SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
มาตรการ
ปรับปรุง
ประสิทธิภาพ
มาตรการนี้ใช้กับ
✔	 กิจการที่ดำ�เนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่
ก็ตามโดยต้องเป็นประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการ
ลงทุนในขณะที่ยื่นขอรับการส่งเสริม
✔ 	 โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนอยู่เดิมสามารถยื่น
ขอรับการส่งเสริมภายใต้มาตรการนี้ได้ เมื่อระยะเวลาการ
ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้นสิ้นสุดลงแล้ว
หรือเป็นโครงการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
ยกเว้น ประเภทกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่จะไม่ให้สิทธิและ
ประโยชน์ตามที่สำ�นักงานกำ�หนด
เงื่อนไข
✔ 	 ต้องมีขนาดการลงทุนไม่น้อยกว่า1ล้านบาท โดยไม่รวมค่า
ที่ดินและทุนหมุนเวียน ยกเว้นโครงการลงทุนของผู้ประกอบ
การวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต้องมีขนาด
ลงทุนไม่น้อยกว่า 500,000 บาท โดยไม่รวมค่าที่ดินและ
ทุนหมุนเวียน
✔ 	 ผู้ประกอบการที่จะเข้าข่ายเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม (SMEs) ต้องมีหลักเกณฑ์ดังนี้
1)	 เมื่อรวมทั้งกิจการทั้งที่ได้รับการส่งเสริมและไม่ได้รับ
การส่งเสริมแล้ว ผู้ขอรับการส่งเสริมต้องมีรายได้
ของกิจการรวมกันแล้วไม่เกิน 500 ล้านบาทต่อปี
2)	ต้องมีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน
✔ 	 จะต้องยื่นคำ�ขอรับการส่งเสริมการลงทุน ภายในวันทำ�การ
สุดท้ายของปี 2565 และต้องดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายใน
3 ปี นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม
สิทธิและประโยชน์
✔ 	 ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร
✔ 	 ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ
50 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน
ในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
จากรายได้ของกิจการที่ดำ�เนินการอยู่เดิม
		 กรณีนำ�ระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์มาใช้ในสายการ
ผลิตหรือการให้บริการ และมีการเชื่อมโยงหรือสนับสนุน
อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติในประเทศไม่
น้อยกว่าร้อยละ30ของมูลค่าเครื่องจักรที่มีการปรับเปลี่ยนให้
ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล3ปีเป็นสัดส่วนร้อยละ100
ของเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการ
ปรับปรุง
✔ 	 ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้นับจากวันที่มีรายได้
ภายหลังได้รับบัตรส่งเสริม
ด้านการวิจัยและพัมนา
หรือออกแบบทางวิศวกรรม
มาตรการที่
3
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ประกอบด้วย 5 มาตรการย่อย ดังนี้
ด้านการประหยัดพลังงานการใช้พลังงานทดแทน
หรือการลดผลกระทบต่อส่งแวดล้อม
มาตรการที่
1
ด้านการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เช่น
การนำ�เครื่องจักร ระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์มาใช้
เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ เป็นต้น
มาตรการที่
2
ด้านการยกระดับไปสู่มาตรฐานเพื่อความยั่งยืน
ในระดับสากล (Sustainability Certification)
เช่น GAP, FSC, PEFCs, ISO 22000,
ISO 14061 (SFM) เป็นต้น
มาตรการที่
4
ด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
มาตรการที่
5
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน
การประหยัดพลังงาน
การใช้พลังงานทดแทน หรือการลด
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยน
เครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน การใช้
พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมโดยจะต้องดำ�เนินการในเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง ดังนี้
●	 การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรไปสู่เทคโนโลยี
ที่ทันสมัยเพื่อให้เกิดการใช้พลังงานลดลง
ตามสัดส่วนที่กำ�หนด
●	 การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อให้มี
การนำ�พลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ (เช่น
การติดตั้งโซล่าร์เซลล์)ในสัดส่วนตามที่กำ�หนด
เมื่อเทียบกับการใช้พลังงานทั้งสิ้น
●	 การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่ อลด
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นปริมาณ
ของเสีย น้ำ�เสีย หรืออากาศเสีย ตามเกณฑ์
ที่กำ�หนด
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน
การปรับเปลี่ยนเครื่องจักร
ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยน
เครื่องจักรตามเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยมี2กรณีได้แก่
●	 กรณีการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรโดยนำ�ระบบ
อัตโนมัติ (AUTOMATION SYSTEM)
มาใช้ในสายการผลิตหรือการให้บริการที่
มีอยู่เดิม โดยผลการดำ�เนินงานจะต้อง
เป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำ�หนด
●	 กรณีการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรที่ไม่ใช่ระบบ
อัตโนมัติ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ
	 การนำ�เทคโนโลยีใหม่ที่ไม่ใช่เครื่องจักร
ระบบอัตโนมัติ (รวมถึงเครื่องจักร
ที่ไม่ใช่เครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่มาพร้อม
ระบบด้านดิจิทัล) เข้ามาใช้ในการปรับปรุง
ประสิทธิภาพเพื่อยกระดับกระบวนการ
ทำ�งานหรือการบริหารจัดการ โดย
ผลการดำ�เนินงานจะต้องเป็นไปตาม
ตัวชี้วัดที่กำ�หนด
	 การใช้เครื่องจักรรุ่นใหม่ของเทคโนโลยี
การผลิตลักษณะเดิม/สายการผลิตเดิม
โดยผลการดำ�เนินงานจะต้องเป็นไปตาม
ตัวชี้วัดที่กำ�หนด
	 ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่ อปรับปรุง
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตอยู่เดิม
จะต้องเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำ�หนดและ
สามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน
ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรที่ไม่ใช่
ระบบอัตโนมัติ กิจการที่มีอยู่เดิมของผู้ยื่น
ขอจะต้องเป็นประเภทกิจการที่อยู่ในข่าย
ได้รับสิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้
นิติบุคคล (ประเภทกิจการกลุ่ม A)
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน
การวิจัยและพัฒนา หรือออกแบบทาง
วิศวกรรม
ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนหรือมี
ค่าใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนา หรือออกแบบทาง
วิศวกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอดขายรวม
ใน 3 ปีแรกนับจากวันที่ยื่นขอรับการส่งเสริม
ในกรณีเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMES) ต้องลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา
หรือออกแบบทางวิศวกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ
0.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปีแรก นับจากวันที่
ยื่นขอรับการส่งเสริม
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน
การยกระดับไปสู่มาตรฐานเพื่อความ
ยั่งยืนในระดับสากล
ผู้ยื่นขอจะต้องมีการลงทุนหรือมีค่าใช้จ่ายเพื่อ
การยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่มาตรฐานเพื่อความ
ยั่งยืนในระดับสากล เช่น มาตรฐานการปฏิบัติ
ทางการเกษตรที่ดี (GOOD AGRICULTURE
PRACTICES: GAP) มาตรฐานการรับรองป่าไม้
ตามแนวทางขององค์การพิทักษ์ป่าไม้ (FOREST
STEWARDSHIP COUNCIL: FSC) มาตรฐาน
PEFCS(PROGRAMFORTHEENDORSEMENT
OF FOREST CERTIFICATION SCHEME)
มาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย
ของอาหาร (ISO 22000) หรือมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการป่าไม้
แบบยั่งยืน (ISO 14061 SUSTAINABLE FOREST
MANAGEMENT SYSTEM (SFM)) เป็นต้น
มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน
การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนการนำ�
เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ยกระดับกระบวนการทำ�งาน
ตามเกณฑ์ที่กำ�หนด เพื่ อเพิ่ มประสิทธิภาพ
การผลิตหรือการให้บริการ ในกรณีใดกรณีหนึ่ง
ดังนี้
1)	 การนำ�ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบ
สารสนเทศ มาใช้ในระดับที่มีการเชื่อมโยง
ภายในองค์กรอย่างเป็นระบบ (INTEGRATED)
และเชื่อมโยงภายนอกองค์กรบางส่วน
(CONNECTED) หรือมีการเชื่อมโยงทั้งภายใน
และภายนอก โดยต้องมีการเชื่อมโยงข้อมูล
อย่างน้อย 3 ฟังก์ชั่น มาใช้บริหารจัดการ
ทรัพยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือ
การให้บริการ
2)	การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL
INTELLIGENCE หรือ AI) MACHINE
LEARNING การนำ� BIG DATA มาใช้หรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล (DATA ANALYTICS)
3)	การนำ�ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบ
สารสนเทศ มาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่างระบบของบริษัทกับระบบออนไลน์ของ
ภาครัฐ เช่น เชื่อมโยงกับระบบ NATIONAL
E-PAYMENT เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการให้
ความเห็นชอบ
ในกรณี (1) และ (3) จะต้องมีการลงทุนหรือ
มีค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์โปรแกรมหรือ
ระบบสารสนเทศที่พั ฒนาหรือปรับปรุงโดย
ผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรอง
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้ การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล กิจการที่มีอยู่เดิมของผู้ยื่นขอ
จะต้องเป็นประเภทกิจการที่อยู่ในข่ายได้รับสิทธิ
และประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (ประเภท
กิจการกลุ่ม A)
การนับมูลค่าเงินลงทุนในการปรับปรุงเพื่อกำ�หนดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้
นิติบุคคล ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
รูปแบบการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย นับเต็มจำ�นวน นับกึ่งหนึ่ง
■	กรณีการนำ�ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือ
ระบบสารสนเทศมาใช้ในระดับที่มีการ
เชื่อมโยงภายในองค์กรอย่างเป็นระบบ
(INTEGRATED) และเชื่อมโยงภายนอก
องค์กรบางส่วน (CONNECTED) หรือมี
การเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอก
■	กรณีการนำ�ซอฟต์แวร์โปรแกรมหรือระบบ
สารสนเทศมาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่างระบบของบริษัทกับระบบออนไลน์
ของภาครัฐ เช่น เชื่อมโยงกับระบบ
NATIONAL E-PAYMENT เป็นต้น ตามที่
คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ
1. เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์โปรแกรมหรือระบบ
สารสนเทศ ที่พัฒนา/ปรับปรุง โดย
•	ผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งได้รับการ
รับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
•	ผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งไม่ได้รับ
การรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
•	ผู้ประกอบการในต่างประเทศ
2. ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ CLOUD หรือ DATA CENTER
•	ที่ตั้งในประเทศไทย
•	ที่ตั้งในต่างประเทศ
■	กรณีการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์
(ARTIFICIAL INTELLIGENCE หรือ
AI) MACHINE LEARNING การนำ� BIG
DATA มาใช้หรือการวิเคราะห์ข้อมูล (DATA
ANALYTICS)
1. เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายใน
•	การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์
(ARTIFICIAL INTELLIGENCE หรือ AI)
•	MACHINE LEARNING
•	การนำ� BIG DATA มาใช้
•	การวิเคราะห์ข้อมูล (DATA ANALYTICS)
2. ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ CLOUD หรือ DATA CENTER
•	ที่ตั้งในประเทศไทย
•	ที่ตั้งในต่างประเทศ
รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดดูประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 1/2564
เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ลงวันที่ 13 มกราคม 2564 ประกาศ
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 4/2564 เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ลงวันที่ 19 มีนาคม 2564 รวมถึงประกาศอื่นๆ
และคำ�ชี้แจงที่เกี่ยวข้อง ได้ที่
หมายเหตุ : มูลค่าวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล = ร้อยละ 50 ของเงินลงทุนในการปรับปรุงฯ ตามแนวทางในตารางข้างต้น
สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
นัดหมายขอคำ�ปรึกษา
ติดต่อเรา
สำ�นักงานในภูมิภาค
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1
เชียงใหม่
90 ห้อง 108 -110 อาคารแอร์พอร์ต บิซิเนส พาร์ก
ถนนมหิดล ตำ�บลหายยา
อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100
โทรศัพท์ 0 5329 4100
อีเมล chmai@boi.go.th
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 2
นครราชสีมา
2112/22 ถนนมิตรภาพ
อำ�เภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
โทรศัพท์ 0 4438 4200
อีเมล korat@boi.go.th
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 3
ขอนแก่น
177/54 หมู่ 17 ถนนมิตรภาพ ตำ�บลในเมือง
อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
โทรศัพท์ 0 4327 1300-2
อีเมล khonkaen@boi.go.th
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 4
ชลบุรี
46 หมู่ 5 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง
ถนนสุขุมวิท ตำ�บลทุ่งสุขลา
อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230
โทรศัพท์ 0 3840 4900
อีเมล chonburi@boi.go.th
ศูนย์เศรษกิจการลงทุนภาคที่ 5
สงขลา
อาคารไชยงค์ 7-15 ถนนอุทิศ 1
อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
โทรศัพท์ 0 7458 4500
อีเมล songkhla@boi.go.th
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 6
สุราษฏร์ธานี
49/21-22 ถนนศรีวิชัย ตำ�บลมะขามเตี้ย
อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
โทร 0 7740 4600
อีเมล surat@boi.go.th
ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 7
พิษณุโลก
59/15 อาคารไทยศิวารัตน์ ชั้น 3
ถนนบรมไตรโลกนารถ 2 ตำ�บลในเมือง
อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
โทรศัพท์ 0 5524 8111
อีเมล phitsanulok@boi.go.th
สำ�นักงานใหญ่
555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ 0 2553 8111
เว็บไซต์ www.boi.go.th
อีเมล head@boi.go.th
ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน
อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 ถนนพญาไท
เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ 0 2209 1100
เว็บไซต์ osos.boi.go.th
อีเมล osos@boi.go.th
@boinews BOI News Think Asia,
Invest Thailand

Mais conteúdo relacionado

Mais de Thailand Board of Investment North America

คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566Thailand Board of Investment North America
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีThailand Board of Investment North America
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565Thailand Board of Investment North America
 

Mais de Thailand Board of Investment North America (20)

EVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
EVAT - Future Mobility Transformation in ThailandEVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
EVAT - Future Mobility Transformation in Thailand
 
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV IndustriesInvestment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
Investment Opportunity for Thailand's Automotive & EV Industries
 
Investment Promotion Guide (2023 Edition)
Investment Promotion Guide (2023 Edition)Investment Promotion Guide (2023 Edition)
Investment Promotion Guide (2023 Edition)
 
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
A Business Guide to Thailand (2023 Edition)
 
Costs of Doing Business in Thailand 2023
Costs of Doing Business in Thailand 2023Costs of Doing Business in Thailand 2023
Costs of Doing Business in Thailand 2023
 
Human Development in EEC for Thailand 4.0
Human Development in EEC for Thailand 4.0Human Development in EEC for Thailand 4.0
Human Development in EEC for Thailand 4.0
 
New BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
New BOI's 5-Year Investment Promotion StrategyNew BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
New BOI's 5-Year Investment Promotion Strategy
 
Ingredion Thailand.pdf
Ingredion Thailand.pdfIngredion Thailand.pdf
Ingredion Thailand.pdf
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
 
Thailand Innovation Toolkit
Thailand Innovation ToolkitThailand Innovation Toolkit
Thailand Innovation Toolkit
 
Quick Guide to Start a Business in Thailand
Quick Guide to Start a Business in ThailandQuick Guide to Start a Business in Thailand
Quick Guide to Start a Business in Thailand
 
Investment Promotion Guide 2022
Investment Promotion Guide 2022Investment Promotion Guide 2022
Investment Promotion Guide 2022
 
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
10-Year LTR Visa for Long-Term Residents
 
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and PolymersWhy Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
Why Thailand & Opportunities for Advanced Materials and Polymers
 
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer TrendsThailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
Thailand's Advanced Performance Materials and Polymer Trends
 
Momentive - Doing Business in Thailand
Momentive - Doing Business in ThailandMomentive - Doing Business in Thailand
Momentive - Doing Business in Thailand
 
EEC - Exploring Thailand
EEC - Exploring ThailandEEC - Exploring Thailand
EEC - Exploring Thailand
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565
 
Long-Term Resident Visa
Long-Term Resident VisaLong-Term Resident Visa
Long-Term Resident Visa
 

มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ

  • 2. มาตรการนี้ใช้กับ ✔ กิจการที่ดำ�เนินการอยู่แล้ว ไม่ว่าจะได้รับส่งเสริมหรือไม่ ก็ตามโดยต้องเป็นประเภทกิจการที่ให้การส่งเสริมการ ลงทุนในขณะที่ยื่นขอรับการส่งเสริม ✔ โครงการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนอยู่เดิมสามารถยื่น ขอรับการส่งเสริมภายใต้มาตรการนี้ได้ เมื่อระยะเวลาการ ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้นสิ้นสุดลงแล้ว หรือเป็นโครงการที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ยกเว้น ประเภทกิจการที่มีนโยบายเฉพาะที่จะไม่ให้สิทธิและ ประโยชน์ตามที่สำ�นักงานกำ�หนด เงื่อนไข ✔ ต้องมีขนาดการลงทุนไม่น้อยกว่า1ล้านบาท โดยไม่รวมค่า ที่ดินและทุนหมุนเวียน ยกเว้นโครงการลงทุนของผู้ประกอบ การวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต้องมีขนาด ลงทุนไม่น้อยกว่า 500,000 บาท โดยไม่รวมค่าที่ดินและ ทุนหมุนเวียน ✔ ผู้ประกอบการที่จะเข้าข่ายเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (SMEs) ต้องมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1) เมื่อรวมทั้งกิจการทั้งที่ได้รับการส่งเสริมและไม่ได้รับ การส่งเสริมแล้ว ผู้ขอรับการส่งเสริมต้องมีรายได้ ของกิจการรวมกันแล้วไม่เกิน 500 ล้านบาทต่อปี 2) ต้องมีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ✔ จะต้องยื่นคำ�ขอรับการส่งเสริมการลงทุน ภายในวันทำ�การ สุดท้ายของปี 2565 และต้องดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันที่ออกบัตรส่งเสริม สิทธิและประโยชน์ ✔ ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ✔ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 ปี เป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของเงินลงทุน โดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ในการปรับปรุง ทั้งนี้ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล จากรายได้ของกิจการที่ดำ�เนินการอยู่เดิม กรณีนำ�ระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์มาใช้ในสายการ ผลิตหรือการให้บริการ และมีการเชื่อมโยงหรือสนับสนุน อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติในประเทศไม่ น้อยกว่าร้อยละ30ของมูลค่าเครื่องจักรที่มีการปรับเปลี่ยนให้ ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล3ปีเป็นสัดส่วนร้อยละ100 ของเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนในการ ปรับปรุง ✔ ระยะเวลายกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้นับจากวันที่มีรายได้ ภายหลังได้รับบัตรส่งเสริม
  • 3. ด้านการวิจัยและพัมนา หรือออกแบบทางวิศวกรรม มาตรการที่ 3 มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 5 มาตรการย่อย ดังนี้ ด้านการประหยัดพลังงานการใช้พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อส่งแวดล้อม มาตรการที่ 1 ด้านการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เช่น การนำ�เครื่องจักร ระบบอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์มาใช้ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ เป็นต้น มาตรการที่ 2 ด้านการยกระดับไปสู่มาตรฐานเพื่อความยั่งยืน ในระดับสากล (Sustainability Certification) เช่น GAP, FSC, PEFCs, ISO 22000, ISO 14061 (SFM) เป็นต้น มาตรการที่ 4 ด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มาตรการที่ 5
  • 4. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน การประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน หรือการลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยน เครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน การใช้ พลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมโดยจะต้องดำ�เนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง ดังนี้ ● การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรไปสู่เทคโนโลยี ที่ทันสมัยเพื่อให้เกิดการใช้พลังงานลดลง ตามสัดส่วนที่กำ�หนด ● การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อให้มี การนำ�พลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ (เช่น การติดตั้งโซล่าร์เซลล์)ในสัดส่วนตามที่กำ�หนด เมื่อเทียบกับการใช้พลังงานทั้งสิ้น ● การลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่ อลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นปริมาณ ของเสีย น้ำ�เสีย หรืออากาศเสีย ตามเกณฑ์ ที่กำ�หนด
  • 5. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน การปรับเปลี่ยนเครื่องจักร ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยน เครื่องจักรตามเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยมี2กรณีได้แก่ ● กรณีการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรโดยนำ�ระบบ อัตโนมัติ (AUTOMATION SYSTEM) มาใช้ในสายการผลิตหรือการให้บริการที่ มีอยู่เดิม โดยผลการดำ�เนินงานจะต้อง เป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำ�หนด ● กรณีการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรที่ไม่ใช่ระบบ อัตโนมัติ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ  การนำ�เทคโนโลยีใหม่ที่ไม่ใช่เครื่องจักร ระบบอัตโนมัติ (รวมถึงเครื่องจักร ที่ไม่ใช่เครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่มาพร้อม ระบบด้านดิจิทัล) เข้ามาใช้ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพเพื่อยกระดับกระบวนการ ทำ�งานหรือการบริหารจัดการ โดย ผลการดำ�เนินงานจะต้องเป็นไปตาม ตัวชี้วัดที่กำ�หนด  การใช้เครื่องจักรรุ่นใหม่ของเทคโนโลยี การผลิตลักษณะเดิม/สายการผลิตเดิม โดยผลการดำ�เนินงานจะต้องเป็นไปตาม ตัวชี้วัดที่กำ�หนด  ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่ อปรับปรุง คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตอยู่เดิม จะต้องเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำ�หนดและ สามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรที่ไม่ใช่ ระบบอัตโนมัติ กิจการที่มีอยู่เดิมของผู้ยื่น ขอจะต้องเป็นประเภทกิจการที่อยู่ในข่าย ได้รับสิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล (ประเภทกิจการกลุ่ม A) มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน การวิจัยและพัฒนา หรือออกแบบทาง วิศวกรรม ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนหรือมี ค่าใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนา หรือออกแบบทาง วิศวกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอดขายรวม ใน 3 ปีแรกนับจากวันที่ยื่นขอรับการส่งเสริม ในกรณีเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMES) ต้องลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา หรือออกแบบทางวิศวกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปีแรก นับจากวันที่ ยื่นขอรับการส่งเสริม
  • 6. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน การยกระดับไปสู่มาตรฐานเพื่อความ ยั่งยืนในระดับสากล ผู้ยื่นขอจะต้องมีการลงทุนหรือมีค่าใช้จ่ายเพื่อ การยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่มาตรฐานเพื่อความ ยั่งยืนในระดับสากล เช่น มาตรฐานการปฏิบัติ ทางการเกษตรที่ดี (GOOD AGRICULTURE PRACTICES: GAP) มาตรฐานการรับรองป่าไม้ ตามแนวทางขององค์การพิทักษ์ป่าไม้ (FOREST STEWARDSHIP COUNCIL: FSC) มาตรฐาน PEFCS(PROGRAMFORTHEENDORSEMENT OF FOREST CERTIFICATION SCHEME) มาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย ของอาหาร (ISO 22000) หรือมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการป่าไม้ แบบยั่งยืน (ISO 14061 SUSTAINABLE FOREST MANAGEMENT SYSTEM (SFM)) เป็นต้น มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ผู้ยื่นขอจะต้องเสนอแผนการลงทุนการนำ� เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ยกระดับกระบวนการทำ�งาน ตามเกณฑ์ที่กำ�หนด เพื่ อเพิ่ มประสิทธิภาพ การผลิตหรือการให้บริการ ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้ 1) การนำ�ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบ สารสนเทศ มาใช้ในระดับที่มีการเชื่อมโยง ภายในองค์กรอย่างเป็นระบบ (INTEGRATED) และเชื่อมโยงภายนอกองค์กรบางส่วน (CONNECTED) หรือมีการเชื่อมโยงทั้งภายใน และภายนอก โดยต้องมีการเชื่อมโยงข้อมูล อย่างน้อย 3 ฟังก์ชั่น มาใช้บริหารจัดการ ทรัพยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือ การให้บริการ 2) การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE หรือ AI) MACHINE LEARNING การนำ� BIG DATA มาใช้หรือ การวิเคราะห์ข้อมูล (DATA ANALYTICS) 3) การนำ�ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือระบบ สารสนเทศ มาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างระบบของบริษัทกับระบบออนไลน์ของ ภาครัฐ เช่น เชื่อมโยงกับระบบ NATIONAL E-PAYMENT เป็นต้น ตามที่คณะกรรมการให้ ความเห็นชอบ ในกรณี (1) และ (3) จะต้องมีการลงทุนหรือ มีค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์โปรแกรมหรือ ระบบสารสนเทศที่พั ฒนาหรือปรับปรุงโดย ผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งได้รับการรับรอง จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ การปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล กิจการที่มีอยู่เดิมของผู้ยื่นขอ จะต้องเป็นประเภทกิจการที่อยู่ในข่ายได้รับสิทธิ และประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล (ประเภท กิจการกลุ่ม A)
  • 7. การนับมูลค่าเงินลงทุนในการปรับปรุงเพื่อกำ�หนดวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รูปแบบการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เงินลงทุน/ค่าใช้จ่าย นับเต็มจำ�นวน นับกึ่งหนึ่ง ■ กรณีการนำ�ซอฟต์แวร์ โปรแกรมหรือ ระบบสารสนเทศมาใช้ในระดับที่มีการ เชื่อมโยงภายในองค์กรอย่างเป็นระบบ (INTEGRATED) และเชื่อมโยงภายนอก องค์กรบางส่วน (CONNECTED) หรือมี การเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอก ■ กรณีการนำ�ซอฟต์แวร์โปรแกรมหรือระบบ สารสนเทศมาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างระบบของบริษัทกับระบบออนไลน์ ของภาครัฐ เช่น เชื่อมโยงกับระบบ NATIONAL E-PAYMENT เป็นต้น ตามที่ คณะกรรมการให้ความเห็นชอบ 1. เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายในการใช้ซอฟต์แวร์โปรแกรมหรือระบบ สารสนเทศ ที่พัฒนา/ปรับปรุง โดย • ผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งได้รับการ รับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ผู้ประกอบการในประเทศไทยซึ่งไม่ได้รับ การรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ผู้ประกอบการในต่างประเทศ 2. ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ CLOUD หรือ DATA CENTER • ที่ตั้งในประเทศไทย • ที่ตั้งในต่างประเทศ ■ กรณีการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE หรือ AI) MACHINE LEARNING การนำ� BIG DATA มาใช้หรือการวิเคราะห์ข้อมูล (DATA ANALYTICS) 1. เงินลงทุนหรือค่าใช้จ่ายใน • การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE หรือ AI) • MACHINE LEARNING • การนำ� BIG DATA มาใช้ • การวิเคราะห์ข้อมูล (DATA ANALYTICS) 2. ค่าใช้จ่ายในการเช่า/ใช้บริการ CLOUD หรือ DATA CENTER • ที่ตั้งในประเทศไทย • ที่ตั้งในต่างประเทศ รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดดูประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 1/2564 เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ลงวันที่ 13 มกราคม 2564 ประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 4/2564 เรื่อง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ลงวันที่ 19 มีนาคม 2564 รวมถึงประกาศอื่นๆ และคำ�ชี้แจงที่เกี่ยวข้อง ได้ที่ หมายเหตุ : มูลค่าวงเงินยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล = ร้อยละ 50 ของเงินลงทุนในการปรับปรุงฯ ตามแนวทางในตารางข้างต้น
  • 8. สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน นัดหมายขอคำ�ปรึกษา ติดต่อเรา สำ�นักงานในภูมิภาค ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 1 เชียงใหม่ 90 ห้อง 108 -110 อาคารแอร์พอร์ต บิซิเนส พาร์ก ถนนมหิดล ตำ�บลหายยา อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์ 0 5329 4100 อีเมล chmai@boi.go.th ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 2 นครราชสีมา 2112/22 ถนนมิตรภาพ อำ�เภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 0 4438 4200 อีเมล korat@boi.go.th ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 3 ขอนแก่น 177/54 หมู่ 17 ถนนมิตรภาพ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 0 4327 1300-2 อีเมล khonkaen@boi.go.th ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 4 ชลบุรี 46 หมู่ 5 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ถนนสุขุมวิท ตำ�บลทุ่งสุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3840 4900 อีเมล chonburi@boi.go.th ศูนย์เศรษกิจการลงทุนภาคที่ 5 สงขลา อาคารไชยงค์ 7-15 ถนนอุทิศ 1 อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ 0 7458 4500 อีเมล songkhla@boi.go.th ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 6 สุราษฏร์ธานี 49/21-22 ถนนศรีวิชัย ตำ�บลมะขามเตี้ย อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทร 0 7740 4600 อีเมล surat@boi.go.th ศูนย์เศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 7 พิษณุโลก 59/15 อาคารไทยศิวารัตน์ ชั้น 3 ถนนบรมไตรโลกนารถ 2 ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0 5524 8111 อีเมล phitsanulok@boi.go.th สำ�นักงานใหญ่ 555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0 2553 8111 เว็บไซต์ www.boi.go.th อีเมล head@boi.go.th ศูนย์ประสานการบริการด้านการลงทุน อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 18 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0 2209 1100 เว็บไซต์ osos.boi.go.th อีเมล osos@boi.go.th @boinews BOI News Think Asia, Invest Thailand