภาพของนำ้า
ภายในพืชให้มีความชุ่มชื้น
ในระดับที่พอเหมาะ
๓. สืบค้นข้อมูลและ
อธิบายกลไกการ
ควบคุมดุลยภาพของ
นำ้า แร่ธาตุ และ
อุณหภูมิของมนุษย์
และสัตว์อื่น ๆ และนำา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- ไตเป็นอวัยวะสำาคัญในการ
รักษาดุลยภาพของนำ้าและ
สารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งมี
โครงสร้างและการทำางาน
ร่วมกับอวัยวะอื่น
- ภายในไตมีหน่วยไต
ของเหลวที่ผ่านเข้าสู่
หน่วยไตส่วนหนึ่งจะถูกดูด
ซึมกลับสู่หลอดเลือด ส่วนที่
ไม่ถูกดูดซึมกลับจะผ่านไปยัง
ท่อปัสสาวะ
- ยูเรีย โซเดียมไอออน และ
คลอไรด์ไอออน เป็นของเสีย
จากกระบวนการเมแทบอลิ
ซึม จะถูกขับออกจากไตไป
พร้อมกับปัสสาวะ
- อะมีบาและพารามีเซียมเป็น
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มี
โครงสร้างภายในเซลล์ที่
เรียกว่า คอนแทร็กไทล์แว
คิวโอลในการกำาจัดนำ้าและ
ของเสียออกจากเซลล์
- ปลานำ้าจืดมีเซลล์บริเวณ
เหงือกที่นำ้าเข้าสู่ร่างกาย ได้
โดยการออสโมซิส ส่วนปลา
นำ้าเค็มป้องกันการสูญเสียนำ้า
ออกจากร่างกายโดยมี
ผิวหนังและเกล็ดที่ป้องกันไม่
ให้แร่ธาตุจากนำ้าทะเลซึมเข้า
สู่ร่างกาย และที่บริเวณ
เหงือกมีกลุ่มเซลล์ซึ่งขับแร่
ธาตุส่วนเกินออกโดยวิธีการ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ลำาเลียงแบบใช้พลังงาน
- มนุษย์มีกลไกในการควบคุม
อุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ใน
สภาวะที่เหมาะสม โดยศูนย์
ควบคุมอุณหภูมิจะอยู่ที่สมองส่วน
ไฮโพทาลามัส
- สัตว์เลือดอุ่นสามารถรักษา
อุณหภูมิของร่างกาย ให้
เกือบคงที่ได้ในสภาวะ
แวดล้อมต่าง ๆ ส่วนสัตว์
เลือดเย็น อุณหภูมิร่างกาย
จะแปรผันตามอุณหภูมิของ
สิ่งแวดล้อม
๔. อธิบายเกี่ยวกับ
ระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายและนำาความรู้
ไปใช้ในการดูแล
รักษาสุขภาพ
- ร่างกายมนุษย์ มีภูมิคุ้มกันซึ่ง
เป็นกลไก ในการป้องกัน
เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
เข้าสู่ร่างกาย
- ผิวหนัง เซลล์เม็ดเลือดขาว
และระบบนำ้าเหลืองเป็นส่วน
สำาคัญของร่างกายที่ทำา
หน้าที่ป้องกันและทำาลายเชื้อ
โรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้า
สู่ร่างกาย
- ระบบภูมิคุ้มกันมีความสำาคัญ
ยิ่งต่อร่างกายมนุษย์การรับ
ประทานอาหารที่ถูก
สุขลักษณะ การออกกำาลัง
กาย การดูแลสุขอนามัย
ตลอดจนการหลีกเลี่ยงสาร
เสพติด และพฤติกรรมที่เสี่ยง
ทางเพศ และการได้รับวัคซีน
ในการป้องกันโรคต่าง ๆ
ครบตามกำาหนด จะช่วยเสริม
สร้างภูมิคุ้มกันและรักษา
ภูมิคุ้มกันของร่างกายได้
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสำาคัญของการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมี
ชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี
ชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑ ๑. ระบุลักษณะของ
สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่น
และนำามาจัดจำาแนก
โดยใช้ลักษณะ
ภายนอกเป็นเกณฑ์
- สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นจะมีทั้ง
ลักษณะที่เหมือนกัน และ
แตกต่างกัน ซึ่งสามารถนำา
มาจำาแนกโดยใช้ลักษณะ
ภายนอกเป็นเกณฑ์
ป. ๒ ๑. อธิบายประโยชน์
ของพืชและสัตว์ใน
ท้องถิ่น
- พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อ
มนุษย์ในแง่ของ ปัจจัยสี่ คือ
เป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่อง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
นุ่งห่ม และยารักษาโรค
ป. ๓ ๑. อภิปรายลักษณะ
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
ใกล้ตัว
- สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมี
ลักษณะแตกต่างกัน
๒. เปรียบเทียบและ
ระบุลักษณะที่
คล้ายคลึงกันของพ่อ
แม่กับลูก
- สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีลักษณะ
ภายนอกที่ปรากฏคล้ายคลึงกับ
พ่อแม่ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น
๓. อธิบายลักษณะที่
คล้ายคลึงกันของ
พ่อแม่กับลูกว่า
เป็นการถ่ายทอด
ลักษณะทาง
พันธุกรรม และนำา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- ลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึง
กันของพ่อแม่กับลูกเป็นการ
ถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
- มนุษย์นำาความรู้ที่ได้เกี่ยว
กับการถ่ายทอด ลักษณะ
ทางพันธุกรรมมาใช้
ประโยชน์ในการพัฒนาสาย
พันธุ์ของพืชและสัตว์
๔. สืบค้นข้อมูลและ
อภิปรายเกี่ยวกับสิ่ง
มีชีวิตบางชนิดที่สูญ
พันธุ์ไปแล้ว และที่
ดำารงพันธุ์มาจนถึง
ปัจจุบัน (ว ๑.๒.๓)
- สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถปรับตัว
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่
เปลี่ยนแปลงไปได้ก็จะสูญ
พันธุ์ไปในที่สุด
- สิ่งมีชีวิตที่สามารถปรับตัวเข้า
กับสภาพแวดล้อม ที่
เปลี่ยนแปลงไปได้จะสามารถ
อยู่รอดและดำารงพันธุ์ต่อไป
ป. ๔ - -
ป. ๕ ๑. สำารวจ เปรียบ
เทียบและระบุ
ลักษณะของตนเอง
กับคนในครอบครัว
- ลักษณะของตนเองจะ
คล้ายคลึงกับคนใน
ครอบครัว
๒. อธิบายการ
ถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมของ
- การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมเป็นการถ่ายทอด
ลักษณะบางลักษณะจาก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สิ่งมีชีวิตในแต่ละ
รุ่น
บรรพบุรุษสู่ลูกหลาน ซึ่ง
บางลักษณะจะเหมือนพ่อ
หรือเหมือนแม่ หรืออาจมี
ลักษณะเหมือน ปู่ ย่า ตา
ยาย
๓.จำาแนกพืชออกเป็น
พืชดอก และพืช
ไม่มีดอก
- พืชแบ่งออกเป็นสองประเภท
คือ พืชดอกกับพืชไม่มีดอก
๔. ระบุลักษณะของพืช
ดอกที่เป็นพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยว และพืช
ใบเลี้ยงคู่ โดยใช้
ลักษณะภายนอก
เป็นเกณฑ์
- พืชดอกแบ่งออกเป็น พืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู่
โดยสังเกตจาก ราก ลำาต้น
และใบ
๕. จำาแนกสัตว์ออก
เป็นกลุ่มโดยใช้
ลักษณะภายในบาง
ลักษณะและ
ลักษณะภายนอก
เป็นเกณฑ์
- การจำาแนกสัตว์เป็นกลุ่ม
โดยใช้ลักษณะภายนอกและ
ลักษณะภายในบางลักษณะ
เป็นเกณฑ์แบ่งออกได้เป็น
สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลัง
- สัตว์มีกระดูกสันหลังแบ่ง
เป็นกลุ่มปลา สัตว์ครึ่งนำ้า
ครึ่งบก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์
ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นำ้านม
ป. ๖ - -
ม. ๑ - -
ม. ๒ - -
ม. ๓ ๑. สังเกตและอธิบาย
ลักษณะของ
โครโมโซมที่มี
หน่วยพันธุกรรม
หรือยีนใน
นิวเคลียส
- เมื่อมองเซลล์ผ่าน
กล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้น
ใยเล็กๆ พันกันอยู่ใน
นิวเคลียส เมื่อเกิดการแบ่ง
เซลล์ เส้นใยเหล่านี้จะขดสั้น
เข้าจนมีลักษณะเป็นท่อนสั้น
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เรียกว่า โครโมโซม
- โครโมโซมประกอบด้วย
ดีเอ็นเอและโปรตีน
- ยีนหรือหน่วยพันธุกรรม
เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่บนดีเอ็นเอ
๒. อธิบายความ
สำาคัญของสาร
พันธุกรรมหรือ
ดีเอ็นเอ และ
กระบวนการ
ถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม
- เซลล์หรือสิ่งมีชีวิต มีสาร
พันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอที่
ควบคุมลักษณะของการ
แสดงออก
- ลักษณะทางพันธุกรรมที่
ควบคุมด้วยยีนจากพ่อและ
แม่สามารถถ่ายทอดสู่ลูก
ผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์และ
การปฏิสนธิ
๓. อภิปรายโรคทาง
พันธุกรรมที่เกิดจาก
ความผิดปกติของ
ยีนและโครโมโซม
และนำาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี
เป็นโรคทางพันธุกรรม ที่เกิด
จากความผิดปกติของยีน
- กลุ่มอาการดาวน์เป็นความ
ผิดปกติของร่างกาย ซึ่งเกิด
จากการที่มีจำานวน
โครโมโซมเกินมา
- ความรู้เกี่ยวกับโรคทาง
พันธุกรรมสามารถนำาไปใช้
ในการป้องกันโรค ดูแลผู้
ป่วยและวางแผนครอบครัว
๔. สำารวจและ
อธิบายความหลาก
หลายทางชีวภาพ
ในท้องถิ่นที่ทำาให้
สิ่งมีชีวิตดำารงชีวิต
อยู่ได้อย่างสมดุล
- ความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่ทำาให้สิ่งมีชีวิตอยู่อย่าง
สมดุล ขึ้นอยู่กับความหลาก
หลายของระบบนิเวศ ความ
หลากหลายของชนิดสิ่งมี
ชีวิต และความหลากหลาย
ทางพันธุกรรม
๕. อธิบายผลของ
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพที่มีต่อ
มนุษย์ สัตว์ พืช
- การตัดไม้ทำาลายป่าเป็น
สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้เกิดการ
สูญเสียความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
และสิ่งแวดล้อม การดำารงชีวิตของมนุษย์
สัตว์ พืชและสิ่งแวดล้อม
- การใช้สารเคมีในการกำาจัด
ศัตรูพืชและสัตว์ ส่งผลกระ
ทบต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์และ
พืช ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
และส่งผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม
๖. อภิปรายผลของ
เทคโนโลยีชีวภาพต่อ
การดำารงชีวิตของ
มนุษย์และสิ่ง
แวดล้อม
- ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มี
ประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งด้าน
การแพทย์ การเกษตรและ
อุตสาหกรรม
ม. ๔-
ม. ๖
๑. อธิบาย
กระบวนการ
ถ่ายทอดสาร
พันธุกรรม การ
แปรผันทาง
พันธุกรรม มิวเทชัน
และการเกิดความ
หลากหลายทาง
ชีวภาพ
- สิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรม จาก
พ่อแม่มาสู่รุ่นลูกหลานได้
ซึ่งสังเกตได้จากลักษณะที่
ปรากฏ
- ดีเอ็นเอเป็นนิวคลีโอไทด์สาย
ยาวสองสายพันกันเป็นเกลียว
คู่วนขวา แต่ละสายประกอบ
ด้วย นิวคลีโอไทด์นับล้าน
หน่วย ซึ่งมีโครงสร้างประกอบ
ด้วยนำ้าตาลเพนโทส
ไนโตรเจนเบส สี่ชนิดและหมู่
ฟอสเฟต โดยที่ลำาดับเบสของ
นิวคลีโอไทด์จะมีข้อมูลทาง
พันธุกรรมบันทึกอยู่
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- มิวเทชันเป็นการ
เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
ในระดับยีนหรือโครโมโซม
ซึ่งเป็นผลมาจากการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ
ดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิด
ในเซลล์สืบพันธุ์สามารถ
ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลาน
ได้
- การแปรผันทางพันธุกรรม
ทำาให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มี
ลักษณะที่แตกต่างกันหลาก
หลายชนิดก่อให้เกิดเป็น
ความหลากหลายทางชีวภาพ
๒. สืบค้นข้อมูลและ
อภิปรายผลของ
เทคโนโลยี
ชีวภาพที่มีต่อ
มนุษย์และสิ่ง
แวดล้อมและนำา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
- มนุษย์นำาความรู้ทาง
เทคโนโลยีชีวภาพด้านพันธุ
วิศวกรรม การโคลนและ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ มาใช้
ในการพัฒนาให้เกิดความ
ก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ มาก
ขึ้นและแพร่หลาย
- การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่สร้าง
สิ่งมีชีวิตใหม่ เกิดขึ้น หรือสิ่ง
มีชีวิตที่มีการดัดแปรพันธุกรรม
ส่งผลกระทบทั้งทางด้านที่
เป็นประโยชน์และโทษต่อสิ่ง
แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม
๓. สืบค้นข้อมูลและ
อภิปรายผลของ
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพที่มีต่อ
มนุษย์และสิ่ง
แวดล้อม
- โลกมีความหลากหลายของ
ระบบนิเวศซึ่งมี สิ่งมีชีวิต
อาศัยอยู่มากมายหลายสปีชีส์
สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันก็ยังมี
ความหลากหลายทาง
พันธุกรรม
- ความหลากหลายทางชีวภาพ
ส่งผลทำาให้มนุษย์ และสิ่งมี
ชีวิตอื่น ๆ ได้ใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ในแง่ของการเป็นอาหาร ที่
อยู่อาศัย แหล่งสืบพันธุ์และ
ขยายพันธุ์ ทำาให้สิ่งมีชีวิต
สามารถดำารงพันธุ์อยู่ได้
- สิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลาย
ทางชีวภาพ มีความต้องการ
ปัจจัยต่าง ๆ ในการดำารง
ชีวิตแตกต่างกันซึ่งจะช่วย
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ
บนโลกได้
๔. อธิบาย
กระบวนการคัด
เลือกตามธรรมชาติ
และ ผลของการ
คัดเลือกตาม
ธรรมชาติต่อความ
หลากหลายของสิ่งมี
ชีวิต
- สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมี
ความหลากหลายที่แตกต่าง
กัน สิ่งมีชีวิตในสปีชีส์
เดียวกันจะผสมพันธุ์และสืบ
ลูกหลานต่อไปได้
- การคัดเลือกตามธรรมชาติจะ
ส่งผลทำาให้ลักษณะ
พันธุกรรมของประชากรใน
กลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่าง
กันไปจนกลายเป็น สปีชีส์
ใหม่ทำาให้เกิดเป็นความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ
นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน
กลาง
ป. ๑ - -
ป. ๒ - -
ป. ๓ ๑. สำารวจสิ่ง
แวดล้อมในท้องถิ่น
ของตนและอธิบาย
ความสัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิตกับสิ่ง
แวดล้อม
- สิ่งแวดล้อมหมายถึง สิ่งที่อยู่
รอบๆ ตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมี
ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ทั้งกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันและ
กับสิ่งไม่มีชีวิต
ป. ๔
- -
ป. ๕
- -
ป. ๖ ๑. สำารวจและ
อภิปรายความ
สัมพันธ์ของกลุ่ม
สิ่งมีชีวิตในแหล่งที่
อยู่ต่าง ๆ
- กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่
ต่าง ๆ มีความ สัมพันธ์กัน
และมีความสัมพันธ์กับแหล่งที่
อยู่ในลักษณะของแหล่ง
อาหาร แหล่งที่อยู่อาศัย
แหล่งสืบพันธุ์ และแหล่ง
เลี้ยงดูลูกอ่อน
๒. อธิบายความ
สัมพันธ์ของสิ่งมี
ชีวิตกับสิ่งมีชีวิตใน
รูปของโซ่อาหาร
และสายใยอาหาร
- ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
กับสิ่งมีชีวิตในรูป ของโซ่
อาหาร และสายใยอาหาร
ทำาให้เกิดการถ่ายทอด
พลังงานจากผู้ผลิตสู่ผู้
บริโภค
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"Jaru O-not
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานThanawut Rattanadon
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 

Mais procurados (20)

ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3.3 เรื่อง เค้าโครงของโครงงาน
 
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 

Destaque

เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.คkrupornpana55
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Chao Chao
 

Destaque (6)

เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 

Semelhante a มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.krupornpana55
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 

Semelhante a มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (20)

6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 

Mais de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

  • 2. สารบัญ หน้า คำานำา ทำาไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์ ๑ เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒ คุณภาพผู้เรียน ๔ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๙ สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต ๙ สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ๒๔ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร ๓๑ สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ ๔๑ สาระที่ ๕ พลังงาน ๔๗ สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ๕๔ สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ ๖๒ สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ๖๘ อภิธานศัพท์ ๗๘ คณะผู้จัดทำา ๘๐
  • 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทำาไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและ อนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจำาวัน และการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้ และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำานวยความสะดวกในชีวิต และการทำางาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสม ผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้ มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มี ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียน รู้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจำาเป็นต้องได้รับ การพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจใน ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำาความรู้ ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะ สำาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน การสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำากิจกรรมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กำาหนด สาระสำาคัญไว้ดังนี้ • สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วย พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมี ชีวิต และกระบวนการดำารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทำางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยี ชีวภาพ • ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมี
  • 4. ชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และ โลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ • สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและ การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร • แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การออกแรงกระทำาต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ในชีวิต ประจำาวัน • พลังงาน พลังงานกับการดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูป พลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการ ใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม • กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ ประกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน นำ้า อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ • ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความ สัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสำาคัญของ เทคโนโลยีอวกาศ • ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความ สัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่ง มีชีวิต
  • 5. มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสำาคัญของการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมี ชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี ชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสำาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำาความรู้ไปใช้ในในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓. ๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง สมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรง โน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุ ในธรรมชาติมีกระบวนการ
  • 6. สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการ ดำารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ สิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖. ๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิว โลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ สัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗. ๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี และเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อ สิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่ นำามาใช้ในการสำารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำา ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่ง แวดล้อม สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา ศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบ ที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
  • 7. ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ • เข้าใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวิต และการดำารงชีวิตของสิ่ง มีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น • เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รูปของพลังงาน • เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน นำ้า อากาศ ดวง อาทิตย์ และดวงดาว • ตั้งคำาถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และ ปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต สำารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อย่างง่าย และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเรื่อง เขียน หรือวาด ภาพ • ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดำารง ชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือชิ้นงานตามที่ กำาหนดให้ หรือตามความสนใจ • แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ และแสดงความ ซาบซึ้งต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว แสดงถึงความมีเมตตา ความ ระมัดระวังต่อสิ่งมีชีวิตอื่น • ทำางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนเป็นผลสำาเร็จ และทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ • เข้าใจโครงสร้างและการทำางานของระบบต่างๆ ของสิ่งมี ชีวิต และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่างกัน • เข้าใจสมบัติและการจำาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทำาให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวิต ประจำาวัน การแยกสารอย่างง่าย
  • 8. • เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำากับวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องต้นของแรงลอยตัว สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้น ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า • เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และ บรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผล ต่อการเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ • ตั้งคำาถามเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ คาดคะเนคำาตอบหลาย แนวทาง วางแผนและสำารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูล และสื่อสารความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบ • ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำารง ชีวิต และการศึกษาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือชิ้นงานตามที่ กำาหนดให้หรือตามความสนใจ • แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ • ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น • แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการ ใช้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า • ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของ ตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ • เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำาคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำางานของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม • เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิด สารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี • เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบ ต่างๆ ในชีวิตประจำาวัน กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอน พลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของ แสง
  • 9. • เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อ วงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงานไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจร อิเล็กทรอนิกส์ • เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่ง ทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความ สำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ • เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การ พัฒนาและผลของการพัฒนาเทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่ง แวดล้อม • ตั้งคำาถามที่มีการกำาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำา ตอบหลายแนวทาง วางแผนและลงมือสำารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้ • สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดยการ พูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการดำารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้าง ชิ้นงานตามความสนใจ • แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และ ซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ ผลถูกต้องเชื่อถือได้ • ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ ใช้ในชีวิตประจำาวันและการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น • แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วน ร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้อง ถิ่น • ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของ ตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ • เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษา ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
  • 10. • เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิว เทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและ ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมต่างๆ • เข้าใจกระบวนการ ความสำาคัญและผลของเทคโนโลยี ชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม • เข้าใจชนิดของอนุภาคสำาคัญที่เป็นส่วนประกอบใน โครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยา เคมีและเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี • เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติ ต่างๆ ของสารที่มีความสัมพันธ์กับแรงยึดเหนี่ยว • เข้าใจการเกิดปิโตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการก ลั่นลำาดับส่วนนำ้ามันดิบ การนำาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์ และผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม • เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สำาคัญของพอลิเมอร์และสาร ชีวโมเลกุล • เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ แบบต่างๆ สมบัติของคลื่นกล คุณภาพของเสียงและการได้ยิน สมบัติ ประโยชน์และโทษของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและ พลังงานนิวเคลียร์ • เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ ทางธรณีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม • เข้าใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพและความสำาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ • เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการ พัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่างๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้ มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม • ระบุปัญหา ตั้งคำาถามที่จะสำารวจตรวจสอบ โดยมีการ กำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลาย แหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจ สอบสมมติฐานที่เป็นไปได้ • วางแผนการสำารวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคำาถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทาง คณิตศาสตร์หรือสร้างแบบจำาลองจากผลหรือความรู้ที่ได้รับจากการ สำารวจตรวจสอบ
  • 11. • สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสำารวจตรวจสอบโดยการ พูด เขียน จัดแสดง หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำารง ชีวิต การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตาม ความสนใจ • แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูก ต้องเชื่อถือได้ • ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ ใช้ในชีวิตประจำาวัน การประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและ การพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย • แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และ รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเอง ร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น • แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคำาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ • ทำางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดย มีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและ การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่ง แวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
  • 12. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต มาตรฐาน ว ๑. ๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความ สัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะ
  • 13. หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ใน การดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. เปรียบเทียบความ แตกต่างระหว่างสิ่งมี ชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต - สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกต่าง จากสิ่งไม่มีชีวิต โดยสิ่งมี ชีวิตจะมีการเคลื่อนที่ กิน อาหาร ขับถ่าย หายใจ เจริญเติบโต สืบพันธุ์และ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า แต่สิ่ง ไม่มีชีวิตจะไม่มีลักษณะดัง กล่าว ๒. สังเกตและอธิบาย ลักษณะและหน้าที่ ของโครงสร้าง ภายนอกของพืชและ สัตว์ - โครงสร้างภายนอกของพืช ได้แก่ ราก ลำาต้น ใบ ดอกและผล แต่ละส่วนทำา หน้าที่ต่างกัน - โครงสร้างภายนอกของสัตว์ ได้แก่ ตา หู จมูก ปาก เท้า และขา แต่ละส่วนทำา หน้าที่แตกต่างกัน ๓.สังเกตและอธิบาย ลักษณะ หน้าที่และ ความสำาคัญของ อวัยวะภายนอกของ มนุษย์ ตลอดจนการ ดูแลรักษาสุขภาพ - อวัยวะภายนอกของมนุษย์มี ลักษณะและหน้าที่แตกต่าง กัน อวัยวะเหล่านี้มีความ สำาคัญต่อการดำารงชีวิต จึง ต้องดูแลรักษาและป้องกันไม่ ให้อวัยวะเหล่านั้นได้รับ อันตราย ป. ๒ ๑. ทดลองและอธิบาย นำ้า แสง เป็นปัจจัยที่ จำาเป็นต่อการดำารง ชีวิตของพืช - พืชต้องการนำ้าและแสงใน การเจริญเติบโตและการ ดำารงชีวิต ๒.อธิบายอาหาร นำ้า อากาศ เป็นปัจจัยที่ จำาเป็นต่อการดำารง ชีวิต และการเจริญ เติบโตของพืชและ สัตว์และนำาความรู้ไป - พืชและสัตว์ต้องการอาหาร นำ้า อากาศ เพื่อการดำารง ชีวิตดำารงชีวิตและการเจริญ เติบโต - นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน การดูแลพืชและสัตว์เพื่อให้
  • 14. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ใช้ประโยชน์ เจริญเติบโตได้ดี ๓. สำารวจและอธิบาย พืชและสัตว์สามารถ ตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส - พืชและสัตว์มีการตอบสนอง ต่อ แสง อุณหภูมิ และการ สัมผัส ๔. ทดลองและอธิบาย ร่างกายของมนุษย์ สามารถ ตอบสนอง ต่อแสง อุณหภูมิ และ การสัมผัส - ร่างกายมนุษย์สามารถตอบ สนองต่อ แสง อุณหภูมิและ การสัมผัส ๕. อธิบายปัจจัยที่ จำาเป็นต่อการดำารง ชีวิต และการเจริญ เติบโตของมนุษย์ - มนุษย์ต้องการอาหาร นำ้า อากาศ เพื่อการดำารงชีวิต และการเจริญเติบโต ป. ๓ - - ป. ๔ ๑. ทดลองและอธิบาย หน้าที่ของท่อลำาเลียง และ ปากใบของพืช - ภายในลำาต้นของพืชมีท่อ ลำาเลียง เพื่อลำาเลียงนำ้าและ อาหาร และในใบมีปากใบทำา หน้าที่คายนำ้า ๒. อธิบาย นำ้า แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ แสง และคลอโรฟิลล์ เป็น ปัจจัยที่จำาเป็นบาง ประการต่อ การ เจริญเติบโตและการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช - ปัจจัยที่สำาคัญต่อการเจริญ เติบโตและ การสังเคราะห์ด้วยแสงของ พืช ได้แก่ นำ้า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสง และคลอโรฟิลล์ ๓. ทดลองและอธิบาย การตอบสนองของ พืชต่อแสง เสียง และ การสัมผัส - พืชมีการตอบสนองต่อแสง เสียง และการสัมผัส ซึ่ง เป็นสภาพแวดล้อมภายนอก
  • 15. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๔. อธิบายพฤติกรรม ของสัตว์ที่ตอบสนอง ต่อแสง อุณหภูมิ การสัมผัส และนำา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - พฤติกรรมของสัตว์ เป็นการ แสดงออกของสัตว์ใน ลักษณะต่าง ๆ เพื่อตอบ สนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง อุณหภูมิ การสัมผัส - นำาความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม ของสัตว์ไปใช้ ประโยชน์ ในการจัดสภาพแวดล้อมให้ เหมาะสมกับการดำารงชีวิต ของสัตว์ และเพื่อพัฒนา อุตสาหกรรมเกษตร ป. ๕ ๑. สังเกตและระบุส่วน ประกอบของดอกและ โครงสร้างที่เกี่ยวข้อง กับการสืบพันธุ์ของ พืชดอก - ดอกโดยทั่วไปประกอบด้วย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสร เพศผู้ และเกสรเพศเมีย - ส่วนประกอบของดอกที่ทำา หน้าที่เกี่ยวข้องกับการ สืบพันธุ์ ได้แก่ เกสรเพศเมีย ประกอบด้วย รังไข่ ออวุล และเกสร เพศผู้ ประกอบ ด้วยอับเรณูและละอองเรณู ๒. อธิบายการสืบพันธุ์ ของพืชดอก การ ขยายพันธุ์พืช และ นำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - พืชดอกมีการสืบพันธุ์ทั้งแบบ อาศัยเพศและการสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศ - การขยายพันธุ์พืชเพื่อเพิ่ม ปริมาณและคุณภาพ ของพืช ทำาได้หลายวิธี โดยการเพาะ เมล็ด การปักชำา การตอนกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การ เสียบยอด และการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ ๓. อธิบายวัฏจักรชีวิต ของพืชดอกบางชนิด - พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตเต็ม ที่จะออกดอก ดอกได้รับ การผสมพันธุ์กลายเป็นผล ผลมี เมล็ด ซึ่งสามารถงอก เป็นต้นพืชต้นใหม่หมุนเวียน
  • 16. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เป็นวัฏจักร ๔. อธิบายการสืบพันธุ์ และการขยายพันธุ์ ของสัตว์ - สัตว์มีการสืบพันธุ์แบบอาศัย เพศและการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ - การขยายพันธุ์สัตว์โดยวิธี การคัดเลือกพันธุ์และการ ผสมเทียม ทำาให้มนุษย์ได้ สัตว์ที่มีปริมาณและคุณภาพ ตามที่ต้องการ ๕. อภิปรายวัฏจักร ชีวิตของสัตว์บาง ชนิด และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ - สัตว์บางชนิด เช่น ผีเสื้อ ยุง กบ เมื่อไข่ได้รับการผสม พันธุ์จะเจริญเป็นตัวอ่อน และ ตัวอ่อน เจริญเติบโตเป็น ตัวเต็มวัย จนกระทั่งสามารถ สืบพันธุ์ได้ หมุนเวียนเป็น วัฏจักร - มนุษย์นำาความรู้เกี่ยวกับ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ มาใช้ ประโยชน์มากมาย ทั้งทาง ด้านการเกษตร การ อุตสาหกรรม และการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม ป. ๖ ๑. อธิบายการเจริญ เติบโตของมนุษย์จาก วัยแรกเกิดจนถึงวัย ผู้ใหญ่ - มนุษย์มีการเจริญเติบโตและมี การเปลี่ยนแปลง ทางด้าน ร่างกายตั้งแต่แรกเกิดจนเป็น ผู้ใหญ่ ๒. อธิบายการทำางานที่ สัมพันธ์กันของระบบ ย่อยอาหาร ระบบ หายใจ และระบบ หมุนเวียนเลือดของ มนุษย์ - ระบบย่อยอาหาร ทำาหน้าที่ ย่อยอาหาร ให้เป็นสาร อาหารขนาดเล็กแล้วจะถูกดูด ซึมเข้าสู่ระบบหมุนเวียน เลือด แก๊สออกซิเจนที่ได้ จากระบบหายใจจะทำาให้ สารอาหารเกิดการ เปลี่ยนแปลงจนกลายเป็น พลังงานที่ร่างกายนำาไป
  • 17. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ใช้ได้ ๓. วิเคราะห์สารอาหาร และอภิปรายความ จำาเป็นที่ร่างกายต้อง ได้รับสารอาหารใน สัดส่วนที่เหมาะสมกับ เพศและวัย - สารอาหาร ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ ธาตุ วิตามิน และนำ้า มีความ จำาเป็นต่อร่างกาย มนุษย์ จำาเป็นต้องได้รับสารอาหาร ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ และวัยเพื่อการเจริญเติบโต และการดำารงชีวิต ม. ๑ ๑. สังเกตและอธิบายรูป ร่าง ลักษณะของ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและเซลล์ ของสิ่งมีชีวิตหลาย เซลล์ - เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียว และเซลล์ของ สิ่งมี ชีวิตหลายเซลล์ เช่น เซลล์ พืช และเซลล์สัตว์มีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างกัน ๒. สังเกตและเปรียบเทียบ ส่วนประกอบสำาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และ เยื่อหุ้มเซลล์ เป็นส่วน ประกอบสำาคัญของเซลล์ที่ เหมือนกันของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ - ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ เป็นส่วนประกอบ ที่พบได้ใน เซลล์พืช ๓. ทดลองและอธิบาย หน้าที่ของส่วน ประกอบที่สำาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์ สัตว์ - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อ หุ้มเซลล์ แวคิวโอล เป็นส่วน ประกอบที่สำาคัญของเซลล์ สัตว์ มีหน้าที่แตกต่างกัน - นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อ หุ้มเซลล์ แวคิวโอล ผนัง เซลล์ และคลอโรพลาสต์ เป็น ส่วนประกอบที่สำาคัญของเซลล์
  • 18. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง พืช มีหน้าที่แตกต่างกัน ๔. ทดลองและอธิบาย กระบวนการสารผ่าน เซลล์ โดยการ แพร่และออสโมซิส - การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ ของสาร จากบริเวณที่มีความ เข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มี ความเข้มข้นตำ่า - ออสโมซิสเป็น การเคลื่อนที่ ของนำ้าผ่านเข้าและออกจาก เซลล์ จากบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายตำ่าไป สู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของ สารละลายสูง โดยผ่านเยื่อ เลือกผ่าน ๕. ทดลองหาปัจจัย บางประการที่จำาเป็น ต่อการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช และ อธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนได- ออกไซด์ นำ้า เป็น ปัจจัยที่จำาเป็นต้องใช้ ในการสังเคราะห์ด้วย แสง - แสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และนำ้า เป็นปัจจัยที่จำาเป็นต่อ กระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช ๖. ทดลองและอธิบาย ผลที่ได้จากการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช - นำ้าตาล แก๊สออกซิเจนและ นำ้า เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก กระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช ๗. อธิบายความสำาคัญ ของกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของพืชต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม - กระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสงมีความสำาคัญต่อการ ดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและ ต่อสิ่งแวดล้อมใน ด้าน อาหาร การหมุนเวียนของ แก๊สออกซิเจนและแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์
  • 19. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๒ ๘. ทดลองและอธิบาย กลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้อง กับการลำาเลียงนำ้า ของพืช - เนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้าเป็นกลุ่ม เซลล์เฉพาะเรียงต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ราก ลำาต้น จนถึงใบ ทำาหน้าที่ ในการลำาเลียงนำ้า และธาตุอาหาร ๙. สังเกตและอธิบาย โครงสร้างที่เกี่ยวกับ ระบบลำาเลียงนำ้าและ อาหารของพืช - เนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้าและ เนื้อเยื่อลำาเลียงอาหารเป็นก ลุ่มเซลล์ที่อยู่คู่ขนานกันเป็น ท่อลำาเลียง จากราก ลำาต้น ถึงใบ ซึ่งการจัดเรียงตัวของ ท่อลำาเลียงในพืชใบเลี้ยง เดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่จะแตก ต่างกัน - เนื้อเยื่อลำาเลียงนำ้า ทำาหน้าที่ ในการลำาเลียงนำ้าและธาตุ อาหารจากรากสู่ใบ ส่วน เนื้อเยื่อลำาเลียงอาหารทำา หน้าที่ลำาเลียงอาหารจากใบสู่ ส่วนต่างๆ ของพืช - การคายนำ้ามีส่วนช่วยในการ ลำาเลียงนำ้าของพืช ๑๐. ทดลองและอธิบาย โครงสร้างของดอกที่ เกี่ยวข้องกับการ สืบพันธุ์ของพืช - เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เป็นโครงสร้างที่ใช้ในการ สืบพันธุ์ของพืชดอก ๑ ๑. อธิบาย กระบวนการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของ พืชดอกและการ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัย เพศของพืช โดยใช้ ส่วนต่างๆ ของพืช เพื่อช่วยในการขยาย พันธุ์ - กระบวนการสืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศของพืชดอก เป็นการปฏิสนธิระหว่างเซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์ไข่ใน ออวุล - การแตกหน่อ การเกิดไหล เป็นการสืบพันธุ์ของพืชแบบ ไม่อาศัยเพศ โดยไม่มีการ ปฏิสนธิ - ราก ลำาต้น ใบ และกิ่งของพืช
  • 20. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สามารถนำาไปใช้ขยายพันธุ์ พืชได้ ๑๒. ทดลองและ อธิบายการตอบสนอง ของพืชต่อแสง นำ้า และการสัมผัส - พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้า ภายนอก โดยสังเกตได้จาก การเคลื่อนไหวของส่วน ประกอบของพืช ที่มีต่อแสง นำ้า และการสัมผัส ๑๓. อธิบายหลักการ และผลของการใช้ เทคโนโลยี ชีวภาพ ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่ม ผลผลิตของพืชและ นำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อ ทำาให้สิ่ง มีชีวิตหรือองค์ประกอบของ สิ่งมีชีวิต มีสมบัติตาม ต้องการ - การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช พันธุวิศวกรรม เป็น เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ใน การขยายพันธุ์ ปรับปรุง พันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของพืช ๑. อธิบายโครงสร้าง และการทำางานของ ระบบ ย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบ ขับถ่าย ระบบ สืบพันธุ์ ของมนุษย์ และสัตว์ รวมทั้ง ระบบประสาทของ มนุษย์ - ระบบย่อยอาหาร ระบบ หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ และระบบประสาทของมนุษย์ ในแต่ละระบบ ประกอบ ด้วยอวัยวะหลายชนิดที่ ทำางานอย่างเป็นระบบ - ระบบย่อยอาหาร ระบบ หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ ของสัตว์ ประกอบด้วย อวัยวะหลายชนิดที่ทำางาน อย่าง เป็นระบบ ๒. อธิบายความ - ระบบย่อยอาหาร ระบบ
  • 21. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สัมพันธ์ของระบบ ต่างๆ ของ มนุษย์ และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ หมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ ของมนุษย์ในแต่ละระบบมี การทำางานที่สัมพันธ์กัน ทำาให้มนุษย์ดำารงชีวิตอยู่ได้ อย่างปกติ ถ้าระบบใดระบบ หนึ่งทำางานผิดปกติ ย่อมส่ง ผลกระทบต่อระบบอื่นๆ ดัง นั้นจึงต้องมีการดูแลรักษา สุขภาพ ๓. สังเกตและอธิบาย พฤติกรรมของมนุษย์ และสัตว์ที่ตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าภายนอก และภายใน - แสง อุณหภูมิ และการสัมผัส จัดเป็นสิ่งเร้า ภายนอก ส่วนการเปลี่ยนแปลงระดับ สารใน ร่างกาย เช่น ฮอร์โมน จัดเป็นสิ่งเร้า ภายใน ซึ่งทั้ง สิ่งเร้า ภายนอกและสิ่งเร้าภายในมี ผลต่อมนุษย์และสัตว์ ทำาให้ แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา ๔. อธิบายหลักการ และผลของการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และ เพิ่มผลผลิตของสัตว์ และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - เทคโนโลยีชีวภาพเป็นการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อ ทำาให้สิ่ง มีชีวิตหรือองค์ประกอบของ สิ่งมีชีวิต มีสมบัติตาม ต้องการ - การผสมเทียม การถ่ายฝากตัว อ่อน การโคลน เป็นการใช้ เทคโนโลยีชีวภาพในการ ขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และ เพิ่มผลผลิตของสัตว์ ๕. ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสาร อาหารในอาหารมี ปริมาณพลังงานและ สัดส่วนที่เหมาะสมกับ เพศและวัย - แป้ง นำ้าตาล ไขมัน โปรตีน วิตามินซี เป็นสารอาหารและ สามารถทดสอบได้ - การบริโภคอาหาร จำาเป็นต้อง ให้ได้สารอาหาร ที่ครบถ้วน ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ และวัย และได้รับปริมาณ
  • 22. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง พลังงานที่เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย ๖. อภิปรายผลของ สารเสพติดต่อระบบ ต่าง ๆ ของร่างกาย และแนวทางในการ ป้องกันตนเองจาก สารเสพติด - สารเสพติดแต่ละประเภทมี ผลต่อระบบต่างๆ ของ ร่างกาย ทำาให้ระบบเหล่านั้น ทำาหน้าที่ ผิดปกติ ดังนั้นจึง ต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพ ติด และหาแนวทางในการ ป้องกันตนเองจาก สารเสพ ติด ม.๓ - - ม. ๔- ม. ๖ ๑. ทดลองและอธิบาย การรักษาดุลยภาพ ของเซลล์ของสิ่งมี ชีวิต - สารต่าง ๆ เคลื่อนที่ผ่านเข้า และออกจากเซลล์ ตลอด เวลา เซลล์จึงต้องมีการ รักษาดุลยภาพ เพื่อให้ ร่างกายของสิ่งมีชีวิตดำารง ชีวิตได้ตามปกติ - เซลล์มีการลำาเลียงสารผ่านเซลล์ โดยวิธีการแพร่ การออสโมซิส การลำาเลียงแบบฟาซิลิเทต การลำาเลียงแบบใช้พลังงาน และการลำาเลียงสารขนาด ใหญ่ - สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีการ ลำาเลียงสารเกิดขึ้น ภายใน เซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ แต่สิ่ง มีชีวิตหลายเซลล์ต้องอาศัย การทำางานประสานกันของ เซลล์จำานวนมาก ๒. ทดลองและอธิบาย กลไกการรักษา ดุลยภาพของนำ้าใน พืช - พืชมีกลไกในการรักษา ดุลยภาพของนำ้า โดยมี การ ควบคุมสมดุลระหว่างการคาย นำ้าผ่านปากใบ และการดูด นำ้าที่ราก - การเปิดปิดของปากใบ เป็นการควบคุมอัตราการ
  • 23. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง คายนำ้าของพืช ซึ่งช่วยใน การรักษาดุลยภาพของนำ้า ภายในพืชให้มีความชุ่มชื้น ในระดับที่พอเหมาะ ๓. สืบค้นข้อมูลและ อธิบายกลไกการ ควบคุมดุลยภาพของ นำ้า แร่ธาตุ และ อุณหภูมิของมนุษย์ และสัตว์อื่น ๆ และนำา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - ไตเป็นอวัยวะสำาคัญในการ รักษาดุลยภาพของนำ้าและ สารต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งมี โครงสร้างและการทำางาน ร่วมกับอวัยวะอื่น - ภายในไตมีหน่วยไต ของเหลวที่ผ่านเข้าสู่ หน่วยไตส่วนหนึ่งจะถูกดูด ซึมกลับสู่หลอดเลือด ส่วนที่ ไม่ถูกดูดซึมกลับจะผ่านไปยัง ท่อปัสสาวะ - ยูเรีย โซเดียมไอออน และ คลอไรด์ไอออน เป็นของเสีย จากกระบวนการเมแทบอลิ ซึม จะถูกขับออกจากไตไป พร้อมกับปัสสาวะ - อะมีบาและพารามีเซียมเป็น สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มี โครงสร้างภายในเซลล์ที่ เรียกว่า คอนแทร็กไทล์แว คิวโอลในการกำาจัดนำ้าและ ของเสียออกจากเซลล์ - ปลานำ้าจืดมีเซลล์บริเวณ เหงือกที่นำ้าเข้าสู่ร่างกาย ได้ โดยการออสโมซิส ส่วนปลา นำ้าเค็มป้องกันการสูญเสียนำ้า ออกจากร่างกายโดยมี ผิวหนังและเกล็ดที่ป้องกันไม่ ให้แร่ธาตุจากนำ้าทะเลซึมเข้า สู่ร่างกาย และที่บริเวณ เหงือกมีกลุ่มเซลล์ซึ่งขับแร่ ธาตุส่วนเกินออกโดยวิธีการ
  • 24. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ลำาเลียงแบบใช้พลังงาน - มนุษย์มีกลไกในการควบคุม อุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ใน สภาวะที่เหมาะสม โดยศูนย์ ควบคุมอุณหภูมิจะอยู่ที่สมองส่วน ไฮโพทาลามัส - สัตว์เลือดอุ่นสามารถรักษา อุณหภูมิของร่างกาย ให้ เกือบคงที่ได้ในสภาวะ แวดล้อมต่าง ๆ ส่วนสัตว์ เลือดเย็น อุณหภูมิร่างกาย จะแปรผันตามอุณหภูมิของ สิ่งแวดล้อม ๔. อธิบายเกี่ยวกับ ระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกายและนำาความรู้ ไปใช้ในการดูแล รักษาสุขภาพ - ร่างกายมนุษย์ มีภูมิคุ้มกันซึ่ง เป็นกลไก ในการป้องกัน เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม เข้าสู่ร่างกาย - ผิวหนัง เซลล์เม็ดเลือดขาว และระบบนำ้าเหลืองเป็นส่วน สำาคัญของร่างกายที่ทำา หน้าที่ป้องกันและทำาลายเชื้อ โรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้า สู่ร่างกาย - ระบบภูมิคุ้มกันมีความสำาคัญ ยิ่งต่อร่างกายมนุษย์การรับ ประทานอาหารที่ถูก สุขลักษณะ การออกกำาลัง กาย การดูแลสุขอนามัย ตลอดจนการหลีกเลี่ยงสาร เสพติด และพฤติกรรมที่เสี่ยง ทางเพศ และการได้รับวัคซีน ในการป้องกันโรคต่าง ๆ ครบตามกำาหนด จะช่วยเสริม สร้างภูมิคุ้มกันและรักษา ภูมิคุ้มกันของร่างกายได้
  • 25. สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำารงชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสำาคัญของการ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมี ชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี ชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. ระบุลักษณะของ สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่น และนำามาจัดจำาแนก โดยใช้ลักษณะ ภายนอกเป็นเกณฑ์ - สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นจะมีทั้ง ลักษณะที่เหมือนกัน และ แตกต่างกัน ซึ่งสามารถนำา มาจำาแนกโดยใช้ลักษณะ ภายนอกเป็นเกณฑ์ ป. ๒ ๑. อธิบายประโยชน์ ของพืชและสัตว์ใน ท้องถิ่น - พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อ มนุษย์ในแง่ของ ปัจจัยสี่ คือ เป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่อง
  • 26. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง นุ่งห่ม และยารักษาโรค ป. ๓ ๑. อภิปรายลักษณะ ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต ใกล้ตัว - สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมี ลักษณะแตกต่างกัน ๒. เปรียบเทียบและ ระบุลักษณะที่ คล้ายคลึงกันของพ่อ แม่กับลูก - สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีลักษณะ ภายนอกที่ปรากฏคล้ายคลึงกับ พ่อแม่ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๓. อธิบายลักษณะที่ คล้ายคลึงกันของ พ่อแม่กับลูกว่า เป็นการถ่ายทอด ลักษณะทาง พันธุกรรม และนำา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - ลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึง กันของพ่อแม่กับลูกเป็นการ ถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม - มนุษย์นำาความรู้ที่ได้เกี่ยว กับการถ่ายทอด ลักษณะ ทางพันธุกรรมมาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาสาย พันธุ์ของพืชและสัตว์ ๔. สืบค้นข้อมูลและ อภิปรายเกี่ยวกับสิ่ง มีชีวิตบางชนิดที่สูญ พันธุ์ไปแล้ว และที่ ดำารงพันธุ์มาจนถึง ปัจจุบัน (ว ๑.๒.๓) - สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไปได้ก็จะสูญ พันธุ์ไปในที่สุด - สิ่งมีชีวิตที่สามารถปรับตัวเข้า กับสภาพแวดล้อม ที่ เปลี่ยนแปลงไปได้จะสามารถ อยู่รอดและดำารงพันธุ์ต่อไป ป. ๔ - - ป. ๕ ๑. สำารวจ เปรียบ เทียบและระบุ ลักษณะของตนเอง กับคนในครอบครัว - ลักษณะของตนเองจะ คล้ายคลึงกับคนใน ครอบครัว ๒. อธิบายการ ถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมของ - การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมเป็นการถ่ายทอด ลักษณะบางลักษณะจาก
  • 27. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สิ่งมีชีวิตในแต่ละ รุ่น บรรพบุรุษสู่ลูกหลาน ซึ่ง บางลักษณะจะเหมือนพ่อ หรือเหมือนแม่ หรืออาจมี ลักษณะเหมือน ปู่ ย่า ตา ยาย ๓.จำาแนกพืชออกเป็น พืชดอก และพืช ไม่มีดอก - พืชแบ่งออกเป็นสองประเภท คือ พืชดอกกับพืชไม่มีดอก ๔. ระบุลักษณะของพืช ดอกที่เป็นพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว และพืช ใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ ลักษณะภายนอก เป็นเกณฑ์ - พืชดอกแบ่งออกเป็น พืชใบ เลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู่ โดยสังเกตจาก ราก ลำาต้น และใบ ๕. จำาแนกสัตว์ออก เป็นกลุ่มโดยใช้ ลักษณะภายในบาง ลักษณะและ ลักษณะภายนอก เป็นเกณฑ์ - การจำาแนกสัตว์เป็นกลุ่ม โดยใช้ลักษณะภายนอกและ ลักษณะภายในบางลักษณะ เป็นเกณฑ์แบ่งออกได้เป็น สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง - สัตว์มีกระดูกสันหลังแบ่ง เป็นกลุ่มปลา สัตว์ครึ่งนำ้า ครึ่งบก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วย นำ้านม ป. ๖ - - ม. ๑ - - ม. ๒ - - ม. ๓ ๑. สังเกตและอธิบาย ลักษณะของ โครโมโซมที่มี หน่วยพันธุกรรม หรือยีนใน นิวเคลียส - เมื่อมองเซลล์ผ่าน กล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้น ใยเล็กๆ พันกันอยู่ใน นิวเคลียส เมื่อเกิดการแบ่ง เซลล์ เส้นใยเหล่านี้จะขดสั้น เข้าจนมีลักษณะเป็นท่อนสั้น
  • 28. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เรียกว่า โครโมโซม - โครโมโซมประกอบด้วย ดีเอ็นเอและโปรตีน - ยีนหรือหน่วยพันธุกรรม เป็นส่วนหนึ่งที่อยู่บนดีเอ็นเอ ๒. อธิบายความ สำาคัญของสาร พันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอ และ กระบวนการ ถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม - เซลล์หรือสิ่งมีชีวิต มีสาร พันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอที่ ควบคุมลักษณะของการ แสดงออก - ลักษณะทางพันธุกรรมที่ ควบคุมด้วยยีนจากพ่อและ แม่สามารถถ่ายทอดสู่ลูก ผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์และ การปฏิสนธิ ๓. อภิปรายโรคทาง พันธุกรรมที่เกิดจาก ความผิดปกติของ ยีนและโครโมโซม และนำาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เป็นโรคทางพันธุกรรม ที่เกิด จากความผิดปกติของยีน - กลุ่มอาการดาวน์เป็นความ ผิดปกติของร่างกาย ซึ่งเกิด จากการที่มีจำานวน โครโมโซมเกินมา - ความรู้เกี่ยวกับโรคทาง พันธุกรรมสามารถนำาไปใช้ ในการป้องกันโรค ดูแลผู้ ป่วยและวางแผนครอบครัว ๔. สำารวจและ อธิบายความหลาก หลายทางชีวภาพ ในท้องถิ่นที่ทำาให้ สิ่งมีชีวิตดำารงชีวิต อยู่ได้อย่างสมดุล - ความหลากหลายทางชีวภาพ ที่ทำาให้สิ่งมีชีวิตอยู่อย่าง สมดุล ขึ้นอยู่กับความหลาก หลายของระบบนิเวศ ความ หลากหลายของชนิดสิ่งมี ชีวิต และความหลากหลาย ทางพันธุกรรม ๕. อธิบายผลของ ความหลากหลาย ทางชีวภาพที่มีต่อ มนุษย์ สัตว์ พืช - การตัดไม้ทำาลายป่าเป็น สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้เกิดการ สูญเสียความหลากหลายทาง ชีวภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
  • 29. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และสิ่งแวดล้อม การดำารงชีวิตของมนุษย์ สัตว์ พืชและสิ่งแวดล้อม - การใช้สารเคมีในการกำาจัด ศัตรูพืชและสัตว์ ส่งผลกระ ทบต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์และ พืช ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม ๖. อภิปรายผลของ เทคโนโลยีชีวภาพต่อ การดำารงชีวิตของ มนุษย์และสิ่ง แวดล้อม - ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มี ประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งด้าน การแพทย์ การเกษตรและ อุตสาหกรรม ม. ๔- ม. ๖ ๑. อธิบาย กระบวนการ ถ่ายทอดสาร พันธุกรรม การ แปรผันทาง พันธุกรรม มิวเทชัน และการเกิดความ หลากหลายทาง ชีวภาพ - สิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม จาก พ่อแม่มาสู่รุ่นลูกหลานได้ ซึ่งสังเกตได้จากลักษณะที่ ปรากฏ - ดีเอ็นเอเป็นนิวคลีโอไทด์สาย ยาวสองสายพันกันเป็นเกลียว คู่วนขวา แต่ละสายประกอบ ด้วย นิวคลีโอไทด์นับล้าน หน่วย ซึ่งมีโครงสร้างประกอบ ด้วยนำ้าตาลเพนโทส ไนโตรเจนเบส สี่ชนิดและหมู่ ฟอสเฟต โดยที่ลำาดับเบสของ นิวคลีโอไทด์จะมีข้อมูลทาง พันธุกรรมบันทึกอยู่
  • 30. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - มิวเทชันเป็นการ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ในระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเป็นผลมาจากการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ ดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิด ในเซลล์สืบพันธุ์สามารถ ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกและหลาน ได้ - การแปรผันทางพันธุกรรม ทำาให้สิ่งมีชีวิตที่เกิดใหม่มี ลักษณะที่แตกต่างกันหลาก หลายชนิดก่อให้เกิดเป็น ความหลากหลายทางชีวภาพ ๒. สืบค้นข้อมูลและ อภิปรายผลของ เทคโนโลยี ชีวภาพที่มีต่อ มนุษย์และสิ่ง แวดล้อมและนำา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ - มนุษย์นำาความรู้ทาง เทคโนโลยีชีวภาพด้านพันธุ วิศวกรรม การโคลนและ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ มาใช้ ในการพัฒนาให้เกิดความ ก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ มาก ขึ้นและแพร่หลาย - การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่สร้าง สิ่งมีชีวิตใหม่ เกิดขึ้น หรือสิ่ง มีชีวิตที่มีการดัดแปรพันธุกรรม ส่งผลกระทบทั้งทางด้านที่ เป็นประโยชน์และโทษต่อสิ่ง แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม ๓. สืบค้นข้อมูลและ อภิปรายผลของ ความหลากหลาย ทางชีวภาพที่มีต่อ มนุษย์และสิ่ง แวดล้อม - โลกมีความหลากหลายของ ระบบนิเวศซึ่งมี สิ่งมีชีวิต อาศัยอยู่มากมายหลายสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันก็ยังมี ความหลากหลายทาง พันธุกรรม - ความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลทำาให้มนุษย์ และสิ่งมี ชีวิตอื่น ๆ ได้ใช้ประโยชน์
  • 31. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ในแง่ของการเป็นอาหาร ที่ อยู่อาศัย แหล่งสืบพันธุ์และ ขยายพันธุ์ ทำาให้สิ่งมีชีวิต สามารถดำารงพันธุ์อยู่ได้ - สิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลาย ทางชีวภาพ มีความต้องการ ปัจจัยต่าง ๆ ในการดำารง ชีวิตแตกต่างกันซึ่งจะช่วย รักษาสมดุลของระบบนิเวศ บนโลกได้ ๔. อธิบาย กระบวนการคัด เลือกตามธรรมชาติ และ ผลของการ คัดเลือกตาม ธรรมชาติต่อความ หลากหลายของสิ่งมี ชีวิต - สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมี ความหลากหลายที่แตกต่าง กัน สิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ เดียวกันจะผสมพันธุ์และสืบ ลูกหลานต่อไปได้ - การคัดเลือกตามธรรมชาติจะ ส่งผลทำาให้ลักษณะ พันธุกรรมของประชากรใน กลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มแตกต่าง กันไปจนกลายเป็น สปีชีส์ ใหม่ทำาให้เกิดเป็นความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต
  • 32. สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกน กลาง ป. ๑ - - ป. ๒ - - ป. ๓ ๑. สำารวจสิ่ง แวดล้อมในท้องถิ่น ของตนและอธิบาย ความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตกับสิ่ง แวดล้อม - สิ่งแวดล้อมหมายถึง สิ่งที่อยู่ รอบๆ ตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมี ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ทั้งกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันและ กับสิ่งไม่มีชีวิต ป. ๔ - - ป. ๕ - - ป. ๖ ๑. สำารวจและ อภิปรายความ สัมพันธ์ของกลุ่ม สิ่งมีชีวิตในแหล่งที่ อยู่ต่าง ๆ - กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ต่าง ๆ มีความ สัมพันธ์กัน และมีความสัมพันธ์กับแหล่งที่ อยู่ในลักษณะของแหล่ง อาหาร แหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งสืบพันธุ์ และแหล่ง เลี้ยงดูลูกอ่อน ๒. อธิบายความ สัมพันธ์ของสิ่งมี ชีวิตกับสิ่งมีชีวิตใน รูปของโซ่อาหาร และสายใยอาหาร - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิตในรูป ของโซ่ อาหาร และสายใยอาหาร ทำาให้เกิดการถ่ายทอด พลังงานจากผู้ผลิตสู่ผู้ บริโภค