SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 88
Baixar para ler offline
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์
เพื่อการเรียนรู้ทางไกล เฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ผู ้อานวยการฝ่ ายบริการความรู ้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
boonlerta@gmail.com
www.thailibrary.in.th
Facebook.com/boonlert.aroonpiboon
1
Roadmap การจัดการเรียนการสอนด ้วยไอซีทีของประเทศไทย
การศึกษา
ทางไกล
การศึกษา
ทางไกล
ผ่านดาวเทียม
eLearning
WBI
CAI
eDLTV
http://edltv.thai.net/
MOOC
OER
CreativeCommons
2
3
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/44580
ก่อนก ้าวมาสู่
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ฯ
4
โครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
• 2538 : ดาเนินการโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย
 2538 – 2540 ยุคบุกเบิกเทคโนโลยีสารสนเทศสู่โรงเรียน
 2541 – 2543 SchoolNet@1509 มิติใหม่ให ้ 1500 โรงเรียนเชื่อมต่อ
อินเทอร์เน็ตครั้งละ 3 บาท
 2544 – 2545 ขยาย 5000 โรง ครอบคลุมกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา
มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา
 2545 จากเนคเทค สู่กระทรวงเสมา
5
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
• วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามพระราชดาริ
• ไอทีเพื่อการศึกษา
• ไอทีเพื่อคนพิการ
• ไอทีเพื่อเด็กป่ วยในโรงพยาบาล
• ไอทีเพื่อเยาวชนในสถานพินิจ
• ไอทีเพื่อพัฒนาผู้ต ้องขัง
6
LearnSqaure
• 2546 : วิจัยพัฒนา Thailand Open Source eLearning System ร่วมกับ
นักวิจัยจากการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
7
8
9
10
11
12
ทิศทางสื่อเรียนรู้ระดับโลก
13
www.khanacademy.org
14
www.coursera.org
15
www.udemy.com
16
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ฯ
เริ่มจาก MOOC
17
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์
เพื่อการเรียนรู้ทางไกล เฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
18
19
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/44582
หน่วยงานตั้งต ้นโครงการ
• กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
• โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
• สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
• กระทรวงศึกษาธิการ
• สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
• สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
• โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)
• โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
• สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี สานักนายกรัฐมนตรี
หัวใจสาคัญ MOOC
“การเรียนรู้-การศึกษาตลอดชีวิต”
21
Lifelong Learning
การเรียนรู้ตลอดชีวิต
• กระบวนการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาที่
เกิดขึ้นในตัวบุคคล อันเป็นผลมาจากการ
ได ้รับความรู ้ทักษะ หรือประสบการณ์จาก
การศึกษา หรือจากกิจกรรมในวิถีชีวิตที่
สามารถเกิดขึ้นได ้ตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจน
ตาย
การศึกษาตลอดชีวิต
• การศึกษาที่จัดให ้กับประชาชน ทั้ง
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย หรือ
การศึกษาที่ผสมผสานการศึกษาทั้งสาม
รูปแบบที่เหมาะสมกับบุคคล อายุ พื้นฐาน
การศึกษา อาชีพ ความสนใจ และ
สภาพแวดล ้อมของผู ้เรียนเพื่อให ้ผู ้เรียน
สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได ้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต
• การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให ้
สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได ้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต
22
ระบบการศึกษา
• การศึกษาในระบบ
การศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
• การศึกษานอกระบบ
การศึกษาที่มีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ที่ชัดเจน มี
รูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรมที่ยืดหยุ่นและ
หลากหลายตามสภาพความต ้องการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย
นั้น และมีวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานเพื่อรับคุณวุฒิทาง
การศึกษา หรือเพื่อจัดระดับผลการเรียนรู้
• การศึกษาตามอัธยาศัย
การเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจาวันของบุคคลที่เกิดขึ้นโดยไม่มีหลักสูตรหรือวิธีการเรียนรู้
ที่แน่นอน และบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได ้อย่างอิสระ ตามความสนใจ เวลา
ความต ้องการ โอกาส ความพร ้อม และศักยภาพในการเรียนรู้ของตนเอง
23
แผน DE ของประเทศไทยผสาน
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ฯ
24
การพัฒนาเศรษฐกิจสังคม
ดิจิทัลนาไปสู่...
วิธีการคิดใหม่ - กระบวนการเรียนรู้ใหม่ –
กระบวนการทางานใหม่ - โมเดลธุรกิจใหม่ -
วิถีชีวิตใหม่
ประเทศไทย 1.0
สังคมเกษตรกรรม
ประเทศไทย 2.0
สังคมอุตสาหกรรมเบา
ประเทศไทย 3.0
สังคมอุตสาหกรรมหนัก
ประเทศไทย
4.0
25
ดิจิทัลไทยแลนด์ (Digital Thailand)
หมายถึง ประเทศไทยสามารถสร้างสรรค์ และ
ใช ้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพใน
การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน นวัตกรรม ข ้อมูล ทุนมนุษย์
และทรัพยากรอื่นใด เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ ไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ปฏิรูปประเทศไทยสู่
ดิจิทัลไทยแลนด์
วิสัยทัศน์
26
ยุทธศาสตร์
๑.พัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานดิจิทัล
ประสิทธิภาพสูง ให ้
ครอบคลุมทั่วประเทศ
เข้าถึง พร้อมใช้ จ่ายได้
๒. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ด ้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
ขับเคลื่อน New S-Curve
เพิ่มศักยภาพ สร้างธุรกิจ
เพิ่มมูลค่า
๓. สร้างสังคมคุณภาพ
ด ้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
สร้างการมีส่วนร่วม
การใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง
และเท่าเทียม
๕. พัฒนา
กาลังคนให ้พร ้อม
เข ้าสู่ยุคเศรษฐกิจ
และสังคมดิจิทัล
สร้างคน สร้างงาน
สร้างความเข้มแข็งจาก
ภายใน
๔. ปรับเปลี่ยน
ภาครัฐสู่การเป็ นรัฐบาล
ดิจิทัล
โปร่งใส อานวยความสะดวก
รวดเร็ว เชื่อมโยงเป็ นหนึ่งเดียว
๖. สร้างความเชื่อมั่นในการใช ้
เทคโนโลยีดิจิทัล
กฎระเบียบทันสมัย
เชื่อมั่นในการลงทุน
มีความมั่นคงปลอดภัย
แนวทางประชารัฐขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ขยายโครงข่ายโทรคมนาคมที่ทันสมัย
ก้าวทันเวทีโลก
ด้วยดิจิทัล
สร้างโอกาส
สร้างความเท่าเทียม
ยกระดับประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลสู่รัฐบาล
ดิจิทัล
สร้างคนไทย 4.0 +
ดิจิทัล
สร้างระบบนิเวศดิจิทัล
ยั่งยืน เป็ นที่ยอมรับใน
ระดับสากล
27
• ประชาชนทุกกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ห่างไกล ผู้สูงอายุ และคนพิการ
สามารถเข ้าถึงและใช ้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล
• ประชาชนทุกคนมีทักษะการใช ้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์
• ประชาชนสามารถเข ้าถึง การศึกษา สาธารณสุข และบริการสาธารณะ ผ่านระบบ
ดิจิทัล
๓.๑ สร้างโอกาสและความเท่าเทียมทางดิจิทัล
๓.๒ พัฒนาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบ
๓.๓ สร้างสื่อ คลังสื่อและแหล่งเรียนรู้ดิจิทัล
๓.๔ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
๓.๕ เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพด้วยดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ ๓.
สร้างสังคมคุณภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
สร้างการมีส่วนร่วม การใช ้ประโยชน์อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
แผนงาน
เป้ าหมาย
นโยบายต่างประเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
ความท ้าทาย วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนภูมิทัศน์
28
สังคม
ระเบียนสุขภาพส่วนบุคคล
ศูนย์ดิจิทัลชุมชน
การเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่าน
ระบบ MOOC
ส่งเสริมการใช้ดิจิทัลอย่าง
สร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อสังคม
Digital Literacy
29
โครงการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่าน MOOC
ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิด
สาหรับมหาชนคลังความรู้ดิจิทัล
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ระบบสื่อออนไลน์เพื่อการเรียนรู้
ทางไกล เฉลิมพระเกียรติฯ
ระบบพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (DLIT)
พัฒนาอาชีพผ่าน IPTV และ
Smart Classroom
พัฒนาคลังข้อมูลดิจิทัล
พัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา
30 วิชา
ส่งเสริมวิชาชีพ
อาชีวะ 12 สาขาตามมาตรฐาน
อาเซียน
Lifelong Learning Space
- สืบค ้นสื่อการเรียนรู้ข ้ามระบบได ้
- เก็บข ้อมูลผู้เรียนและครูแบบ
single sign-on เพื่อติดตามการ
เรียนตลอดช่วงชีวิต
- สามารถเทียบโอนหน่วยกิตข ้ามสถาบัน
(สกอ.)
(สกอ.)
(สพฐ.)
30
เริ่มพัฒนา MOOC
31
https://open.edx.org/
http://mooc.learn.in.th
ตกม ้าตาย เพราะ “ลิขสิทธิ์”
34
ความเสี่ยงจาก “ระบบเปิด”
โปรแกรมที่ใช ้สร ้างสื่อ ... อาจจะละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
ภาพ, ฟอนต์, สื่อประกอบที่ใช ้สร ้างสื่อ ... อาจจะละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
เนื้อหา... อาจจะละเมิด
ทรัพย์สินทางปัญญา
35
ประโยคฮิตที่เกี่ยวข ้อง
ไม่มีปัญหาหรอก เพราะ
“ใช ้ในราชการ/การเรียนการสอน”
หรือ “ใช ้โดยบรรณารักษ์”
การได ้รับการยกเว ้น
36
พิจารณาลงโทษปลดข ้าราชการครู ออกจากราชการ
กรณีคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
• นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุม
คณะกรรมการข ้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๘
มกราคม ๒๕๕๖ ณ ห ้องประชุมราชวัลลภ
• รมว.ศธ.กล่าวว่า ที่ประชุมได ้พิจารณากรณีที่มีข ้าราชการครูรายหนึ่งไปคัดลอกหรือลอกเลียนผลงาน
ทางวิชาการของผู ้อื่นมากถึง ๔๒ หน้า เพื่อนาไปใช ้ในการเสนอขอปรับปรุงการเลื่อน
วิทยฐานะให ้สูงขึ้น ซึ่ง อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเกี่ยวกับวินัยและการออกจากราชการ เห็นชอบด ้วยกับมติ
อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเฉพาะกิจพิจารณากลั่นกรองเกี่ยวกับการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการ
ว่าผลงานทางวิชาการของข ้าราชการครูรายนั้นเป็นการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการ
ของผู ้อื่นตามมาตรา ๙๑ วรรคหนึ่ง แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข ้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ.๒๕๔๗ ซึ่งถือเป็นวินัยร ้ายแรง โดยบทลงโทษกาหนดไว ้เพียง ๒ ประการคือ ปลดออก และไล่
ออก
• ที่ประชุม ก.ค.ศ.จึงมีมติปลดออกจากราชการ
• จึงขอให้ครูที่จัดทาผลงานทางวิชาการต่างๆ ได้รับทราบว่า การลอกเลียนผลงานทาง
วิชาการของผู้อื่นมา บทลงโทษที่กาหนดไว้รุนแรง จะได้ระมัดระวังและรอบคอบ ไม่นา
ผลงานทางวิชาการของผู้อื่นมาลอกเลียน
http://www.moe.go.th/websm/2013/jan/042.html37
http://www.thairath.co.th/content/515758
38
http://www.opensource2day.com/component/content/article/
3-2011-04-07-09-19-08/936-police-2012.html
39
มาตรการในการป้องกันและตรวจสอบการ
ลักลอกผลงานวิชาการ
• มาตรการสร ้างจิตสานึก
• มาตรการป้องปราม
• มาตรการติดตามและตรวจสอบ
40
ระบบตรวจสอบความเป็นต ้นฉบับของเอกสาร
ภาษาไทยแบบอัตโนมัติ (Anti-KobPae)
http://vivaldi.cpe.ku.ac.th/~noom/new_kobpae/select_wp_input.php
41
ระบบตรวจสอบลิขสิทธิ์ผลงานวิชาการและ
วิทยานิพนธ์ (CopyCat)
http://www.copy-cat.in.th
42
เนื้อหา
ภาพ
โปรแกรม
แบบอักษร
43
ข ้อยกเว ้นการละเมิดลิขสิทธิ์
ตาม พรบ. ลิขสิทธิ์ 2537
• การวิจัยหรือศึกษางาน อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร
• การทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให ้ปรากฏโดยผู้สอน เพื่อประโยชน์
ในการสอนของตน อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร
• การทาซ้า ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอน หรือทาบทสรุปโดยผู้สอน
หรือสถาบันศึกษา เพื่อแจกจ่ายหรือจาหน่ายแก่ผู้เรียนในชั้นเรียนหรือใน
สถาบันศึกษา โดยไม่ใช่การกระทาเพื่อหากาไร
• การนางานลิขสิทธิ์มาใช ้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
• การกล่าว คัด ลอก เลียน หรืออ ้างอิงงานบางตอนจากงานลิขสิทธิ์
โดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ ้าของลิขสิทธิ์หรือกล่าวถึงที่มาของงานลิขสิทธิ์
ไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จาก
งานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ ้าของ
ลิขสิทธิ์
ไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบ
ด ้วยกฎหมายของเจ ้าของลิขสิทธิ์
เกินสมควร
44
https://www.ipthailand.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1624:2014-04-24-07-58-18&catid=8&Itemid=332
คู่มือการใช ้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม
• ตัวอย่างรูปและภาพถ่าย
• ใช ้ได ้อย่างน้อย 1 ภาพแต่ไม่เกิน 5 ภาพต่อ
ผู้สร ้างสรรค์ 1 ราย
• หรือร ้อยละ 10 ของจานวนภาพของผู้สร ้างสรรค์ (แล ้วแต่
จานวนใดน้อยกว่ากัน)
• ผู้สอนและผู้เรียนดาวน์โหลดภาพจากอินเทอร์เน็ตเพื่อใช ้
ในการศึกษาได ้ในปริมาณเท่ากับข ้อต ้น
• แต่จะอัพโหลดงานนั้นกลับขึ้นบนอินเทอร์เน็ตไม่ได ้ หาก
ไม่ได ้รับอนุญาตจากเจ ้าของลิขสิทธิ์
46
แล ้วนานาชาติผ่านวิกฤต
“ลิขสิทธิ์” มาได ้อย่างไร
47
เส ้นทางของ MOOC
Creative
Commons
Licenses
Open
Courseware
OER :
Open
Educational
Resources
48
รู้จักกับสัญญาอนุญาต
สงวนลิขสิทธิ์
Copyright (c)
CreativeCommons
(cc)
สมบัติสาธารณะ
Public Domain (pd)
OpenAccess
(OA)
49
สงวนลิขสิทธิ์
Copyright
©
50
51
Creative Commons - Level
52
53
Plosone.org
OA
Open Access
Plosone.org
PPT Slide
55
http://openclipart.org/
100% Public Domain License
Online Image Editor
http://oercommons.org/
oeru.org
60
https://www.openeducationeuropa.eu/
http://search.creativecommons.org/
ปรับกลยุทธ์
63
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ฯ
คลังทรัพยากร
การศึกษา
แบบเปิด
คลังบทเรียน
ออนไลน์
แบบเปิด
สร ้างสรรค์
นาเข ้าสื่อเรียนรู้
บนฐาน
CreativeCommons
จัดทา
บทเรียนออนไลน์
อาสาสมัคร
องค์กร
สถาบันการศึกษา
อาสาสมัคร
องค์กร
สถาบันการศึกษา
ขยายโอกาสทางการศึกษา
• แก ้ปัญหาขาดแคลนครู
• แก ้ปัญหาความรู้ที่เหลื่อมล้า
• แก ้ไขปัญหาการจัดสรรงบประมาณ
• สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สร้างธรรมาภิบาล
• ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการ
• ความโปร่งใสของการพัฒนาสื่อเรียนรู้
ต่อยอดระบบต่างๆ
• การพัฒนากาลังคน
• การประเมินทางวิชาการ
• ระบบการเรียนแบบเทียบโอน
64
สื่อมีเยอะมากในอินเทอร์เน็ต
เหตุใดต ้องพัฒนา OER
• สื่อดังกล่าวไม่มีความชัดเจนใน “ลิขสิทธิ์” และ
“เงื่อนไขการให ้ใช ้สิทธิ์”
• ผู้สร ้างสรรค์ไม่ประกาศ
• ผู้ใช ้งาน “เข ้าใจเอง” ว่า “ผู้สร ้างสรรค์อนุญาต”
• ผู้ใช ้งานนาไปใช ้งาน “เกินกว่าความยินยอมของผู้สร ้างสรรค์”
• ผู้พัฒนา ขาดเครื่องมือ/กลไกช่วยเหลือในการ
ลงทะเบียนสื่อ
• ประเทศไทย ควรมีคลังสื่อเก็บไว ้ในราชอาญาจักร
แทนที่จะไปเก็บไว ้ในระบบของต่างประเทศ
ความเชื่อของผู้ใช ้
รูปที่โพสต์ในเฟซบุ๊ค เป็นพื้นที่สาธารณะ
ใครจะเอาไปใช ้อะไรก็ได ้
ดาวน์โหลดใช ้ได ้ฟรี ... ความเชื่อ
ความจริง
สื่อมีเงื่อนไข
ในการนาไปใช ้...
จุดที่ถูกละเลยจาก
คาว่า “ฟรี”
บทเรียนออนไลน์แบบเปิด
• บทเรียนย่อย
• บทเรียนกลุ่ม
• บทเรียนบนฐาน Curriculum
• สื่อวีดิทัศน์
• สื่อเอนิเมชันเชิงโต ้ตอบ
• สื่อผสม
ถูกสร ้างด ้วยแนวคิด “สัญญาอนุญาตแบบเปิด”
เผยแพร่ด ้วยแนวคิด “สัญญาอนุญาตแบบเปิด”
คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด
OER
Digital Library
บริการ eBook
ฉบับเต็ม
Digital
Collection
สื่อเคลื่อนไหว
เสียง วีดิทัศน์
มากมาย
Digital Archive
ย ้อนอดีตวันวาน
Digital
Learning
สื่อเรียนรู้พร ้อม
ใช ้
Digital Gallery
รวมภาพ Clipart
มากมาย
สืบค ้นง่าย ใช ้งานได ้ปลอดภัย
เสริมสร ้างคุณธรรม จริยธรรมทางการศึกษา
ทุกสื่อเจ้าของ ผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้ใช้ได้
ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์
70
https://oer.learn.in.th/search_detail/result/44581
ระบบหลักสูตรออนไลน์
MOOC
นักเรียน
นักศึกษา
ครู
อาจารย์
บุคลากร
ทั่วไป
ผู้ด ้อย
โอกาส
เกษตรกร
เลือกเรียน เพิ่มทักษะ ด ้วยหลักสูตรออนไลน์หลากหลาย
จากหน่วยงานเครือข่าย
ทุกหลักสูตรเจ้าของ ผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้ใช้ได้
ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์
โครงการ Learn เฉลิมพระเกียรติฯ
72
L
E
A
R
N
Lifelong Learning
Educational Resources
Archives
Repositories
National Collection
บทเรียนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
73
หลากหลายสื่อเพื่อการเรียนการสอน
74
คลังจดหมายเหตุดิจิทัล
75
พิพิธภัณฑ์ออนไลน์
76
คลังเอกสารสาคัญของชาติ
77
78
กรมการข ้าว
กรมชลประทาน
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม
กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
กรมทรัพยากรธรณี
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มศิลปินรักพ่อหลวง
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ทีมพัฒนาฟอนต์ภาษาไทย Typomancer
ทีมพัฒนาฟอนต์ภาษาไทย Fontcraft
พิพิธภัณฑ์ TOT
พิพิธภัณฑ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
พิพิธภัณฑ์บ ้านเทพ จังหวัดแพร่
พิพิธภัณฑ์ปานถนอม (ไทยทรงดา)
พิพิธภัณฑ์รถไฟ
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
วิทยาลัยชุมชนน่าน
ศูนย์ ICT ภูเก็ต
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง)
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดกาแพงเพชร
ศูนย์บรรณสารเเละสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ศูนย์บริการโรคไต รพ.ศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศูนย์วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยางไทย
ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบ และแรงงานข ้ามชาติ
สถาบันกันตนา
สถาบันภาษาไทยสิรินธร
สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
สานักงาน ก.พ.
สานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
สานักงานคณะกรรมการข ้อมูลข่าวสารของราชการ
สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
สานักงานศาลปกครอง
สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สานักงานอุทยานการเรียนรู้
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กทม.
สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
สานักส่งเสริมการผลิตข ้าว
สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพา
สมาคมทรัพยากรธรณีแห่งประเทศไทย
ห ้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ห ้องสมุดดรุณบรรณาลัย
ห ้องสมุดต ้นฉบับ
หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
โครงการแก ้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม ้ตับและมะเร็งท่อน้าดี
โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาการเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
โครงการบ ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
โครงการบูรณาการข ้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช ้ประโยชน์ที่ดินด ้านการเกษตร
โครงการฝากรักจากแพร่
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
และรายบุคคลอีกกว่า 300 ท่าน
สื่อน่าสนใจจากบุคคลต่างๆ
79
Media for All
80
81
FAQ: มีสื่อในอินเทอร์เน็ต และแหล่งต่างๆ เยอะมาก เหตุใด
ต ้องพัฒนาคลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด หรือ OER
• พฤติกรรมของผู ้ใช ้ทั้งนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ นักวิชาการ และบุคคลทั่วไป ส่วนมากจะค ้นหา
สื่อที่ตนเองต ้องการใช ้งานจากอินเทอร์เน็ต หรือแหล่งต่างๆ โดย ไม่ใส่ใจประเด็นลิขสิทธิ์ มักจะ
เข ้าใจเองว่า ผู ้สร ้างสรรค์อนุญาต หรือเข ้าใจว่า “ใช ้เพียงเล็กน้อย” / “ใช ้เพื่อการเรียนการสอน” /
“ใช ้โดยไม่ได ้หากาไร” ไม่น่าจะเป็นอะไร
• ผู ้สร ้างสรรค์ ขาดเคลื่องมือหรือกลไกที่ช่วยเหลือในการลงทะเบียนสื่อ การประกาศเงื่อนไขทาง
ลิขสิทธิ์ที่เหมาะสม
• โครงการฯ จึงได ้เริ่มต ้นพัฒนา “คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด” หรือ OER เพื่อให ้ผู ้สร ้างสรรค์
(ทั้งบุคคล/หน่วยงาน) ที่ต ้องการเผยแพร่ผลงานของตนเอง และอนุญาตให ้ผู ้ใช ้ใช ้งานได ้ตาม
เงื่อนไขที่ตนเองกาหนด มีแหล่งลงทะเบียนเผยแพร่สื่อ
• โครงการฯ ยังทาหน้าที่รณรงค์ส่งเสริมความรู ้ความเข ้าใจที่ถูกต ้องให ้ผู ้ใช ้ทุกภาคส่วน จึงลดภาระ
การสื่อสารของผู ้สร ้างสรรค์
• สาคัญที่สุด “ทรัพย์สินมีค่าอันเกิดจากสร ้างสรรค์ของผู ้สร ้างสรรค์” ได ้รับการบริหารจัดการ ได ้รับ
การจัดเก็บไว ้ในระบบที่รัฐบาลเป็นผู ้พัฒนา และดูแล อันจะเป็น “สมบัติสาคัญของชาติ” ต่อไป
(แทนที่จะถูกเก็บไว ้ในเครื่องแม่ข่ายของผู ้ให ้บริการต่างประเทศ)
82
FAQ: ภาพ ข ้อความ ที่นามาออกแบบสร ้างสรรค์สื่อ
ได ้อ ้างอิงทุกครั้ง ไม่น่าจะมีปัญหา
• การอ ้างอิงเป็นหลักปฏิบัติทั้งด ้วยมารยาทของการสร ้างสรรค์ผลงานวิชาการ และการให ้เกียรติผู ้
สร ้างสรรค์ เจ ้าของผลงาน แต่การอ ้างอิงไม่ได ้บอกว่า “ไม่มีปัญหา” เพราะประเด็นฟ้องร ้องเกี่ยวกับ
ลิขสิทธิ์ เป็นสิทธิโดยชอบธรรมของผู ้สร ้างสรรค์ และใน พรบ. ลิขสิทธิ์ ก็ระบุไว ้ชัดเจนในมาตรา 33
ว่า “การกล่าว คัด ลอก เลียน หรืออ ้างอิงงานบางตอนตามสมควรจากงานอันมีลิขสิทธิ์ตาม
พระราชบัญญัตินี้ โดยมีการรับรู ้ถึงความเป็นเจ ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น มิให ้ถือว่าเป็นการละเมิด
ลิขสิทธิ์ ถ ้าได ้ปฏิบัติตามมาตรา 32 วรรคหนึ่ง” โดยสาระสาคัญของมาตรา 32 วรรคหนึ่งคือ “การ
กระทาแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์
จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด ้วย
กฎหมายของเจ ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให ้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์”
• ดังนั้นหากอ ้างอิง และไม่เป็นไปตามมาตรา 32 วรรคหนึ่ง ก็ย่อมมีความเสี่ยง
• โดยมาตรา 32 วรรคหนึ่ง กรมทรัพย์สินทางปัญญาได ้จัดทาเป็นคาแนะนาไว ้ในหนังสือ “คู่มือ
ลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม” เช่น ผู ้สอน ผู ้เรียน นาภาพจากอินเทอร์เน็ตมาได ้ในจานวนที่ไม่เกินที่กาหนด
แต่จะนาภาพนั้นเผยแพร่กลับในอินเทอร์เน็ตไม่ได ้หากเจ ้าของไม่อนุญาต เป็นต ้น
83
FAQ: กลุ่มเป้าหมาย และรูปแบบสื่อของโครงการ คือ
• โครงการฯ รองรับทุกคนทุกอาชีพในประเทศไทย และเห็นว่าทุกอย่างเป็น
“ความรู้”
• ผู้สร ้างสรรค์อาจจะเผยแพร่สื่อในรูปแบบภาพถ่ายจากชีวิตประจาวัน เช่น
ภาพอาหารที่ทานในแต่ละมื้อ ภาพสิ่งของในบ ้าน สื่อวีดิทัศน์ที่ผลิตโดย
หน่วยงาน หรือเอกสารแผนการสอนของครูอาจารย์
84
FAQ: สื่อที่จัดเก็บในคลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด
เป็นกรรมสิทธิ์ของใคร
• สื่อทุกอย่าง ผู้สร ้างสรรค์ยังเป็นเจ ้าของ สามารถนาเข ้า เอาออก
ปรับเปลี่ยนสัญญาอนุญาต หรือเงื่อนไขการใช ้งานสื่อได ้ตามต ้องการ
• โครงการฯ ทาหน้าที่เพียงบริหารจัดการระบบ และช่วยประชาสัมพันธ์สื่อ
ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมการใช ้สื่อ
85
FAQ: เหตุใดจึงต ้องสื่อสารความรู้ ความเข ้าใจในประเด็น
ลิขสิทธิ์กันก่อนที่จะร่วมโครงการได ้
• จากการดาเนินการมาระยะหนึ่ง โครงการฯ พบว่าส่วนมากมีความเข ้าใจเกี่ยวกับ
“ลิขสิทธิ์” โดยเฉพาะประเด็นลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมคลาดเคลื่อน หลายๆ ท่านไม่
เคยอ่านหรือศึกษากฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข ้อง แต่ใช ้วิธีบอกต่อกันมาผ่าน
กระบวนการต่างๆ โดยเฉพาะประเด็น “สิทธิที่เป็นธรรม”
• อีกทั้งการสร ้างสรรค์สื่อมีมิติที่เกี่ยวข ้องนอกเหนือจากการใช ้ข ้อความ ภาพ
เพราะปัจจุบันยังกระทบถึงลิขสิทธิ์ฟอนต์ สื่อมัลติมีเดีย รวมถึงโปรแกรมที่
นามาสร ้าง ซึ่งส่งผลให ้ “สื่อ” ดังกล่าวมีความเสี่ยงต่อไปด ้วย จึงต ้องสื่อสารทา
ความเข ้าใจก่อนร่วมโครงการ และหรือดาเนินการกิจกรรมใดๆ กับโครงการ
• โครงการไม่รับผู ้ร่วมโครงการแบบเสรี ทั้งนี้ทุกหน่วยงาน ทุกท่านจะต ้องผ่าน
การพูดคุยสื่อสารจากทีมงานโดยเฉพาะประเด็นลิขสิทธื์ก่อน ติดต่อสอบถาม
หรือสนใจร่วมโครงการติดต่อที่ stks@nstda.or.th หรือกลุ่ม FB
https://www.facebook.com/groups/oer.mooc/
86
การศึกษาตลอดชีวิต การเรียนรู้ตลอดชีวิต ในยุค “เปิด”
87
แหล่งข ้อมูล
• พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
• พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก ้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
• ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาตลอดชีวิต พ.ศ. ….
• ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ....
88

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
ThaiprincessIT
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
codexstudio
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
jeabjeabloei
 

Mais procurados (20)

20141105 social-edu
20141105 social-edu20141105 social-edu
20141105 social-edu
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ict for-education1)
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
Digital Collection ... Guideline
Digital Collection ... GuidelineDigital Collection ... Guideline
Digital Collection ... Guideline
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
Educational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDAEducational Technology at NSTDA
Educational Technology at NSTDA
 
Social Media for Education
Social Media for EducationSocial Media for Education
Social Media for Education
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
Copyright : Digital Media
Copyright : Digital MediaCopyright : Digital Media
Copyright : Digital Media
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital Era
 

Semelhante a MOOC - OER ... Royal Project in Thailand

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Thanyalux Kanthong
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
Thanich Suwannabutr
 

Semelhante a MOOC - OER ... Royal Project in Thailand (20)

Email system
Email systemEmail system
Email system
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmedia
 
Social media1
Social media1Social media1
Social media1
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
 
Aec
AecAec
Aec
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 

Mais de Boonlert Aroonpiboon

Mais de Boonlert Aroonpiboon (18)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
Digital Thailand pocket book TH version
Digital Thailand pocket book TH versionDigital Thailand pocket book TH version
Digital Thailand pocket book TH version
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
วารสารรถไฟสัมพันธ์
วารสารรถไฟสัมพันธ์วารสารรถไฟสัมพันธ์
วารสารรถไฟสัมพันธ์
 

MOOC - OER ... Royal Project in Thailand