SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 1
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
Shape วาดรูปทรงพื้นฐาน
รูปแบบการวาดภาพ
การวาดภาพจากโปรแกรม Flash สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้
1) การวาดแบบ Merge Drawing รูปทรงที่วาดจะมีผลต่อรูปทรงอื่น เช่น
เมื่อนารูปทรงที่มีพื้นเป็นสีเดียวมาซ้อนทับ ก็จะถูกรวมเป็นชิ้นเดียวกัน แต่หากมีสีแตกต่าง
เมื่อเคลื่อนย้ายส่วนที่ถูกซ้อนทับก็จะหายไปโดยอัตโนมัติ
ซึ่งสามารถวาดได้ด้วยการคลิกยกเลิกปุ่ม Object Drawing ที่ทูลพาเนล
รูปทรงที่มีพื้นและเส้นขอบ
เมื่อนามาซ้อนทับและเส้นขอบจะกลายเป็นของรูปทรงนั้นเมื่อดับเบิลคลิกลากออกมา
2) การวาดแบบ Object Drawing ซึ่งรูปทรงทั้งในส่วนของเส้นและพื้นผิวจะกลายเป็นชิ้นเดียวกัน
หากนามาซ้อนทับก็จะไม่ส่งผลทาให้รูปทรงเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปแต่อย่างใด
โดยสามารถวาดได้โดยการคลิกปุ่ม Object Drawing
ซึ่งจะปรากฏกรอบสี่เหลี่ยมขึ้นมาเมื่อเลือกหรือวาดรูปทรงเสร็จ
นักเรียนทราบไหมครับว่าการใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสีมีหลักการทางานอย่างไร ?
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 2
เมื่อนารูปทรงแบบ Object Drawing รูปทรงก็จะมีลักษณะดังเดิม
มาซ้อนทับและคลิกลากออกมา
การกาหนดคุณสมบัติของรูปทรง
เริ่มต้นก่อนที่จะวาดภาพใดๆ อาจกาหนดค่าคุณสมบัติเกี่ยวกับส่วนของเส้นและพื้นของรูปทรง
แล้วจึงเลือกปุ่มเครื่องมือ เพื่อวาดภาพต่างๆ ก็ได้ซึ่งค่าคุณสมบัติต่างๆ เป็นดังนี้
 Stroke Color สีเส้น
 Stroke Height ความหนาของเส้น
 Stroke Style รูปแบบของเส้น
 Custom Stroke Style เลือกกาหนดรูปแบบเส้นเอง
 Cap รูปแบบของปลายเส้น สาหรับรูปทรงแบบปลายเปิด โดยมีให้เลือก 3 แบบ ดังนี้
 None ปลายเส้นมีลักษณะเป็นเส้นตัดพอดีกับความยาวของเส้น
 Round ปลายเส้นมีลักษณะโค้งมน
 Square ปลายเส้นมีลักษณะเป็นเส้นตัดออกมา
None Round Square
 Fill Color สีพื้น
 Stroke hinting ช่วยลดการเบลอในส่วนโค้งของเส้นตรง
 Scale ความหนาของเส้นที่สัมผัสกับมุมมอง
 Miter ความแหลมของมุม โดยจะสัมพันธ์กับรูปแบบของมุมที่กาหนดไว้ในช่อง Join
 Join รูปแบบของมุม โดยมีให้เลือก 3 แบบ ดังนี้
 Miter มุมแหลม
 Round มุมโค้งมน
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 3
 Beval มุมตัด
Miter Round Beval
การวาดเส้น
การวาดเส้นสามารถแบ่งได้เป็นการวาดเส้นตรงด้วย Line Tool และการวาดเส้นอิสระด้วย Pencil
Tool โดยสีที่ปรากฏขึ้นมาจะเป็นสีที่เลือกไว้ในช่อง Stroke Color
1) การวาดเส้นตรงด้วย Line Tool
การวาดเส้นตรงจะมีรูปแบบการทางานที่ง่าย เพียงเลือกกาหนดสี ขนาดความหนา และลวดลาย
จากส่วนของ Properties ก่อนจากนั้นดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม Line Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม N จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น
2. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่ม
3. ลากเมาส์มายังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏเส้นตรงขึ้นมา
โดยสามารถกดปุ่มค้างไว้ในขณะลากเมาส์ได้ดังนี้
 ปุ่ม Shift เปลี่ยนทิศทางของเส้นไปครั้งละ 45 องศา
 ปุ่ม Alt ให้จุดเริ่มต้นเป็นจุดศูนย์กลางของเส้น
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 4
2) การวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool
การวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool
ผลงานที่ได้จะมีลักษณะเหมือนกับการใช้ดินสอวาดภาพลงบนกระดาษ
โดยสามารถเลือกปรับให้เป็นเส้นตรง เส้นโค้ง หรือเป็นเส้นอิสระได้
1. คลิกปุ่ม Pencil Tool ที่พาเนล หรือกดปุ่ม Y จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
2. คลิกปุ่ม Pencil Mode ค้างไว้แล้วลากมาทางขวา เลือกปรับปรับรูปแบบของเส้น
 Straighten ปรับให้เป็นเส้นตรง
 Smooth ปรับให้เป็นเส้นโค้ง โดยสามารถปรับความโค้งมนได้ที่ช่อง Smoothing ของ
Properties
 Ink ไม่มีการปรับรูปแบบใดๆ ให้ภาพใกล้เคียงการวาดมากที่สุด
3. ลากเมาส์วาดรูปทรงที่ต้องการ โดยสามารถกดปุ่ม Shift ค้างไว้
เพื่อวาดเส้นตรงในแนวตั้งหรือแนวนอน
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 5
การวาดรูปทรงเรขาคณิต
1) วาดรูปสี่เหลี่ยมด้วย Rectangle Tool
การวาดรูปสี่เหลี่ยมด้วย Rectangle Tool จะสามารถปรับแต่งเส้น Path ด้วยปุ่มเครื่องมือ Pen ได้
แต่จะต้องกาหนดค่าความโค้งของมุมก่อนที่จะทาการวาด สาหรับขั้นตอนมีดังนี้
1. คลิกปุ่ม Rectangle Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม R จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
2. กาหนดค่าคุณสมบัติพร้อมทั้งความโค้งของมุมทั้ง 4 ของรูปสี่เหลี่ยมลงใน Properties
โดยในที่นี้ใช้ค่า 0 ซึ่ง จะได้เป็นสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น
4. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปสี่เหลี่ยมขึ้นมา
โดยสามารถกดปุ่มค้างไว้ในขณะลากเมาส์ได้ดังนี้
 ปุ่ม Shift วาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
 ปุ่ม Alt วาดรูปสี่เหลี่ยมออกมาจากศูนย์กลาง
 ปุ่ม  เพิ่มความโค้งของมุม
 ปุ่ม  ลดความโค้งของมุม
 ปุ่ม Alt ค้างไว้และคลิกลงบนสเตจ เพื่อกาหนดค่าในการวาดรูปสี่เหลี่ยมที่มีขนาดแน่นอน
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 6
2) วาดรูปสี่เหลี่ยมพร้อมปรับแต่งรูปทรงด้วย Rectangle Primitive Tool
เมื่อวาดรูปสี่เหลี่ยมด้วยปุ่ม Rectangle Primitive Tool จะปรากฏจุดควบคุมขึ้นมา
ซึ่งช่วยให้สามารถปรับแต่งรูปทรงในภายหลังได้และหากกดปุ่มต่างๆ
ค้างไว้ก็จะให้ผลเช่นเดียวกับการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้วยปุ่ม Rectangle Tool
1. คลิกปุ่ม Rectangle Primitive Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม R
จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
2. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น
3. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ
เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปสี่เหลี่ยมพร้อมทั้งจุดควบคุมขึ้นมา
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 7
ซึ่งสามารถพิมพ์เปลี่ยนค่าความโค้งของมุมทั้ง 4 ลงใน Properties หรือให้ดาเนินการตามขั้นตอนที่
4
4. คลิกปุ่ม Selection Tool ที่ทูลพาเนล หรือจะกดปุ่ม V
5. คลิกบริเวณมุมของรูปสี่เหลี่ยม จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
6. ลากเมาส์เข้า-ออกเปลี่ยนความโค้งมนของมุม ได้ตามต้องการ
3) วาดรูปวงกลมด้วย Oval Tool
การวาดรูปวงกลมจะสามารถกาหนดค่าคุณสมบัติต่างๆ พร้อมทั้งค่ามุมเริ่มต้น มุมสุดท้าย
และรัศมีวงกลมใน รวมถึงกาหนดให้เป็นรูปทรงแบบปิดหรือแบบเปิดที่มีเฉพาะเส้นก็ได้
1. คลิกปุ่ม Oval Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม O จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น
2. กาหนดค่าคุณสมบัติพร้อมทั้งค่ามุมเริ่มต้น มุมสุดท้าย และรัศมีวงกลมในของรูปวงกลม ลงใน
Properties โดยในที่นี้ใช้ค่า 0 ซึ่งจะได้เป็นรูปวงกลม/วงรี
3. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น
4. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปวงกลมขึ้นมา
 ปุ่ม Shift วาดรูปวงกลม
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 8
 ปุ่ม Alt วาดรูปวงกลมออกมาจากศูนย์กลาง
 ปุ่ม Alt ค้างไว้และคลิกลงบนสเตจ เพื่อกาหนดค่าในการวาดรูปวงกลมที่มีขนาดแน่นอน
4) วาดรูปวงกลมพร้อมปรับแต่งรูปทรงด้วย Oval Primitive Tool
สาหรับรุปวงกลมที่สร้างด้วยปุ่ม Oval Primitive Tool
จะสามารถเลือกกาหนดค่าคุณสมบัติหรือเลือกปรับแต่งรูปทรงจากจุดควบคุมที่ปรากฏขึ้นมาในภายหลังก็ได้
1. คลิกปุ่ม Oval Primitive Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม O
จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
2. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 9
3. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ
เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปวงกลมพร้อมทั้งจุดควบคุมขึ้นมา ซึ่งสามารถพิมพ์เปลี่ยนค่าลงใน
Properties หรือให้ดาเนินการตามขั้นตอนที่ 4
4. คลิกปุ่ม Selection Tool ที่ทูลพาเนล หรือจะกดปุ่ม V
5. คลิกที่จุดควบคุม จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
6. ลากเมาส์ขึ้น-ลง เพื่อปรับมุมเริ่มต้น
7. คลิกที่จุดควบคุม
8. ลากเมาส์ขึ้น-ลง เพื่อปรับมุมสุดท้าย
9. คลิกที่จุดควบคุม
10. ลากเมาส์เข้า-ออก เพื่อปรับรัศมีของวงกลมใน
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 10
5) วาดรูปหลายเหลี่ยม/รูปดาวด้วย PolyStar Tool
สาหรับปุ่ม PolyStar Tool จะช่วยให้สามารถวาดรูปหลายเหลี่ยมหรือรูปดาวได้ตามต้องการ
โดยสามารถกาหนดด้านหรือแฉกได้ตั้งแต่ 3-32 ด้าน
1. คลิกปุ่ม PolyStar Tool ที่ทูลพาเนลจากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
2. ที่ Properties ให้คลิกปุ่ม จากนั้นปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Tool Settings ขึ้นมา
3. ที่ช่อง Style ให้คลิกเลือกรูปแบบของรูปทรง โดยมีรายละเอียดดังนี้
 polygon วาดรูปหลายเหลี่ยม
 star วาดรูปดาว
4. พิมพ์จานวนด้าน/แฉกลงในช่อง Number of Sides โดยพิมพ์ค่าได้ตั้งแต่ 3-32
5. พิมพ์ค่าความลึกของแฉกดาวลงในช่อง Star point size โดยพิมพ์ค่าได้ตั้งแต่ 0-1 ซึ่งค่า 0
รูปดาวจะมีความแหลมมากที่สุด
6. คลิกปุ่ม เพื่อยืนยันคาสั่ง
7. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น
8. ลากเมาส์ทแยงออกมาจากจุดศูนย์กลาง เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปหลายเหลี่ยม/รูปดาว ขึ้นมา
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 11
การใช้แปรงพู่กัน
Brush Tool เปรียบเสมือนแปรงพู่กันที่ใช้วาดภาพลาดเส้นหรือระบายสีลงบนรูปทรงต่างๆ
โดยสามารถกาหนดขนาดของหัวแปรง ลักษณะของหัวแปรง และรูปแบบในการระบายสีได้ด้วย
1) วาดภาพลายเส้นด้วย Brush Tool
การวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool สีที่ปรากฏขึ้นมาจะเป็นสีเส้น (Stroke)
แต่สาหรับการวาดภาพลายเส้นด้วย Brush Tool จะใช้สีพื้น (Fill) แทน สาหรับขั้นตอนมีดังนี้
1. คลิกปุ่ม Brush Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม B จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 12
2. คลิกปุ่ม Brush Size ค้างไว้และเลือกขนาดของหัวแปรง
3. คลิกปุ่ม Brush Shape ค้างไว้และเลือกลักษณะของหัวแปรง
4. ลากเมาส์วาดรูปทรงที่ต้องการ โดยสามารถกดปุ่ม Shift ค้างไว้
เพื่อวาดเส้นตรงในแนวตั้งหรือแนวนอน
2) ระบายสีด้วย Brush Tool
นอกจากการวาดภาพลายเส้นแล้ว Brush Tool ยังสามารถใช้ระบายสีได้อีก
โดยหากกาหนดขนาดและลักษณะของหัวแปรงเรียบร้อยแล้ว
ก็ยังสามารถเลือกรูปแบบในการระบายสีได้ด้วย
1. คลิกปุ่ม Brush Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม B จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น
2. คลิกปุ่ม Brush Mode ค้างไว้แล้วเลือกรูปแบบในการระบายสี
 Paint Normal ระบายทับเส้นและพื้นของรูปทรง
 Paint Fills ระบายทับเฉพาะส่วนของพื้นโดยไม่มีผลต่อเส้น
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 13
 Paint Behind ระบายเป็นพื้นหลังโดยไม่มีผลต่อรูป
 Paint Selection ระบายเฉพาะพื้นของบริเวณที่เลือกโดยไม่มีผลต่อเส้นและพื้นหลัง
 Paint Inside ระบายภายในขอบเขตของพื้นที่ด้านใน
3. ลากเมาส์ระบายสีลงบนรูปทรงได้ตามต้องการ
Paint Normal Paint Fills Paint Behind
Paint Selection Paint Inside
การลบรูปทรง
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 14
การลบด้วยปุ่ม Eraser Tool จะสามารถเลือกลบทั้งรูปทรงหรือเลือกลบเฉพาะเส้นหรือพื้นก็ได้
อีกทั้งยังสามารถเลือกเปลี่ยนขนาดและลักษณะของหัวยางลบได้อีกด้วย
1) ลบรูปทรงด้วย Eraser Tool
เมื่อเลือกลบรูปทรงด้วย Eraser Tool จะมีรูปแบบในการลบเพิ่มขึ้นมาให้เลือก เช่น
สามารถลบเส้นและพื้น ลบเฉพาะพื้น ลบเฉพาะเส้น ลบเฉพาะส่วนที่เลือก
หรือลบเฉพาะขอบเขตของพื้นที่ด้านในก็ได้สาหรับขั้นตอนมีดังนี้
1. คลิกปุ่ม Eraser Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม E จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น
2. คลิกปุ่ม Eraser Mode ค้างไว้แล้วเลือกรูปแบบในการลบ
 Eraser Normal ลบเส้นและพื้นของรูปทรง
 Eraser Fills ลบเฉพาะส่วนของพื้นโดยไม่มีผลต่อเส้น
 Eraser Lines ลบเฉพาะส่วนของเส้นโดยไม่มีผลต่อพื้น
 Eraser Selected Fills ลบเฉพาะพื้นของบริเวณที่เลือกโดยไม่มีผลต่อเส้น
 Eraser Inside ลบภายในขอบเขตของพื้นที่ด้านใน
3. คลิกปุ่ม Eraser Shape ค้างไว้และเลือกขนาดของหัวยางลบ
4. ลากเมาส์ลบบริเวณพื้นที่ที่ต้องการ
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 15
Eraser Normal Eraser Fills Eraser Lines
Eraser Selected Fills Eraser Inside
2) ลบเส้น/พื้นด้วย Eraser Tool โดยใช้ปุ่ม Faucet
ไม่เพียงแต่การลบในรูปแบบปกติเท่านั้น แต่หากต้องการลบเส้นหรือพื้นของรูปทรงอย่างรวดเร็ว
ก็สามารถทาได้เพียงคลิกปุ่ม Faucet ไว้ก่อนเท่านั้น สาหรับขั้นตอนมีดังนี้
1. คลิกปุ่ม Eraser Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม E
2. คลิกปุ่ม Faucet จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น
3. คลิกลงบนเส้นหรือพื้นของรูปทรงที่ต้องการลบ
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 16
Color ทางานกับสี
วัตถุใน Flash จะประกอบด้วยส่วนประกอบอย่างน้อยๆ 2 ส่วน ได้แก่ พื้นของวัตถุ
(Background หรือ Fill) และเส้นขอบวัตถุ (Stroke) แต่ละส่วนสามารถแสดงผลด้วยสีที่แตกต่างกันได้ เช่น
รูปสี่เหลี่ยมที่มีเส้นขอบสีดา และพื้นข้างในเป็นสีน้าเงิน ดังนั้นการทางานเกี่ยวกับสี
จึงเป็นการทางานที่จะต้องเกี่ยวข้องตลอดเวลา โดยอาศัยชุดเครื่องมือเลือกสี จาก Toolbox
รายละเอียดเกี่ยวกับส่วนควบคุมสีใน Toolbox
รายการเลือก No Color จะแสดงผลเมื่อคลิกเลือกวาดสี่เหลี่ยม หรือวาดวงกลม ดังนั้น
ก่อนเลือกสีให้กับการวาดสี่เหลี่ยม, วงกลม ควรคลิกเลือกเครื่องมือวาดสี่เหลี่ยม หรือวาดวงกลม
ก่อนที่จะคลิกปุ่มเลือกสี ซึ่ง เป็นรายการสาคัญมาก และมักจะเป็นรายการที่เข้าใจผิด เช่น ถ้า
ต้องการวาดวงกลมไม่มีสีพื้น หลายๆ ท่าน จะใช้วิธีการเลือก Fill Color ให้กับสีของ Background
เช่น ถ้า Background เป็นสีขาว ก็จะเลือก Fill Color เป็นสีขาว ซึ่งมีความหมายที่ต่างไป
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 17
การเลือกสีให้กับกราฟิกต่างๆ ที่วาดด้วยเครื่องมือของ Flash
นอกจากจะใช้ส่วนควบคุมสีที่กล่าวไปแล้ว ก็จะมีรายการเลือกสีใน Properties Panel ของเครื่องมือนั้นๆ
แผงควบคุมสี (Color Panel)
Color Panel เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการทางานเกี่ยวกับสี โดยเฉพาะในส่วนที่เป็น
การไล่โทนสี (Gradient) เนื่องจากการสร้างชุดสีการไล่โทน ไม่สามารถทาได้จากส่วนควบคุมสี
ปกติ Flash เตรียม Panel เกี่ยวกับสีไว้2 ชุดคือ
 Swatches ซึ่งมีการทางาน/ใช้งานลักษณะเดียวกับ Toolbox
 Color มีส่วนเพิ่มเติมการใช้สีมากกว่าปกติ เช่น การทาสีแบบไล่โทนลักษณะต่างๆ,
การใช้ภาพกราฟิกมาเป็นพื้นของกราฟิก (Texture) รวมทั้งการปรับค่าความโปร่งใสของสี (Alpha)
การเลือกรายการจาก Color มีรายการที่น่าสนใจ คือ Fill Type ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ
เลือกรูปแบบของสีได้หลากหลายลักษณะ เช่น สีพื้น (Solid Color), สีไล่โทนแบบเส้นตรง (Linear
Gradient), สีไล่โทนแบบรัศมี (Radial Gradient) และการนาภาพจากภายนอกมาเป็นพื้นของวัตถุ
(Bitmap Background)
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 18
ชุดสีแบบไล่โทน
 คลิกเลือกรายการ Fill Type เป็น Linear (ไล่โทนในแนวระนาบ) หรือ Radial (ไล่โทนในแนวรัศมี)
 นาเมาส์ไปคลิกใต้Gradient definition bar จะปรากฏ Gradient Pointer กาหนดจานวน Gradient
Pointer ตามต้องการ
 ถ้าต้องการลบ Gradient Pointer ให้นาเมาส์ไปชี้ ณ Gradient Pointer ที่ต้องการลบ แล้วลากออกจาก
Gradient definition bar
 กาหนดสีให้กับ Gradient Pointer โดยคลิกที่ Gradient Pointer ชิ้นที่ต้องการ จากนั้นคลิกเลือกสีจาก
Current Color ทาซ้ากับ Gradient Pointer ตาแหน่งอื่น
 สามารถเลื่อนปรับตาแหน่งของ Gradient Pointer โดยใช้หลัก Drag & Drop
 คลิกปุ่ม Color Mixer Option Menu แล้วเลือกคาสั่ง Add Swatch
เพื่อเพิ่มสีที่กาหนดให้กับโปรแกรม
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 19
ความโปร่งใสของสีวัตถุ (Alpha)
รูปด้านหน้าที่ไม่ได้กาหนดค่าความโปร่งใส ก็จะซ้อนทับรูปด้านหลังแบบไม่เห็นภาพด้านหลัง
แต่ถ้ากาหนดรูปด้านหน้าให้มีค่าโปร่งใส ก็จะทาให้สีของรูปด้านหน้ามีลักษณะจาง
และมองทะลุไปเห็นรูปด้านหลังได้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Desing
DesingDesing
Desinghalato
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6krissada634
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)kroojirat
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิหน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิPlai Fon
 
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้นคู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้นPatana Rattananavathong
 
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUpDesign+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 

Mais procurados (17)

Unit 4
Unit 4Unit 4
Unit 4
 
Desing
DesingDesing
Desing
 
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6คู่มือการใช้ Illustrator cs6
คู่มือการใช้ Illustrator cs6
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
วัตถุObject
วัตถุObjectวัตถุObject
วัตถุObject
 
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิหน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
หน่วยที่ 5 การพิมพ์งานตาราง และแผนภูมิ
 
Illustrator stickerline
Illustrator stickerlineIllustrator stickerline
Illustrator stickerline
 
Shape stork and fill
Shape stork and fillShape stork and fill
Shape stork and fill
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้นคู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
 
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUpDesign+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
 

Semelhante a การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี

พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3Thanawat Boontan
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพErrorrrrr
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop csnoismart
 
ใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆ
ใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆ
ใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆWilasineejib
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cssurachet179
 
สอน Flash
สอน Flashสอน Flash
สอน FlashPor Oraya
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพNimanong Nim
 
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)wattikorn_080
 
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1Duangsuwun Lasadang
 
การใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustratorการใช้งาน Illustrator
การใช้งาน IllustratorWatcharaporn Tinkul
 

Semelhante a การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี (20)

พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
พื้นฐาน Adobe Flash CS3 ตอนที่3
 
คู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdf
คู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdfคู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdf
คู่มือ illustrator cs6 ภาษาไทย .pdf
 
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพLesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
Lesson 7 การใช้เครื่องมือวาดภาพ
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
ใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆ
ใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆ
ใบความรู้ที่ 2 รู้จักกับเครื่องมือต่างๆ
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
 
2
22
2
 
Animation flash
Animation flashAnimation flash
Animation flash
 
Photoshop7
Photoshop7Photoshop7
Photoshop7
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
สอน Flash
สอน Flashสอน Flash
สอน Flash
 
การต่อภาพ
การต่อภาพการต่อภาพ
การต่อภาพ
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
 
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
เครื่องมือต่างๆ (Toolbox)
 
การใช้โปรแกรม Paint
การใช้โปรแกรม Paintการใช้โปรแกรม Paint
การใช้โปรแกรม Paint
 
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
ใบปฏิบัติงานที่ 1 1
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
การใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustratorการใช้งาน Illustrator
การใช้งาน Illustrator
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 

Mais de คีตะบลู รักคำภีร์

ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 

Mais de คีตะบลู รักคำภีร์ (18)

ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
โปรแกรมTinker
โปรแกรมTinkerโปรแกรมTinker
โปรแกรมTinker
 
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinkerหน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
 
คู่มือGogoboard
คู่มือGogoboardคู่มือGogoboard
คู่มือGogoboard
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี

  • 1. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 1 ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี Shape วาดรูปทรงพื้นฐาน รูปแบบการวาดภาพ การวาดภาพจากโปรแกรม Flash สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) การวาดแบบ Merge Drawing รูปทรงที่วาดจะมีผลต่อรูปทรงอื่น เช่น เมื่อนารูปทรงที่มีพื้นเป็นสีเดียวมาซ้อนทับ ก็จะถูกรวมเป็นชิ้นเดียวกัน แต่หากมีสีแตกต่าง เมื่อเคลื่อนย้ายส่วนที่ถูกซ้อนทับก็จะหายไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งสามารถวาดได้ด้วยการคลิกยกเลิกปุ่ม Object Drawing ที่ทูลพาเนล รูปทรงที่มีพื้นและเส้นขอบ เมื่อนามาซ้อนทับและเส้นขอบจะกลายเป็นของรูปทรงนั้นเมื่อดับเบิลคลิกลากออกมา 2) การวาดแบบ Object Drawing ซึ่งรูปทรงทั้งในส่วนของเส้นและพื้นผิวจะกลายเป็นชิ้นเดียวกัน หากนามาซ้อนทับก็จะไม่ส่งผลทาให้รูปทรงเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปแต่อย่างใด โดยสามารถวาดได้โดยการคลิกปุ่ม Object Drawing ซึ่งจะปรากฏกรอบสี่เหลี่ยมขึ้นมาเมื่อเลือกหรือวาดรูปทรงเสร็จ นักเรียนทราบไหมครับว่าการใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสีมีหลักการทางานอย่างไร ?
  • 2. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 2 เมื่อนารูปทรงแบบ Object Drawing รูปทรงก็จะมีลักษณะดังเดิม มาซ้อนทับและคลิกลากออกมา การกาหนดคุณสมบัติของรูปทรง เริ่มต้นก่อนที่จะวาดภาพใดๆ อาจกาหนดค่าคุณสมบัติเกี่ยวกับส่วนของเส้นและพื้นของรูปทรง แล้วจึงเลือกปุ่มเครื่องมือ เพื่อวาดภาพต่างๆ ก็ได้ซึ่งค่าคุณสมบัติต่างๆ เป็นดังนี้  Stroke Color สีเส้น  Stroke Height ความหนาของเส้น  Stroke Style รูปแบบของเส้น  Custom Stroke Style เลือกกาหนดรูปแบบเส้นเอง  Cap รูปแบบของปลายเส้น สาหรับรูปทรงแบบปลายเปิด โดยมีให้เลือก 3 แบบ ดังนี้  None ปลายเส้นมีลักษณะเป็นเส้นตัดพอดีกับความยาวของเส้น  Round ปลายเส้นมีลักษณะโค้งมน  Square ปลายเส้นมีลักษณะเป็นเส้นตัดออกมา None Round Square  Fill Color สีพื้น  Stroke hinting ช่วยลดการเบลอในส่วนโค้งของเส้นตรง  Scale ความหนาของเส้นที่สัมผัสกับมุมมอง  Miter ความแหลมของมุม โดยจะสัมพันธ์กับรูปแบบของมุมที่กาหนดไว้ในช่อง Join  Join รูปแบบของมุม โดยมีให้เลือก 3 แบบ ดังนี้  Miter มุมแหลม  Round มุมโค้งมน
  • 3. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 3  Beval มุมตัด Miter Round Beval การวาดเส้น การวาดเส้นสามารถแบ่งได้เป็นการวาดเส้นตรงด้วย Line Tool และการวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool โดยสีที่ปรากฏขึ้นมาจะเป็นสีที่เลือกไว้ในช่อง Stroke Color 1) การวาดเส้นตรงด้วย Line Tool การวาดเส้นตรงจะมีรูปแบบการทางานที่ง่าย เพียงเลือกกาหนดสี ขนาดความหนา และลวดลาย จากส่วนของ Properties ก่อนจากนั้นดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกปุ่ม Line Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม N จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น 2. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่ม 3. ลากเมาส์มายังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏเส้นตรงขึ้นมา โดยสามารถกดปุ่มค้างไว้ในขณะลากเมาส์ได้ดังนี้  ปุ่ม Shift เปลี่ยนทิศทางของเส้นไปครั้งละ 45 องศา  ปุ่ม Alt ให้จุดเริ่มต้นเป็นจุดศูนย์กลางของเส้น
  • 4. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 4 2) การวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool การวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool ผลงานที่ได้จะมีลักษณะเหมือนกับการใช้ดินสอวาดภาพลงบนกระดาษ โดยสามารถเลือกปรับให้เป็นเส้นตรง เส้นโค้ง หรือเป็นเส้นอิสระได้ 1. คลิกปุ่ม Pencil Tool ที่พาเนล หรือกดปุ่ม Y จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 2. คลิกปุ่ม Pencil Mode ค้างไว้แล้วลากมาทางขวา เลือกปรับปรับรูปแบบของเส้น  Straighten ปรับให้เป็นเส้นตรง  Smooth ปรับให้เป็นเส้นโค้ง โดยสามารถปรับความโค้งมนได้ที่ช่อง Smoothing ของ Properties  Ink ไม่มีการปรับรูปแบบใดๆ ให้ภาพใกล้เคียงการวาดมากที่สุด 3. ลากเมาส์วาดรูปทรงที่ต้องการ โดยสามารถกดปุ่ม Shift ค้างไว้ เพื่อวาดเส้นตรงในแนวตั้งหรือแนวนอน
  • 5. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 5 การวาดรูปทรงเรขาคณิต 1) วาดรูปสี่เหลี่ยมด้วย Rectangle Tool การวาดรูปสี่เหลี่ยมด้วย Rectangle Tool จะสามารถปรับแต่งเส้น Path ด้วยปุ่มเครื่องมือ Pen ได้ แต่จะต้องกาหนดค่าความโค้งของมุมก่อนที่จะทาการวาด สาหรับขั้นตอนมีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม Rectangle Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม R จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 2. กาหนดค่าคุณสมบัติพร้อมทั้งความโค้งของมุมทั้ง 4 ของรูปสี่เหลี่ยมลงใน Properties โดยในที่นี้ใช้ค่า 0 ซึ่ง จะได้เป็นสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น 4. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปสี่เหลี่ยมขึ้นมา โดยสามารถกดปุ่มค้างไว้ในขณะลากเมาส์ได้ดังนี้  ปุ่ม Shift วาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  ปุ่ม Alt วาดรูปสี่เหลี่ยมออกมาจากศูนย์กลาง  ปุ่ม  เพิ่มความโค้งของมุม  ปุ่ม  ลดความโค้งของมุม  ปุ่ม Alt ค้างไว้และคลิกลงบนสเตจ เพื่อกาหนดค่าในการวาดรูปสี่เหลี่ยมที่มีขนาดแน่นอน
  • 6. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 6 2) วาดรูปสี่เหลี่ยมพร้อมปรับแต่งรูปทรงด้วย Rectangle Primitive Tool เมื่อวาดรูปสี่เหลี่ยมด้วยปุ่ม Rectangle Primitive Tool จะปรากฏจุดควบคุมขึ้นมา ซึ่งช่วยให้สามารถปรับแต่งรูปทรงในภายหลังได้และหากกดปุ่มต่างๆ ค้างไว้ก็จะให้ผลเช่นเดียวกับการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้วยปุ่ม Rectangle Tool 1. คลิกปุ่ม Rectangle Primitive Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม R จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 2. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น 3. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปสี่เหลี่ยมพร้อมทั้งจุดควบคุมขึ้นมา
  • 7. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 7 ซึ่งสามารถพิมพ์เปลี่ยนค่าความโค้งของมุมทั้ง 4 ลงใน Properties หรือให้ดาเนินการตามขั้นตอนที่ 4 4. คลิกปุ่ม Selection Tool ที่ทูลพาเนล หรือจะกดปุ่ม V 5. คลิกบริเวณมุมของรูปสี่เหลี่ยม จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 6. ลากเมาส์เข้า-ออกเปลี่ยนความโค้งมนของมุม ได้ตามต้องการ 3) วาดรูปวงกลมด้วย Oval Tool การวาดรูปวงกลมจะสามารถกาหนดค่าคุณสมบัติต่างๆ พร้อมทั้งค่ามุมเริ่มต้น มุมสุดท้าย และรัศมีวงกลมใน รวมถึงกาหนดให้เป็นรูปทรงแบบปิดหรือแบบเปิดที่มีเฉพาะเส้นก็ได้ 1. คลิกปุ่ม Oval Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม O จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น 2. กาหนดค่าคุณสมบัติพร้อมทั้งค่ามุมเริ่มต้น มุมสุดท้าย และรัศมีวงกลมในของรูปวงกลม ลงใน Properties โดยในที่นี้ใช้ค่า 0 ซึ่งจะได้เป็นรูปวงกลม/วงรี 3. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น 4. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปวงกลมขึ้นมา  ปุ่ม Shift วาดรูปวงกลม
  • 8. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 8  ปุ่ม Alt วาดรูปวงกลมออกมาจากศูนย์กลาง  ปุ่ม Alt ค้างไว้และคลิกลงบนสเตจ เพื่อกาหนดค่าในการวาดรูปวงกลมที่มีขนาดแน่นอน 4) วาดรูปวงกลมพร้อมปรับแต่งรูปทรงด้วย Oval Primitive Tool สาหรับรุปวงกลมที่สร้างด้วยปุ่ม Oval Primitive Tool จะสามารถเลือกกาหนดค่าคุณสมบัติหรือเลือกปรับแต่งรูปทรงจากจุดควบคุมที่ปรากฏขึ้นมาในภายหลังก็ได้ 1. คลิกปุ่ม Oval Primitive Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม O จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 2. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น
  • 9. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 9 3. ลากเมาส์ทแยงไปยังตาแหน่งและทิศทางที่ต้องการ เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปวงกลมพร้อมทั้งจุดควบคุมขึ้นมา ซึ่งสามารถพิมพ์เปลี่ยนค่าลงใน Properties หรือให้ดาเนินการตามขั้นตอนที่ 4 4. คลิกปุ่ม Selection Tool ที่ทูลพาเนล หรือจะกดปุ่ม V 5. คลิกที่จุดควบคุม จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 6. ลากเมาส์ขึ้น-ลง เพื่อปรับมุมเริ่มต้น 7. คลิกที่จุดควบคุม 8. ลากเมาส์ขึ้น-ลง เพื่อปรับมุมสุดท้าย 9. คลิกที่จุดควบคุม 10. ลากเมาส์เข้า-ออก เพื่อปรับรัศมีของวงกลมใน
  • 10. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 10 5) วาดรูปหลายเหลี่ยม/รูปดาวด้วย PolyStar Tool สาหรับปุ่ม PolyStar Tool จะช่วยให้สามารถวาดรูปหลายเหลี่ยมหรือรูปดาวได้ตามต้องการ โดยสามารถกาหนดด้านหรือแฉกได้ตั้งแต่ 3-32 ด้าน 1. คลิกปุ่ม PolyStar Tool ที่ทูลพาเนลจากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 2. ที่ Properties ให้คลิกปุ่ม จากนั้นปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Tool Settings ขึ้นมา 3. ที่ช่อง Style ให้คลิกเลือกรูปแบบของรูปทรง โดยมีรายละเอียดดังนี้  polygon วาดรูปหลายเหลี่ยม  star วาดรูปดาว 4. พิมพ์จานวนด้าน/แฉกลงในช่อง Number of Sides โดยพิมพ์ค่าได้ตั้งแต่ 3-32 5. พิมพ์ค่าความลึกของแฉกดาวลงในช่อง Star point size โดยพิมพ์ค่าได้ตั้งแต่ 0-1 ซึ่งค่า 0 รูปดาวจะมีความแหลมมากที่สุด 6. คลิกปุ่ม เพื่อยืนยันคาสั่ง 7. คลิกเมาส์ 1 ครั้ง เพื่อกาหนดจุดเริ่มต้น 8. ลากเมาส์ทแยงออกมาจากจุดศูนย์กลาง เมื่อปล่อยเมาส์ก็จะปรากฏรูปหลายเหลี่ยม/รูปดาว ขึ้นมา
  • 11. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 11 การใช้แปรงพู่กัน Brush Tool เปรียบเสมือนแปรงพู่กันที่ใช้วาดภาพลาดเส้นหรือระบายสีลงบนรูปทรงต่างๆ โดยสามารถกาหนดขนาดของหัวแปรง ลักษณะของหัวแปรง และรูปแบบในการระบายสีได้ด้วย 1) วาดภาพลายเส้นด้วย Brush Tool การวาดเส้นอิสระด้วย Pencil Tool สีที่ปรากฏขึ้นมาจะเป็นสีเส้น (Stroke) แต่สาหรับการวาดภาพลายเส้นด้วย Brush Tool จะใช้สีพื้น (Fill) แทน สาหรับขั้นตอนมีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม Brush Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม B จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น
  • 12. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 12 2. คลิกปุ่ม Brush Size ค้างไว้และเลือกขนาดของหัวแปรง 3. คลิกปุ่ม Brush Shape ค้างไว้และเลือกลักษณะของหัวแปรง 4. ลากเมาส์วาดรูปทรงที่ต้องการ โดยสามารถกดปุ่ม Shift ค้างไว้ เพื่อวาดเส้นตรงในแนวตั้งหรือแนวนอน 2) ระบายสีด้วย Brush Tool นอกจากการวาดภาพลายเส้นแล้ว Brush Tool ยังสามารถใช้ระบายสีได้อีก โดยหากกาหนดขนาดและลักษณะของหัวแปรงเรียบร้อยแล้ว ก็ยังสามารถเลือกรูปแบบในการระบายสีได้ด้วย 1. คลิกปุ่ม Brush Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม B จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น 2. คลิกปุ่ม Brush Mode ค้างไว้แล้วเลือกรูปแบบในการระบายสี  Paint Normal ระบายทับเส้นและพื้นของรูปทรง  Paint Fills ระบายทับเฉพาะส่วนของพื้นโดยไม่มีผลต่อเส้น
  • 13. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 13  Paint Behind ระบายเป็นพื้นหลังโดยไม่มีผลต่อรูป  Paint Selection ระบายเฉพาะพื้นของบริเวณที่เลือกโดยไม่มีผลต่อเส้นและพื้นหลัง  Paint Inside ระบายภายในขอบเขตของพื้นที่ด้านใน 3. ลากเมาส์ระบายสีลงบนรูปทรงได้ตามต้องการ Paint Normal Paint Fills Paint Behind Paint Selection Paint Inside การลบรูปทรง
  • 14. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 14 การลบด้วยปุ่ม Eraser Tool จะสามารถเลือกลบทั้งรูปทรงหรือเลือกลบเฉพาะเส้นหรือพื้นก็ได้ อีกทั้งยังสามารถเลือกเปลี่ยนขนาดและลักษณะของหัวยางลบได้อีกด้วย 1) ลบรูปทรงด้วย Eraser Tool เมื่อเลือกลบรูปทรงด้วย Eraser Tool จะมีรูปแบบในการลบเพิ่มขึ้นมาให้เลือก เช่น สามารถลบเส้นและพื้น ลบเฉพาะพื้น ลบเฉพาะเส้น ลบเฉพาะส่วนที่เลือก หรือลบเฉพาะขอบเขตของพื้นที่ด้านในก็ได้สาหรับขั้นตอนมีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม Eraser Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม E จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยน เป็น 2. คลิกปุ่ม Eraser Mode ค้างไว้แล้วเลือกรูปแบบในการลบ  Eraser Normal ลบเส้นและพื้นของรูปทรง  Eraser Fills ลบเฉพาะส่วนของพื้นโดยไม่มีผลต่อเส้น  Eraser Lines ลบเฉพาะส่วนของเส้นโดยไม่มีผลต่อพื้น  Eraser Selected Fills ลบเฉพาะพื้นของบริเวณที่เลือกโดยไม่มีผลต่อเส้น  Eraser Inside ลบภายในขอบเขตของพื้นที่ด้านใน 3. คลิกปุ่ม Eraser Shape ค้างไว้และเลือกขนาดของหัวยางลบ 4. ลากเมาส์ลบบริเวณพื้นที่ที่ต้องการ
  • 15. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 15 Eraser Normal Eraser Fills Eraser Lines Eraser Selected Fills Eraser Inside 2) ลบเส้น/พื้นด้วย Eraser Tool โดยใช้ปุ่ม Faucet ไม่เพียงแต่การลบในรูปแบบปกติเท่านั้น แต่หากต้องการลบเส้นหรือพื้นของรูปทรงอย่างรวดเร็ว ก็สามารถทาได้เพียงคลิกปุ่ม Faucet ไว้ก่อนเท่านั้น สาหรับขั้นตอนมีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม Eraser Tool ที่ทูลพาเนล หรือกดปุ่ม E 2. คลิกปุ่ม Faucet จากนั้นตัวชี้เมาส์จะมีลักษณะเปลี่ยนเป็น 3. คลิกลงบนเส้นหรือพื้นของรูปทรงที่ต้องการลบ
  • 16. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 16 Color ทางานกับสี วัตถุใน Flash จะประกอบด้วยส่วนประกอบอย่างน้อยๆ 2 ส่วน ได้แก่ พื้นของวัตถุ (Background หรือ Fill) และเส้นขอบวัตถุ (Stroke) แต่ละส่วนสามารถแสดงผลด้วยสีที่แตกต่างกันได้ เช่น รูปสี่เหลี่ยมที่มีเส้นขอบสีดา และพื้นข้างในเป็นสีน้าเงิน ดังนั้นการทางานเกี่ยวกับสี จึงเป็นการทางานที่จะต้องเกี่ยวข้องตลอดเวลา โดยอาศัยชุดเครื่องมือเลือกสี จาก Toolbox รายละเอียดเกี่ยวกับส่วนควบคุมสีใน Toolbox รายการเลือก No Color จะแสดงผลเมื่อคลิกเลือกวาดสี่เหลี่ยม หรือวาดวงกลม ดังนั้น ก่อนเลือกสีให้กับการวาดสี่เหลี่ยม, วงกลม ควรคลิกเลือกเครื่องมือวาดสี่เหลี่ยม หรือวาดวงกลม ก่อนที่จะคลิกปุ่มเลือกสี ซึ่ง เป็นรายการสาคัญมาก และมักจะเป็นรายการที่เข้าใจผิด เช่น ถ้า ต้องการวาดวงกลมไม่มีสีพื้น หลายๆ ท่าน จะใช้วิธีการเลือก Fill Color ให้กับสีของ Background เช่น ถ้า Background เป็นสีขาว ก็จะเลือก Fill Color เป็นสีขาว ซึ่งมีความหมายที่ต่างไป
  • 17. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 17 การเลือกสีให้กับกราฟิกต่างๆ ที่วาดด้วยเครื่องมือของ Flash นอกจากจะใช้ส่วนควบคุมสีที่กล่าวไปแล้ว ก็จะมีรายการเลือกสีใน Properties Panel ของเครื่องมือนั้นๆ แผงควบคุมสี (Color Panel) Color Panel เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการทางานเกี่ยวกับสี โดยเฉพาะในส่วนที่เป็น การไล่โทนสี (Gradient) เนื่องจากการสร้างชุดสีการไล่โทน ไม่สามารถทาได้จากส่วนควบคุมสี ปกติ Flash เตรียม Panel เกี่ยวกับสีไว้2 ชุดคือ  Swatches ซึ่งมีการทางาน/ใช้งานลักษณะเดียวกับ Toolbox  Color มีส่วนเพิ่มเติมการใช้สีมากกว่าปกติ เช่น การทาสีแบบไล่โทนลักษณะต่างๆ, การใช้ภาพกราฟิกมาเป็นพื้นของกราฟิก (Texture) รวมทั้งการปรับค่าความโปร่งใสของสี (Alpha) การเลือกรายการจาก Color มีรายการที่น่าสนใจ คือ Fill Type ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ เลือกรูปแบบของสีได้หลากหลายลักษณะ เช่น สีพื้น (Solid Color), สีไล่โทนแบบเส้นตรง (Linear Gradient), สีไล่โทนแบบรัศมี (Radial Gradient) และการนาภาพจากภายนอกมาเป็นพื้นของวัตถุ (Bitmap Background)
  • 18. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 18 ชุดสีแบบไล่โทน  คลิกเลือกรายการ Fill Type เป็น Linear (ไล่โทนในแนวระนาบ) หรือ Radial (ไล่โทนในแนวรัศมี)  นาเมาส์ไปคลิกใต้Gradient definition bar จะปรากฏ Gradient Pointer กาหนดจานวน Gradient Pointer ตามต้องการ  ถ้าต้องการลบ Gradient Pointer ให้นาเมาส์ไปชี้ ณ Gradient Pointer ที่ต้องการลบ แล้วลากออกจาก Gradient definition bar  กาหนดสีให้กับ Gradient Pointer โดยคลิกที่ Gradient Pointer ชิ้นที่ต้องการ จากนั้นคลิกเลือกสีจาก Current Color ทาซ้ากับ Gradient Pointer ตาแหน่งอื่น  สามารถเลื่อนปรับตาแหน่งของ Gradient Pointer โดยใช้หลัก Drag & Drop  คลิกปุ่ม Color Mixer Option Menu แล้วเลือกคาสั่ง Add Swatch เพื่อเพิ่มสีที่กาหนดให้กับโปรแกรม
  • 19. เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา มัลติมีเดีย ม.6โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน หน้า 19 ความโปร่งใสของสีวัตถุ (Alpha) รูปด้านหน้าที่ไม่ได้กาหนดค่าความโปร่งใส ก็จะซ้อนทับรูปด้านหลังแบบไม่เห็นภาพด้านหลัง แต่ถ้ากาหนดรูปด้านหน้าให้มีค่าโปร่งใส ก็จะทาให้สีของรูปด้านหน้ามีลักษณะจาง และมองทะลุไปเห็นรูปด้านหลังได้